SlideShare a Scribd company logo
1 
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน 
โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์ 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
2 
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน 
ลักษณะเด่น 
การสอนแบบโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน เรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความ 
สนใจ ความถนัดและความสามารถของตนเอง โดยผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือ 
กระบวนการอื่นๆ ที่เป็นระบบเพื่อหาคา ตอบภายใต้คา แนะนา ของครูผู้สอนหรือผู้เชี่ยวชาญ ผู้เรียน 
จะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาคา ตอบด้วยตนเอง จึงเป็นการเรียนรู้จากการได้มีประสบการณ์ตรง 
จากแหล่งเรียนรู้ 
แนวคิดสาคัญ 
การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของบลูม (Bloom) 
ทั้ง 6 ขั้นกล่าวคือ ความรู้ความจา ( Knowledge ) ความเข้าใจ ( Comprehension ) การนา ไปใช้ 
( Attlication ) การวิเคราะห์ ( Analysis ) การสังเคราะห์ ( Synthesis ) การประเมินค่า ( Evaluation ) 
และยังเป็นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสา คัญในทุกขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้ ตั้งแต่การวาง 
แผนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ การสร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้ผลผลิต และการประเมินผลงาน 
โดยผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้จัดการเรียนรู้ 
วัตถุประสงค์ 
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียน 
1. มีประสบการณ์โดยตรง 
2. ได้ทา การทดลองและพิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง 
3. รู้จักการทา งานอย่างมีระบบ มีขั้นตอน 
4. ฝึกการเป็นผู้นา และผู้ตามที่ดี 
5. ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา 
6. ได้รู้จักวิธีการต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา 
7. ฝึกวิเคราะห์ และประเมินตนเอง
3 
กระบวนการสาคัญของการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน 
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบ่งเป็น 3 ระยะ ใหญ่ๆด้วยกัน คือ 
ระยะที่ 1 การเริ่มต้นโครงงาน 
ก่อนที่จะเริ่มโครงงาน ครูและผู้เรียนทุกคนในกลุ่มร่วมกันกา หนดหัวข้อของโครงงาน 
หัวข้อ โครงงานกา หนดขึ้นจากความสนใจของผู้เรียนทั้งกลุ่ม หรือผู้เรียนส่วนใหญ่เป็นหลัก โดย 
ครูเป็นผู้คอยสังเกตคา พูดและการกระทา ต่างๆ ของผู้เรียนในระบบการเรียนการสอนตามปกติ 
1. สังเกต/สร้างความสนใจของผู้เรียน 
1.1 ครูถามคา ถามถึงลักษณะของสิ่งของที่ผู้เรียนสังเกตได้ 
1.2 ครูกระตุ้นให้ผู้เรียนสังเกตรายละเอียดของสิ่งของนั้น 
1.3 ครูยอมรับฟังคา ตอบของผู้เรียนด้วยความสนใจ โดยการมองตาผู้เรียน แสดง 
ท่าทาง 
2. ร่วมกันกาหนดหัวข้อโครงงาน 
2.1 อภิปรายเกี่ยวกับเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ 
2.2 กา หนดหัวข้อโครงงานภายใต้ความสนใจของผู้เรียน 
2.3 ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน ด้วยการวาดภาพ เล่า 
เรื่อง สังเกตสิ่งของ และสนทนากับเพื่อนๆ และครู 
ระยะที่2 ขั้นพัฒนาโครงงาน 
เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนกา หนดปัญหาที่จะศึกษา ตั้งสมมุติฐานและลงมือทดสอบสมมุติฐาน 
หรือการออกไปศึกษาความรู้เพื่อตรวจสอบสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ตามประเด็นคา ถามภายใต้หัวข้อ 
โครงงานขั้นตอนนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรงกับสิ่งของ เหตุการณ์ บุคคล 
1. ผู้เรียนกา หนดปัญหาที่จะศึกษา 
1.1 ผู้เรียนอภิปรายเกี่ยวกับหัวข้อโครงงานที่กา ลังศึกษา 
2. ผู้เรียนสมมุติฐานเบื้องต้น 
2.1 ผู้เรียนตอบปัญหาตามความรู้เดิมที่มีอยู่ 
2.2 ครูช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนขยายสมมุติฐาน ให้มีรายละเอียดและขั้นตอนที่สามารถ 
ดา เนินการทดสอบได้ 
2.3 ผู้เรียนวาดขั้นตอนตามสมมุติฐานในกระดาษ 
2.4 ครูจัดทา ป้ายแสดงเรื่องราว
4 
3. ผู้เรียนทดสอบสมมุติฐานเบื้องต้น 
3.1 ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ตามสมมุติฐาน 
3.2 ผู้เรียนดา เนินทดสอบสมมุติฐาน 
4. ตรวจสอบผลการทดลองสมมุติฐาน 
4.1 ตรวจสอบ 
4.2 ผู้เรียนแสวงหาความรู้เพิ่มเติม 
4.3 ผู้เรียนตั้งสมมุติฐานขึ้นใหม่ 
4.4 ในกรณีผลการตรวจสอบเป็นไปตามสมมุติฐาน 
ระยะที่ 3 ขั้นสรุป 
จากการเฝ้าสังเกต และบันทึกคา พูดพฤติกรรมของผู้เรียนอย่างละเอียดและต่อเนื่อง จะทา 
ให้ครูเห็นการพัฒนาการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน และครูจะสังเกตเห็นว่าผู้เรียนค่อยๆ ลดความ 
สนใจในเรื่องที่เกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน และหันเหความสนใจไปสู่เรื่องอื่นด้วยตัวผู้เรียนเอง นั่น 
คือเวลาที่ครูจะนา ผู้เรียนเข้าสู่ขั้นตอนรวบรวมและสรุป 
1. ผู้เรียนสิ้นสุดความสนใจในหัวข้อโครงงาน 
2. นาเสนอผลงานโครงงาน 
3. สิ้นสุดโครงงานเก่ากา หนดโครงงานใหม่
5 
สรุปกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงาน 
ระยะที่ 1 การเริ่มต้นโครงงาน 
1. สร้าง/สังเกตความสนใจของผู้เรียน 
2. ผู้เรียนกา หนดหัวข้อโครงงาน 
ระยะที่2 ขั้นพัฒนาโครงงาน 
1. ผู้เรียนกา หนดปัญหาที่จะศึกษา 
2. ผู้เรียนตั้งสมมุติฐานเบื้องต้น 
3. ผู้เรียนทดสอบสมมุติฐานเบื้องต้น 
4. ผู้เรียนตรวจสอบผลการทดสอบสมมุติฐาน 
ก . ตอบปัญหาได้ ข. ตอบปัญหาไม่ได้ 
1.แสวงหาความรู้เพิ่ม 
2. ตั้งสมมุติฐานใหม่ 
5. ผู้เรียนสรุปข้อความรู้ 
ระยะที่ 3 ขั้นสรุป 
1. สิ้นสุดความสนใจ 
2. นาเสนอผลงาน 
3. สิ้นสุดโครงงาน และกา หนดโครงใหม่ 
ประเมินผล
6 
ประเภทของโครงงาน 
ได้จา แนกประเภทของโครงงานไว้ 4 ประเภท คือ 
1. โครงงานประเภทสารวจและรวบรวมข้อมูล เป็นการสารวจข้อมูลจากแหล่งต่างๆ แล้ว 
นา มาเป็นหมวดหมู่ มีขั้นตอนดังนี้ คือ 
1) กา หนดปัญหาหรือความต้องการที่จะเรียนรู้ 
2) กา หนดประเด็นการศึกษา 
3) ตั้งสมมติฐาน 
4) สารวจและรวบรวมข้อมูล 
5) วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล 
6) สรุปและอภิปรายขบวนการศึกษา 
2. โครงงานประเภทการทดลอง ใช้กระบวนการศึกษาและเปรียบเทียบ เพื่อค้นหาคา ตอบ 
ข้อเท็จจริงในสาระที่ผู้เรียนต้องการที่จะเรียนรู้ มีขั้นตอนดังนี้ 
1) กา หนดปัญหาหรือประเด็นที่ต้องการคา ตอบ ซึ่งเป็นผลที่ได้จากการทดลอง 
2) ตั้งจุดประสงค์ของการทดลอง 
3) ตั้งสมมติฐาน 
4) เตรียมวัสดุอุปกรณ์ 
5) ออกแบบการทดลอง 
6) ดา เนินการทดลอง 
7) บันทึกผลในทุกระยะ 
8) รวบรวมข้อมูล 
9) วิเคราะห์หรือแปรผล 
10) สรุปผลที่ได้จากการทดลอง 
3. โครงงานประเภทการสร้างสิ่งประดิษฐ์ เป็นการใช้ความรู้ ความสามารถของตนเองมา 
ทดลองประดิษฐ์ผลงานใหม่ๆ ที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ผสานกับหลักวิชาการ มีขั้นตอนดังนี้ 
1) กา หนดหัวข้อโครงงาน
7 
2) ตั้งจุดประสงค์ 
3) ศึกษาข้อมูลในงานวิจัยต่างๆ 
4) ออกแบบการจัดทา ให้สอดคล้องกับสิ่งประดิษฐ์ที่จะทา 
5) จัดเตรียมอุปกรณ์ 
6) ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 
7) ประกอบผลงาน 
8) ทดลองใช้สิ่งประดิษฐ์ 
9) บันทึกผลจากการทดลอง 
10) สรุปผลจากการใช้งานที่เกิดจากโครงงาน 
4. โครงงานประเภทการสร้างทฤษฏีหรือการอธิบาย เป็นการนาความคิดประสบการณ์มา 
นา เสนอในทฤษฏีใหม่ด้วยการอธิบายในสิ่งที่ตัวเองคิด และพิสูจน์ให้เห็นผลในเชิงประจักษ์ ทั้งนี้ 
เพราะหลักการเดิมที่มีอยู่ไม่สามารถจะอธิบายปรากฏการณ์ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในภายหลังได้ มีขึ้นตอน 
ดังนี้ 
1) กา หนดประเด็นปัญหา 
2) ศึกษารายละเอียดจากข้อมูลเดิม 
3) ตั้งจุดประสงค์ 
4) กา หนดขอบเขต 
5) ตั้งสมมติฐาน 
6) บันทึกกา หนดตัวแปร 
7) บันทึกข้อมูล 
8) วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล 
9) สรุปและอภิปรายผล 
10) จัดทา ข้อเสนอแนะ
8 
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 
ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงานมีดังนี้ 
 ขั้นประเมินผล 
 ขั้นปฏิบัติ 
 ขั้นวางแผน 
 ขั้นนา เสนอ 
รายละเอียดขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงาน 
1. ข้นันาเสนอ 
หมายถึง ขั้นที่ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้ กา หนดสถานการณ์ ศึกษา 
สถานการณ์ เล่นเกม ดูรูปภาพ หรือผู้สอนใช้เทคนิคการตั้งคา ถามเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้ที่ 
กา หนดให้ในแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน เช่น สาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรและสาระการ 
เรียนรู้ที่เป็นขั้นตอนของโครงงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการเรียนรู้ 
2. ข้นัวางแผน 
หมายถึง ขั้นที่ผู้เรียนร่วมกันวางแผนโดยการระดมความคิด อภิปราย หารือ 
ข้อสรุปของกลุ่ม เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ 
3. ข้นัปฏิบัติ 
หมายถึง ขั้นที่ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม เขียนสรุปรายงานผลที่เกิดขึ้นจากการ 
วางแผนร่วมกัน 
4. ข้นัประเมินผล 
หมายถึง ขั้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยให้บรรลุจุดประสงค์การ 
เรียนรู้ที่กา หนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ โดยมีผู้สอน ผู้เรียนและเพื่อนร่วมกันประเมิน 
การเขียนรายงานการทาโครงงาน 
คือ การนา เสนอผลการศึกษาหรือผลการทา โครงงานให้ผู้อ่านเข้าใจถึงแรงผลักดันสา คัญ 
ของปัญหาที่ก่อให้เกิดการค้นคว้า วิธีดา เนินการศึกษาและผลการศึกษา หรือผลของการทา โครงงาน 
การเขียนรายงานเป็นขั้นสุดท้ายของการทา โครงงานเพื่อบอกให้ทราบว่า เพราะเหตุใดจึงทา ทา 
อะไรบ้าง ทา แล้วได้ผลเป็นอย่างไร การเขียนรายงานที่ดีต้องสามารถสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจอย่างชัดเจน 
และเข้าใจอย่างรวดเร็ว ดังนั้นการเขียนรายงานจึงต้องอาศัยความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ 
พอสมควร
9 
ส่วนประกอบของรายงานโครงงานมี 3 ส่วน ดังนี้ 
ส่วนที่ 1 : รูปแบบของเอกสารรายงานโครงงานจะมีส่วนประกอบ ดังนี้ 
1) ปกรายงาน (Cover หรือ Binding) 
 ชื่อโครงงาน 
 ผู้จัดทา 
 ชั้น 
 ครูที่ปรึกษา 
 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ 
 โรงเรียน 
 สา นักงานเขตพื้นที่การศึกษา …………….. เขต ………….. 
 ภาคเรียนที่ 
 ปีการศึกษา 
2) ใบรองปก ( En Paper ) มีข้อความเช่นเดียวกับปกหน้า 
3) บทคัดย่อ ( Abstract ) 
4) คา นา ( Preface ) 
5) กิตติกรรมประกาศ ( Acknowledgements ) 
6) สารบัญ ( Table of Contents ) 
7) หน้าสารบัญภาพ ( Table of IIIustrations ) 
ส่วนที่2 : ส่วนเนื้อเรื่องหรือเนื้อหารายงาน (Taste) ประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 
บทที่1 : บทนา ประกอบไปด้วยหัวข้อรายงาน ดังนี้ 
 ความเป็นมาและความสา คัญของการจัดทา โครงงาน 
 วัตถุประสงค์ของการจัดทา โครงงาน 
 ขอบเขตของการจัดทา โครงงาน 
 สมมติฐาน 
 คา นิยามศัพท์เฉพาะ 
 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงานดังกล่าว 
บทที่2 : เอกสารประกอบการศึกษา ค้นคว้า ประกอบด้วยหัวข้อการรายงาน ดังนี้ 
 ทฤษฎีหรือแนวความคิดในการจัดทา โครงงาน 
 เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องในการจัดทา โครงงานครั้งนี้
10 
บทที่3 : วิธีดา เนินการประกอบไปด้วยหัวข้อการรายงาน ดังนี้ 
 ระเบียบวิธีในการจัดทา โครงงานประเภทต่างๆ 
 แหล่งที่มาของข้อมูล 
 วิธีการศึกษาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ 
 การวิเคราะห์ข้อมูล 
บทที่4 : ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบไปด้วยหัวข้อการรายงาน ดังนี้ 
 การเสนอรายงานโครงงานในรูปแบบของการบรรยายเชิงพรรณนา ประกอบไป 
ด้วยสิ่งต่างๆ เช่น 
- ตาราง 
- แผนภูมิ 
- กราฟ 
- อื่นๆที่ใช้ประกอบการอธิบาย 
บทที่5 : สรุป สรุปอภิปรายและข้อเสนอแนะ ประกอบไปด้วยหัวข้อการรายงาน ดังนี้ 
 ภาพรวมของการจัดทา โครงงานโดยนา เนื้อหาสาระในบทที่ 1-3 มาเขียนสรุป 
ในภาพรวมอย่างกระชับ 
 สรุปผลการจัดทา โครงงานว่าค้นพบประเด็นสา คัญที่ต้องการศึกษาอะไร 
อย่างไรบ้าง โดยนา เนื้อหาในบทที่ 4 มาสรุปอย่างกระชับ 
 อภิปรายผลว่าการจัดทา โครงงานครั้งนี้มีผลออกมาเป็นเช่นไร เป็นไปตาม 
สมมติฐานหรือไม่ อย่างไร สิ่งที่ได้จากการทา โครงงานแตกต่างจากการที่คนอื่นทา อย่างไร (กรณีที่ 
มีผู้อื่นเคยทา โครงงานในเรื่องเดียวกัน) 
 ข้อเสนอแนะ ประกอบไปด้วย 
- ข้อเสนอแนะสา หรับผู้สนใจที่จะนา ผลที่ได้จากการทา โครงงานครั้งนี้ 
ไปใช้ 
- ข้อเสนอแนะที่ผู้เรียนคนอื่นๆ จะจัดทา โครงงานต่อยอดออกไปอย่างไร 
- อื่นๆที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดทา โครงงานในเรื่องเดียวกัน 
ส่วนที่3 : ส่วนท้ายของรายงานโครงงาน ประกอบไปด้วยหัวข้อการรายงาน ดังนี้ 
1) บรรณานุกรม ( Bibliographies ) 
2) ภาคผนวก ( Appendices ) 
3) ดรรชนี ( Indexes )
11 
4) เชิงอรรถ ( Footnote ) เป็นข้อความสั้นๆที่อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาในบท หรือ 
บอกแหล่งที่มาของข้อความ โดยทั่วไปนิยมใส่เชิงอรรถไว้ตอนล่างของหนังสือแต่ละหน้า 
อภิธานศัพท์ ( Glossary ) หรือศัพทานุกรม คือ คา อธิบายความหมายศัพท์ทางวิชาการหรือคา ยาก 
เพื่อช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของคา และความหมายให้ข้อความชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจัดเรียง 
ตามลา ดับตัวอักษร และอาจพิมพ์ไว้ท้ายเชิงอรรถก็ได้ 
การพิจารณารายงานการทา โครงงานมีคุณภาพหรือไม่นั้น โดยทั่วไปใช้เกณฑ์ดังนี้ 
1. ส่วนประกอบของรายงาน ควรประกอบหัวข้อต่อไปนี้ 
1.1 บทคัดย่อ 
1.2 หลักการและเหตุผล หรือที่มาและความสา คัญของโครงงาน 
1.3 ปัญหา หรือวัตถุประสงค์ของการทา โครงงาน 
1.4 การศึกษาทฤษฏีและหลักการที่เกี่ยวข้องกับปัญหา 
1.5 การตั้งสมมติฐาน 
1.6 อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา 
1.7 วิธีดา เนินการศึกษา การจัดกระทา ข้อมูลที่รวบรวมได้ ตลอดจนการสื่อ 
ความหมายข้อมูล 
1.8 การแปลผลและสรุปผล 
1.9 ข้อเสนอแนะ 
1.10 เอกสารอ้างอิง 
2. ความคิดริเริ่ม คือมีความแปลกใหม่หรือมีความเป็นภาพและน่าสนใจ 
3. การออกแบบและการดา เนินการศึกษา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 
ประกอบด้วย 
3.1 กา หนดปัญหามีการกล่าวถึงความเป็นมาและความสา คัญของปัญหาตลอดจน 
กา หนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ในการศึกษาให้ชัดเจน 
3.2 การตั้งสมมติฐาน มีการศึกษาทฤษฏีและหลักการที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ศึกษา 
เพื่อใช้เป็นแนวทางตั้งสมมติฐานที่มีความชัดเจนต่อความเข้าใจและมีความสอดคล้องกับปัญหาที่ 
ศึกษา 
3.3 การออกแบบการทดลองและดา เนินการทดลอง ประกอบด้วย 
1. มีการระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม ตลอดจนระบุวิธีวัดตัวแปร 
ต่างๆ(หรือมีการให้นิยมเชิงปฏิบัติการของตัวแปร) 
2. ระบุอุปกรณ์ เครื่องมือ สารเคมี ซึ่งแสดงว่ามีทักษะในการเลือกใช้อุปกรณ์ 
เพื่อการศึกษา
12 
3. ระบุวิธีการศึกษาอย่างเป็นขั้นตอนเรียงตามลา ดับ 
4. มีการจัดกระทา ข้อมูล เพื่อสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ เช่น ตาราง กราฟ 
การบรรยาย เป็นต้น 
3.4 การแปรผลข้อมูลและสรุปผล เมื่อเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ แล้วผู้รายงาน 
ต้องการแปลผลข้อมูล และลงข้อสรุปผลอย่างชัดเจน รวมทั้งอาจมีการอภิปรายผลการศึกษาอีกด้วย 
4. การนาไปใช้ คือสามารถนาไปใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษา และนาไปใช้ประโยชน์ใน 
ชีวิตประจา วัน 
5. ความสามารถในการสื่อความหมายของรายงาน มีลักษณะดังนี้ 
5.1 ใช้ภาษากะทัดรัด ชัดเจน และความถูกต้องทั้งตัวสะกด และหน่วยที่ใช้ 
5.2 เรียงลา ดับไม่สับสน เข้าใจง่าย ชัดเจน และเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว 
5.3 มีความน่าสนใจ หรือดึงดูดความสนใจชวนให้ติดตาม 
การประเมินผลการทาโครงงาน 
เป็นบทบาทสา คัญของครู ครูควรมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ (learning) การ 
เรียนการสอน (instruction) การประเมินการเรียนรู้ (assessment) และการประเมินผล (evaluation) 
อย่างชัดเจน การประเมินผลจะเป็นการตัดสินการเรียนรู้ที่เป็นทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เพื่อ 
เป็นการตัดสินให้ระดับคะแนน คือ การเรียนการสอน การเรียนรู้ การประเมินการเรียนรู้ และการ 
ประเมินผล 
1. การเรียนการสอน ( instruction ) ความหมาย การเกิดการเรียนรู้ด้วยทั้งกระบวนการ 
เรียนของนักเรียนและกระบวนการสอนของครูร่วมกัน 
2. การเรียนรู้ ( learning ) ความหมาย การมีความรู้ ความสามารถ ทักษะและความ 
ประพฤติชอบของนักเรียน ซึ่งเป็นการเปลี่ยนพฤติกรรมนักเรียน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ที่มีครู 
เป็นผู้จัดประสบการณ์เรียนรู้ให้ 
3. การประเมินผลการเรียนรู้ ( assessment ) ความหมาย การรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและ 
คุณภาพจากกระบวนการทา งาน การปฏิบัติงาน และผลผลิตที่ได้จากกระบวนการเรียนรู้เพื่อการตี 
ค่า 
4. การประเมินผล ( evaluation ) ความหมาย การตัดสินคุณค่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งจากข้อมูลทั้ง 
เชิงปริมาณและคุณภาพที่ได้จากการวัดสิ่งที่ต้องการประเมิน 
ในการวางแผนดา เนินการและจัดการประเมินการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ผู้ประเมินต้องมี 
ความรู้และเข้าใจในประเด็นต่อไปนี้ 
1. พฤติกรรมหรือการปฏิบัติการของนักเรียนที่ต้องประเมินมีอะไรบ้าง 
2. กระบวนการหรือวิธีการประเมินมีอะไรบ้าง
13 
3. เป้าหมายของการประเมินการเรียนรู้คืออะไร 
4 .จุดเน้นที่ต้องประเมินการเรียนรู้คืออะไร 
5. ผู้มีหน้าที่ประเมินการเรียนรู้มีใครบ้าง 
การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริงเป็นการประเมินดังนี้ 
1. ผลการเรียนด้านวิชาการ คือความรู้ ความเข้าใจในสาระ 
2. การใช้เหตุผล คือการใช้กระบวนการแก้ปัญหา การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ การใช้ 
กระบวนการสร้างความรู้ 
3. ทักษะและสมรรถนะ เช่น ทักษะการนา เสนอ ทักษะการเขียน ทักษะการทา งานเป็นทีม 
ทักษะการวิจัย ทักษะการจัดระบบและวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะการใช้เทคโนโลยี ทักษะการทา งาน 
ด้วยความอดทนและฝ่าฟันอุปสรรค ทักษะการแก้ปัญหาความขัดแย้ง 
4. เจตคติ เช่น การพัฒนาเจตคติต่อการเรียน การรักเรียน ความเป็นพลเมืองดี ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 
เป็นนักอ่าน อัตมโนทัศน์ ความรักธรรมชาติ 
5. นิสัยการทา งาน เช่น การทา งานได้สา เร็จตรงตามเวลา ใช้เวลาอย่างมีค่า ความ 
รับผิดชอบ ความอดทนเพื่อให้ได้งานมีคุณภาพ การทา งานอย่างต่อเนื่อง 
วิธีการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง มีวิธีต่อไปนี้ 
1. การอภิปรายตามวัตถุประสงค์ 
2.แบบทดสอบมาตรฐาน 
3. แบบทดสอบที่พัฒนาโดยครู 
4. การเขียนบันทึกผลการเรียนรู้ 
5. การนาเสนอด้วยวาจา 
6. โครงงาน 
7. การปฏิบัติทดลอง 
8. แฟ้มสะสมงาน/ผลงาน(portfolios) 
9. การสังเกต 
10. การบันทึก 
11. การสร้างสถานการณ์จา ลอง 
12. แบบสอบถาม 
13. แบบสัมภาษณ์ 
14. บันทึกการเรียนรู้ หรือการเขียนอนุทิน 
15. ทีมจัดการโดยนักเรียน
14 
16. ทีมประเมินโดยครู 
17. การประชุมของผู้ปกครอง 
จุดเน้นของการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง มีดังนี้ 
1. การประเมินผลเพื่อวินิจฉัยข้อบกพร่อง (diagnostic assessment ) 
2. การประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียน (formative assessment ) 
3. การประเมินการเรียนรู้หลังเรียน (summative assessment ) 
ลักษณะที่สาคัญของการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง 
1. เป็นการประเมินที่กระทา ไปพร้อมๆกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการเรียนรู้ 
ของนักเรียน ซึ่งสามารถทา ได้ตลอดเวลากับทุกสถานการณ์ ทั้งที่โรงเรียนบ้านและชุมชน 
2. เป็นการประเมินที่เน้นพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียนที่แสดงออกมาจริงๆ 
3. เน้นการพัฒนานักเรียนอย่างเด่นชัด 
4. เน้นการประเมินตนเองของนักเรียน 
5 .เน้นคุณภาพของผลงานที่นักเรียนสร้างขึ้น ซึ่งเป็นการบูรณาการความรู้ความสามารถ 
หลายๆ ด้านของนักเรียน 
6. เน้นการวัดความสามารถในการคิดระดับสูง 
7. เน้นการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียน ครู ผู้ปกครอง 
การพัฒนาเกณฑ์ประเมินการเรียนรู้ นิยมใช้มากมี 2 วิธีคือ 
1. เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริกส์ (rubrics scoring) เป็นเกณฑ์ที่ต้องกา หนด 
รายละเอียดให้คะแนนอย่างชัดเจนสา หรับทุกตัวบ่งชี้ ผลการเก็บรวบรวมข้อมูลจะมีความเป็นปรนัย 
สูง และมีความตรงสูง 
2. เกณฑ์การให้คะแนนแบบมาตรประมาณค่า (rating scale) เป็นเกณฑ์ที่กา หนดเป็น 
กลางไม่มีรายละเอียดการให้คะแนนอย่างชัดเจนในแต่ละข้อมูล(item)สะดวกต่อการเก็บรวบรวม 
ข้อมูล โดยข้อมูลที่ได้มีความเป็นปรนัยน้อยกว่าวิธีให้คะแนนแบบรูบริกส์ เช่น กา หนดเกณฑ์ 5 
ระดับ 5-4-3-2-1 กา หนดเกณฑ์ 4 ระดับ 4-3-2-1 เป็นต้น 
ตัวอย่างเกณฑ์ ดังนี้ 
เกณฑ์ 3 ระดับ 
1 หมายถึง แน่ใจว่าพฤติกรรมสอดคล้อง 
0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าพฤติกรรมสอดคล้อง 
-1 หมายถึง แน่ใจพฤติกรรมไม่สอดคล้องกัน
15 
เกณฑ์ 4 ระดับ 
4 หมายถึง นักเรียนแสดงพฤติกรรมจนเกิดผลสัมฤทธ์ิตามที่กา หนดไว้ ( achievement ) 
3 หมายถึง นักเรียนแสดงพฤติกรรมแต่ยังไม่ปรากฏผลสัมฤทธ์ิชัดเจน ( attempt ) 
2 หมายถึง นักเรียนตระหนักถึงความสา คัญแต่ยังไม่ได้แสดงพฤติกรรมให้ปรากฏ 
( awareness) 
1 หมายถึง นักเรียนมีความตั้งใจจะหาความรู้ แต่ไม่แสดงพฤติกรรม ( Attention ) 
เกณฑ์ 5 ระดับ 
1 หมายถึง ปรับปรุง 
2 หมายถึง พอใช้ 
3 หมายถึง ปานกลาง 
4 หมายถึง ดี 
5 หมายถึง ดีมาก

More Related Content

What's hot

Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2พัน พัน
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดWareerut Hunter
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับหน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
guychaipk
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
Khon Kaen University
 
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
guest41395d
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
Jutarat Bussadee
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
Anusara Sensai
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)Aon Narinchoti
 
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
Anusara Sensai
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
Anusara Sensai
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
wetpisit poomirat
 

What's hot (19)

Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับหน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
 
2222
22222222
2222
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
 
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะนำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
 

Similar to Surapol3

การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
Weerachat Martluplao
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
sudaphud
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
Felinicia
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
Tawatchai Bunchuay
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
salinkarn sampim
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
สนุกคิด กับวิทยาศาสตร์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
สนุกคิด กับวิทยาศาสตร์
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
Paranee Srikhampaen
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
Noawanit Songkram
 

Similar to Surapol3 (20)

โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 

Recently uploaded

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

Surapol3

  • 1. 1 การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 2 การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน ลักษณะเด่น การสอนแบบโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน เรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความ สนใจ ความถนัดและความสามารถของตนเอง โดยผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือ กระบวนการอื่นๆ ที่เป็นระบบเพื่อหาคา ตอบภายใต้คา แนะนา ของครูผู้สอนหรือผู้เชี่ยวชาญ ผู้เรียน จะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาคา ตอบด้วยตนเอง จึงเป็นการเรียนรู้จากการได้มีประสบการณ์ตรง จากแหล่งเรียนรู้ แนวคิดสาคัญ การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของบลูม (Bloom) ทั้ง 6 ขั้นกล่าวคือ ความรู้ความจา ( Knowledge ) ความเข้าใจ ( Comprehension ) การนา ไปใช้ ( Attlication ) การวิเคราะห์ ( Analysis ) การสังเคราะห์ ( Synthesis ) การประเมินค่า ( Evaluation ) และยังเป็นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสา คัญในทุกขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้ ตั้งแต่การวาง แผนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ การสร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้ผลผลิต และการประเมินผลงาน โดยผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้จัดการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียน 1. มีประสบการณ์โดยตรง 2. ได้ทา การทดลองและพิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง 3. รู้จักการทา งานอย่างมีระบบ มีขั้นตอน 4. ฝึกการเป็นผู้นา และผู้ตามที่ดี 5. ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา 6. ได้รู้จักวิธีการต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา 7. ฝึกวิเคราะห์ และประเมินตนเอง
  • 3. 3 กระบวนการสาคัญของการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน กระบวนการจัดการเรียนรู้แบ่งเป็น 3 ระยะ ใหญ่ๆด้วยกัน คือ ระยะที่ 1 การเริ่มต้นโครงงาน ก่อนที่จะเริ่มโครงงาน ครูและผู้เรียนทุกคนในกลุ่มร่วมกันกา หนดหัวข้อของโครงงาน หัวข้อ โครงงานกา หนดขึ้นจากความสนใจของผู้เรียนทั้งกลุ่ม หรือผู้เรียนส่วนใหญ่เป็นหลัก โดย ครูเป็นผู้คอยสังเกตคา พูดและการกระทา ต่างๆ ของผู้เรียนในระบบการเรียนการสอนตามปกติ 1. สังเกต/สร้างความสนใจของผู้เรียน 1.1 ครูถามคา ถามถึงลักษณะของสิ่งของที่ผู้เรียนสังเกตได้ 1.2 ครูกระตุ้นให้ผู้เรียนสังเกตรายละเอียดของสิ่งของนั้น 1.3 ครูยอมรับฟังคา ตอบของผู้เรียนด้วยความสนใจ โดยการมองตาผู้เรียน แสดง ท่าทาง 2. ร่วมกันกาหนดหัวข้อโครงงาน 2.1 อภิปรายเกี่ยวกับเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ 2.2 กา หนดหัวข้อโครงงานภายใต้ความสนใจของผู้เรียน 2.3 ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน ด้วยการวาดภาพ เล่า เรื่อง สังเกตสิ่งของ และสนทนากับเพื่อนๆ และครู ระยะที่2 ขั้นพัฒนาโครงงาน เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนกา หนดปัญหาที่จะศึกษา ตั้งสมมุติฐานและลงมือทดสอบสมมุติฐาน หรือการออกไปศึกษาความรู้เพื่อตรวจสอบสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ตามประเด็นคา ถามภายใต้หัวข้อ โครงงานขั้นตอนนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรงกับสิ่งของ เหตุการณ์ บุคคล 1. ผู้เรียนกา หนดปัญหาที่จะศึกษา 1.1 ผู้เรียนอภิปรายเกี่ยวกับหัวข้อโครงงานที่กา ลังศึกษา 2. ผู้เรียนสมมุติฐานเบื้องต้น 2.1 ผู้เรียนตอบปัญหาตามความรู้เดิมที่มีอยู่ 2.2 ครูช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนขยายสมมุติฐาน ให้มีรายละเอียดและขั้นตอนที่สามารถ ดา เนินการทดสอบได้ 2.3 ผู้เรียนวาดขั้นตอนตามสมมุติฐานในกระดาษ 2.4 ครูจัดทา ป้ายแสดงเรื่องราว
  • 4. 4 3. ผู้เรียนทดสอบสมมุติฐานเบื้องต้น 3.1 ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ตามสมมุติฐาน 3.2 ผู้เรียนดา เนินทดสอบสมมุติฐาน 4. ตรวจสอบผลการทดลองสมมุติฐาน 4.1 ตรวจสอบ 4.2 ผู้เรียนแสวงหาความรู้เพิ่มเติม 4.3 ผู้เรียนตั้งสมมุติฐานขึ้นใหม่ 4.4 ในกรณีผลการตรวจสอบเป็นไปตามสมมุติฐาน ระยะที่ 3 ขั้นสรุป จากการเฝ้าสังเกต และบันทึกคา พูดพฤติกรรมของผู้เรียนอย่างละเอียดและต่อเนื่อง จะทา ให้ครูเห็นการพัฒนาการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน และครูจะสังเกตเห็นว่าผู้เรียนค่อยๆ ลดความ สนใจในเรื่องที่เกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน และหันเหความสนใจไปสู่เรื่องอื่นด้วยตัวผู้เรียนเอง นั่น คือเวลาที่ครูจะนา ผู้เรียนเข้าสู่ขั้นตอนรวบรวมและสรุป 1. ผู้เรียนสิ้นสุดความสนใจในหัวข้อโครงงาน 2. นาเสนอผลงานโครงงาน 3. สิ้นสุดโครงงานเก่ากา หนดโครงงานใหม่
  • 5. 5 สรุปกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงาน ระยะที่ 1 การเริ่มต้นโครงงาน 1. สร้าง/สังเกตความสนใจของผู้เรียน 2. ผู้เรียนกา หนดหัวข้อโครงงาน ระยะที่2 ขั้นพัฒนาโครงงาน 1. ผู้เรียนกา หนดปัญหาที่จะศึกษา 2. ผู้เรียนตั้งสมมุติฐานเบื้องต้น 3. ผู้เรียนทดสอบสมมุติฐานเบื้องต้น 4. ผู้เรียนตรวจสอบผลการทดสอบสมมุติฐาน ก . ตอบปัญหาได้ ข. ตอบปัญหาไม่ได้ 1.แสวงหาความรู้เพิ่ม 2. ตั้งสมมุติฐานใหม่ 5. ผู้เรียนสรุปข้อความรู้ ระยะที่ 3 ขั้นสรุป 1. สิ้นสุดความสนใจ 2. นาเสนอผลงาน 3. สิ้นสุดโครงงาน และกา หนดโครงใหม่ ประเมินผล
  • 6. 6 ประเภทของโครงงาน ได้จา แนกประเภทของโครงงานไว้ 4 ประเภท คือ 1. โครงงานประเภทสารวจและรวบรวมข้อมูล เป็นการสารวจข้อมูลจากแหล่งต่างๆ แล้ว นา มาเป็นหมวดหมู่ มีขั้นตอนดังนี้ คือ 1) กา หนดปัญหาหรือความต้องการที่จะเรียนรู้ 2) กา หนดประเด็นการศึกษา 3) ตั้งสมมติฐาน 4) สารวจและรวบรวมข้อมูล 5) วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล 6) สรุปและอภิปรายขบวนการศึกษา 2. โครงงานประเภทการทดลอง ใช้กระบวนการศึกษาและเปรียบเทียบ เพื่อค้นหาคา ตอบ ข้อเท็จจริงในสาระที่ผู้เรียนต้องการที่จะเรียนรู้ มีขั้นตอนดังนี้ 1) กา หนดปัญหาหรือประเด็นที่ต้องการคา ตอบ ซึ่งเป็นผลที่ได้จากการทดลอง 2) ตั้งจุดประสงค์ของการทดลอง 3) ตั้งสมมติฐาน 4) เตรียมวัสดุอุปกรณ์ 5) ออกแบบการทดลอง 6) ดา เนินการทดลอง 7) บันทึกผลในทุกระยะ 8) รวบรวมข้อมูล 9) วิเคราะห์หรือแปรผล 10) สรุปผลที่ได้จากการทดลอง 3. โครงงานประเภทการสร้างสิ่งประดิษฐ์ เป็นการใช้ความรู้ ความสามารถของตนเองมา ทดลองประดิษฐ์ผลงานใหม่ๆ ที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ผสานกับหลักวิชาการ มีขั้นตอนดังนี้ 1) กา หนดหัวข้อโครงงาน
  • 7. 7 2) ตั้งจุดประสงค์ 3) ศึกษาข้อมูลในงานวิจัยต่างๆ 4) ออกแบบการจัดทา ให้สอดคล้องกับสิ่งประดิษฐ์ที่จะทา 5) จัดเตรียมอุปกรณ์ 6) ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 7) ประกอบผลงาน 8) ทดลองใช้สิ่งประดิษฐ์ 9) บันทึกผลจากการทดลอง 10) สรุปผลจากการใช้งานที่เกิดจากโครงงาน 4. โครงงานประเภทการสร้างทฤษฏีหรือการอธิบาย เป็นการนาความคิดประสบการณ์มา นา เสนอในทฤษฏีใหม่ด้วยการอธิบายในสิ่งที่ตัวเองคิด และพิสูจน์ให้เห็นผลในเชิงประจักษ์ ทั้งนี้ เพราะหลักการเดิมที่มีอยู่ไม่สามารถจะอธิบายปรากฏการณ์ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในภายหลังได้ มีขึ้นตอน ดังนี้ 1) กา หนดประเด็นปัญหา 2) ศึกษารายละเอียดจากข้อมูลเดิม 3) ตั้งจุดประสงค์ 4) กา หนดขอบเขต 5) ตั้งสมมติฐาน 6) บันทึกกา หนดตัวแปร 7) บันทึกข้อมูล 8) วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล 9) สรุปและอภิปรายผล 10) จัดทา ข้อเสนอแนะ
  • 8. 8 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงานมีดังนี้  ขั้นประเมินผล  ขั้นปฏิบัติ  ขั้นวางแผน  ขั้นนา เสนอ รายละเอียดขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงาน 1. ข้นันาเสนอ หมายถึง ขั้นที่ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้ กา หนดสถานการณ์ ศึกษา สถานการณ์ เล่นเกม ดูรูปภาพ หรือผู้สอนใช้เทคนิคการตั้งคา ถามเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้ที่ กา หนดให้ในแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน เช่น สาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรและสาระการ เรียนรู้ที่เป็นขั้นตอนของโครงงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการเรียนรู้ 2. ข้นัวางแผน หมายถึง ขั้นที่ผู้เรียนร่วมกันวางแผนโดยการระดมความคิด อภิปราย หารือ ข้อสรุปของกลุ่ม เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ 3. ข้นัปฏิบัติ หมายถึง ขั้นที่ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม เขียนสรุปรายงานผลที่เกิดขึ้นจากการ วางแผนร่วมกัน 4. ข้นัประเมินผล หมายถึง ขั้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยให้บรรลุจุดประสงค์การ เรียนรู้ที่กา หนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ โดยมีผู้สอน ผู้เรียนและเพื่อนร่วมกันประเมิน การเขียนรายงานการทาโครงงาน คือ การนา เสนอผลการศึกษาหรือผลการทา โครงงานให้ผู้อ่านเข้าใจถึงแรงผลักดันสา คัญ ของปัญหาที่ก่อให้เกิดการค้นคว้า วิธีดา เนินการศึกษาและผลการศึกษา หรือผลของการทา โครงงาน การเขียนรายงานเป็นขั้นสุดท้ายของการทา โครงงานเพื่อบอกให้ทราบว่า เพราะเหตุใดจึงทา ทา อะไรบ้าง ทา แล้วได้ผลเป็นอย่างไร การเขียนรายงานที่ดีต้องสามารถสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจอย่างชัดเจน และเข้าใจอย่างรวดเร็ว ดังนั้นการเขียนรายงานจึงต้องอาศัยความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ พอสมควร
  • 9. 9 ส่วนประกอบของรายงานโครงงานมี 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 : รูปแบบของเอกสารรายงานโครงงานจะมีส่วนประกอบ ดังนี้ 1) ปกรายงาน (Cover หรือ Binding)  ชื่อโครงงาน  ผู้จัดทา  ชั้น  ครูที่ปรึกษา  รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้  โรงเรียน  สา นักงานเขตพื้นที่การศึกษา …………….. เขต …………..  ภาคเรียนที่  ปีการศึกษา 2) ใบรองปก ( En Paper ) มีข้อความเช่นเดียวกับปกหน้า 3) บทคัดย่อ ( Abstract ) 4) คา นา ( Preface ) 5) กิตติกรรมประกาศ ( Acknowledgements ) 6) สารบัญ ( Table of Contents ) 7) หน้าสารบัญภาพ ( Table of IIIustrations ) ส่วนที่2 : ส่วนเนื้อเรื่องหรือเนื้อหารายงาน (Taste) ประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ บทที่1 : บทนา ประกอบไปด้วยหัวข้อรายงาน ดังนี้  ความเป็นมาและความสา คัญของการจัดทา โครงงาน  วัตถุประสงค์ของการจัดทา โครงงาน  ขอบเขตของการจัดทา โครงงาน  สมมติฐาน  คา นิยามศัพท์เฉพาะ  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงานดังกล่าว บทที่2 : เอกสารประกอบการศึกษา ค้นคว้า ประกอบด้วยหัวข้อการรายงาน ดังนี้  ทฤษฎีหรือแนวความคิดในการจัดทา โครงงาน  เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องในการจัดทา โครงงานครั้งนี้
  • 10. 10 บทที่3 : วิธีดา เนินการประกอบไปด้วยหัวข้อการรายงาน ดังนี้  ระเบียบวิธีในการจัดทา โครงงานประเภทต่างๆ  แหล่งที่มาของข้อมูล  วิธีการศึกษาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ  การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่4 : ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบไปด้วยหัวข้อการรายงาน ดังนี้  การเสนอรายงานโครงงานในรูปแบบของการบรรยายเชิงพรรณนา ประกอบไป ด้วยสิ่งต่างๆ เช่น - ตาราง - แผนภูมิ - กราฟ - อื่นๆที่ใช้ประกอบการอธิบาย บทที่5 : สรุป สรุปอภิปรายและข้อเสนอแนะ ประกอบไปด้วยหัวข้อการรายงาน ดังนี้  ภาพรวมของการจัดทา โครงงานโดยนา เนื้อหาสาระในบทที่ 1-3 มาเขียนสรุป ในภาพรวมอย่างกระชับ  สรุปผลการจัดทา โครงงานว่าค้นพบประเด็นสา คัญที่ต้องการศึกษาอะไร อย่างไรบ้าง โดยนา เนื้อหาในบทที่ 4 มาสรุปอย่างกระชับ  อภิปรายผลว่าการจัดทา โครงงานครั้งนี้มีผลออกมาเป็นเช่นไร เป็นไปตาม สมมติฐานหรือไม่ อย่างไร สิ่งที่ได้จากการทา โครงงานแตกต่างจากการที่คนอื่นทา อย่างไร (กรณีที่ มีผู้อื่นเคยทา โครงงานในเรื่องเดียวกัน)  ข้อเสนอแนะ ประกอบไปด้วย - ข้อเสนอแนะสา หรับผู้สนใจที่จะนา ผลที่ได้จากการทา โครงงานครั้งนี้ ไปใช้ - ข้อเสนอแนะที่ผู้เรียนคนอื่นๆ จะจัดทา โครงงานต่อยอดออกไปอย่างไร - อื่นๆที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดทา โครงงานในเรื่องเดียวกัน ส่วนที่3 : ส่วนท้ายของรายงานโครงงาน ประกอบไปด้วยหัวข้อการรายงาน ดังนี้ 1) บรรณานุกรม ( Bibliographies ) 2) ภาคผนวก ( Appendices ) 3) ดรรชนี ( Indexes )
  • 11. 11 4) เชิงอรรถ ( Footnote ) เป็นข้อความสั้นๆที่อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาในบท หรือ บอกแหล่งที่มาของข้อความ โดยทั่วไปนิยมใส่เชิงอรรถไว้ตอนล่างของหนังสือแต่ละหน้า อภิธานศัพท์ ( Glossary ) หรือศัพทานุกรม คือ คา อธิบายความหมายศัพท์ทางวิชาการหรือคา ยาก เพื่อช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของคา และความหมายให้ข้อความชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจัดเรียง ตามลา ดับตัวอักษร และอาจพิมพ์ไว้ท้ายเชิงอรรถก็ได้ การพิจารณารายงานการทา โครงงานมีคุณภาพหรือไม่นั้น โดยทั่วไปใช้เกณฑ์ดังนี้ 1. ส่วนประกอบของรายงาน ควรประกอบหัวข้อต่อไปนี้ 1.1 บทคัดย่อ 1.2 หลักการและเหตุผล หรือที่มาและความสา คัญของโครงงาน 1.3 ปัญหา หรือวัตถุประสงค์ของการทา โครงงาน 1.4 การศึกษาทฤษฏีและหลักการที่เกี่ยวข้องกับปัญหา 1.5 การตั้งสมมติฐาน 1.6 อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา 1.7 วิธีดา เนินการศึกษา การจัดกระทา ข้อมูลที่รวบรวมได้ ตลอดจนการสื่อ ความหมายข้อมูล 1.8 การแปลผลและสรุปผล 1.9 ข้อเสนอแนะ 1.10 เอกสารอ้างอิง 2. ความคิดริเริ่ม คือมีความแปลกใหม่หรือมีความเป็นภาพและน่าสนใจ 3. การออกแบบและการดา เนินการศึกษา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 3.1 กา หนดปัญหามีการกล่าวถึงความเป็นมาและความสา คัญของปัญหาตลอดจน กา หนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ในการศึกษาให้ชัดเจน 3.2 การตั้งสมมติฐาน มีการศึกษาทฤษฏีและหลักการที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางตั้งสมมติฐานที่มีความชัดเจนต่อความเข้าใจและมีความสอดคล้องกับปัญหาที่ ศึกษา 3.3 การออกแบบการทดลองและดา เนินการทดลอง ประกอบด้วย 1. มีการระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม ตลอดจนระบุวิธีวัดตัวแปร ต่างๆ(หรือมีการให้นิยมเชิงปฏิบัติการของตัวแปร) 2. ระบุอุปกรณ์ เครื่องมือ สารเคมี ซึ่งแสดงว่ามีทักษะในการเลือกใช้อุปกรณ์ เพื่อการศึกษา
  • 12. 12 3. ระบุวิธีการศึกษาอย่างเป็นขั้นตอนเรียงตามลา ดับ 4. มีการจัดกระทา ข้อมูล เพื่อสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ เช่น ตาราง กราฟ การบรรยาย เป็นต้น 3.4 การแปรผลข้อมูลและสรุปผล เมื่อเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ แล้วผู้รายงาน ต้องการแปลผลข้อมูล และลงข้อสรุปผลอย่างชัดเจน รวมทั้งอาจมีการอภิปรายผลการศึกษาอีกด้วย 4. การนาไปใช้ คือสามารถนาไปใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษา และนาไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจา วัน 5. ความสามารถในการสื่อความหมายของรายงาน มีลักษณะดังนี้ 5.1 ใช้ภาษากะทัดรัด ชัดเจน และความถูกต้องทั้งตัวสะกด และหน่วยที่ใช้ 5.2 เรียงลา ดับไม่สับสน เข้าใจง่าย ชัดเจน และเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว 5.3 มีความน่าสนใจ หรือดึงดูดความสนใจชวนให้ติดตาม การประเมินผลการทาโครงงาน เป็นบทบาทสา คัญของครู ครูควรมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ (learning) การ เรียนการสอน (instruction) การประเมินการเรียนรู้ (assessment) และการประเมินผล (evaluation) อย่างชัดเจน การประเมินผลจะเป็นการตัดสินการเรียนรู้ที่เป็นทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เพื่อ เป็นการตัดสินให้ระดับคะแนน คือ การเรียนการสอน การเรียนรู้ การประเมินการเรียนรู้ และการ ประเมินผล 1. การเรียนการสอน ( instruction ) ความหมาย การเกิดการเรียนรู้ด้วยทั้งกระบวนการ เรียนของนักเรียนและกระบวนการสอนของครูร่วมกัน 2. การเรียนรู้ ( learning ) ความหมาย การมีความรู้ ความสามารถ ทักษะและความ ประพฤติชอบของนักเรียน ซึ่งเป็นการเปลี่ยนพฤติกรรมนักเรียน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ที่มีครู เป็นผู้จัดประสบการณ์เรียนรู้ให้ 3. การประเมินผลการเรียนรู้ ( assessment ) ความหมาย การรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและ คุณภาพจากกระบวนการทา งาน การปฏิบัติงาน และผลผลิตที่ได้จากกระบวนการเรียนรู้เพื่อการตี ค่า 4. การประเมินผล ( evaluation ) ความหมาย การตัดสินคุณค่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งจากข้อมูลทั้ง เชิงปริมาณและคุณภาพที่ได้จากการวัดสิ่งที่ต้องการประเมิน ในการวางแผนดา เนินการและจัดการประเมินการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ผู้ประเมินต้องมี ความรู้และเข้าใจในประเด็นต่อไปนี้ 1. พฤติกรรมหรือการปฏิบัติการของนักเรียนที่ต้องประเมินมีอะไรบ้าง 2. กระบวนการหรือวิธีการประเมินมีอะไรบ้าง
  • 13. 13 3. เป้าหมายของการประเมินการเรียนรู้คืออะไร 4 .จุดเน้นที่ต้องประเมินการเรียนรู้คืออะไร 5. ผู้มีหน้าที่ประเมินการเรียนรู้มีใครบ้าง การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริงเป็นการประเมินดังนี้ 1. ผลการเรียนด้านวิชาการ คือความรู้ ความเข้าใจในสาระ 2. การใช้เหตุผล คือการใช้กระบวนการแก้ปัญหา การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ การใช้ กระบวนการสร้างความรู้ 3. ทักษะและสมรรถนะ เช่น ทักษะการนา เสนอ ทักษะการเขียน ทักษะการทา งานเป็นทีม ทักษะการวิจัย ทักษะการจัดระบบและวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะการใช้เทคโนโลยี ทักษะการทา งาน ด้วยความอดทนและฝ่าฟันอุปสรรค ทักษะการแก้ปัญหาความขัดแย้ง 4. เจตคติ เช่น การพัฒนาเจตคติต่อการเรียน การรักเรียน ความเป็นพลเมืองดี ใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นนักอ่าน อัตมโนทัศน์ ความรักธรรมชาติ 5. นิสัยการทา งาน เช่น การทา งานได้สา เร็จตรงตามเวลา ใช้เวลาอย่างมีค่า ความ รับผิดชอบ ความอดทนเพื่อให้ได้งานมีคุณภาพ การทา งานอย่างต่อเนื่อง วิธีการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง มีวิธีต่อไปนี้ 1. การอภิปรายตามวัตถุประสงค์ 2.แบบทดสอบมาตรฐาน 3. แบบทดสอบที่พัฒนาโดยครู 4. การเขียนบันทึกผลการเรียนรู้ 5. การนาเสนอด้วยวาจา 6. โครงงาน 7. การปฏิบัติทดลอง 8. แฟ้มสะสมงาน/ผลงาน(portfolios) 9. การสังเกต 10. การบันทึก 11. การสร้างสถานการณ์จา ลอง 12. แบบสอบถาม 13. แบบสัมภาษณ์ 14. บันทึกการเรียนรู้ หรือการเขียนอนุทิน 15. ทีมจัดการโดยนักเรียน
  • 14. 14 16. ทีมประเมินโดยครู 17. การประชุมของผู้ปกครอง จุดเน้นของการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง มีดังนี้ 1. การประเมินผลเพื่อวินิจฉัยข้อบกพร่อง (diagnostic assessment ) 2. การประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียน (formative assessment ) 3. การประเมินการเรียนรู้หลังเรียน (summative assessment ) ลักษณะที่สาคัญของการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง 1. เป็นการประเมินที่กระทา ไปพร้อมๆกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ของนักเรียน ซึ่งสามารถทา ได้ตลอดเวลากับทุกสถานการณ์ ทั้งที่โรงเรียนบ้านและชุมชน 2. เป็นการประเมินที่เน้นพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียนที่แสดงออกมาจริงๆ 3. เน้นการพัฒนานักเรียนอย่างเด่นชัด 4. เน้นการประเมินตนเองของนักเรียน 5 .เน้นคุณภาพของผลงานที่นักเรียนสร้างขึ้น ซึ่งเป็นการบูรณาการความรู้ความสามารถ หลายๆ ด้านของนักเรียน 6. เน้นการวัดความสามารถในการคิดระดับสูง 7. เน้นการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียน ครู ผู้ปกครอง การพัฒนาเกณฑ์ประเมินการเรียนรู้ นิยมใช้มากมี 2 วิธีคือ 1. เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริกส์ (rubrics scoring) เป็นเกณฑ์ที่ต้องกา หนด รายละเอียดให้คะแนนอย่างชัดเจนสา หรับทุกตัวบ่งชี้ ผลการเก็บรวบรวมข้อมูลจะมีความเป็นปรนัย สูง และมีความตรงสูง 2. เกณฑ์การให้คะแนนแบบมาตรประมาณค่า (rating scale) เป็นเกณฑ์ที่กา หนดเป็น กลางไม่มีรายละเอียดการให้คะแนนอย่างชัดเจนในแต่ละข้อมูล(item)สะดวกต่อการเก็บรวบรวม ข้อมูล โดยข้อมูลที่ได้มีความเป็นปรนัยน้อยกว่าวิธีให้คะแนนแบบรูบริกส์ เช่น กา หนดเกณฑ์ 5 ระดับ 5-4-3-2-1 กา หนดเกณฑ์ 4 ระดับ 4-3-2-1 เป็นต้น ตัวอย่างเกณฑ์ ดังนี้ เกณฑ์ 3 ระดับ 1 หมายถึง แน่ใจว่าพฤติกรรมสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าพฤติกรรมสอดคล้อง -1 หมายถึง แน่ใจพฤติกรรมไม่สอดคล้องกัน
  • 15. 15 เกณฑ์ 4 ระดับ 4 หมายถึง นักเรียนแสดงพฤติกรรมจนเกิดผลสัมฤทธ์ิตามที่กา หนดไว้ ( achievement ) 3 หมายถึง นักเรียนแสดงพฤติกรรมแต่ยังไม่ปรากฏผลสัมฤทธ์ิชัดเจน ( attempt ) 2 หมายถึง นักเรียนตระหนักถึงความสา คัญแต่ยังไม่ได้แสดงพฤติกรรมให้ปรากฏ ( awareness) 1 หมายถึง นักเรียนมีความตั้งใจจะหาความรู้ แต่ไม่แสดงพฤติกรรม ( Attention ) เกณฑ์ 5 ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุง 2 หมายถึง พอใช้ 3 หมายถึง ปานกลาง 4 หมายถึง ดี 5 หมายถึง ดีมาก