SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
ความหมายของโครงงาน


โครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทำาการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความ
สามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นๆ ไปใช้ในการศึกษาหาคำาตอบ

โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนำาและให้คำาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดำาเนินงาน
ตามแผน กำาหนดขั้นตอนการดำาเนินงานและการนำาเสนอผลงาน ซึ่งอาจทำาเป็นบุคคลหรือเป็นกลุ่ม

โครงงาน คือ การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือหลายๆสิ่งที่อยากรู้คำาตอบให้ลึกซึ้ง
หรือเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆให้มากขึ้น โดยใช้กระบวนการ วิธีการที่ศึกษาอย่างมีระบบ เป็นขั้นตอน

มีการวางแผนในการศึกษาอย่างละเอียด ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ จนได้ข้อสรุปหรือผลสรุปที่เป็นคำาตอบในเรื่องนั้นๆ




หลักการของโครงงาน


* เน้นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง

* ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษาค้นคว้าเอง
* ลงมือปฏิบัติเอง

* นำาเสนอโครงงานเอง
* ร่วมกำาหนดแนวทางวัดผลและประเมินผล


จุดมุ่งหมายของการทำาโครงงาน

* เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเอง

* เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงออกซึ่งความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
* เพื่อให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เช่น รู้จักทำางานร่วมกับบุคคลอื่น

  มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรับผิดชอบฯ
* เพื่อให้ผู้เรียนใช้ความรู้และประสบการณ์เลือกทำาโครงงานตามความสนใจ


 ประเภทของโครงงาน
 ประเภทโครงงาน
 แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
 1. โครงงานตามสาระการเรีย นรู้ เป็นการใช้บูรณาการร่วมกับการเรียนรู้ ทักษะและเป็นพืนฐานในการกำาหนดโครงงาน
                                                                                  ้
 และปฏิบัติ
 2. โครงงานตามความสนใจ เป็นโครงงานที่ผู้เรียนกำาหนดขั้นตอน ความถนัด ความสนใจ ความต้องการ โดยใช้ทักษะ
 ความรู้ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆมาบูรณาการเป็นโครงงานและปฏิบัติ
 สามารถแบ่งได้ 4 รูปแบบ ตามวัตถุประสงค์
 1. โครงงานที่เป็นการสำารวจ รวบรวมข้อมูล
 2. โครงงานที่เป็นการศึกษาค้นคว้า ทดลอง
 3. โครงงานที่เป็นการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ ๆ ในการพัฒนาผลงาน
 4. โครงงานที่เป็นการสร้างประดิษฐ์ คิดค้น


 1.   โครงงานที่เ ป็น การสำา รวจ รวบรวมข้อ มูล
      เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ในการรวบรวมข้อมูล เรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วนำาข้อมูลนั้นมาจำาแนกเป็นหมวดหมู่ ในรูปแบบ
ที่เหมาะสม ข้อมูลที่ได้จะนำาไปปรับปรุงพัฒนาผลงาน ส่งเสริมผลผลิตให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น ข้อมูลดังกล่าว อาจมีผู้จัดทำา
     ขึ้นแล้ว แต่มีการเปลี่ยนแปลง จึงต้องมีการจัดทำาใหม่เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของผู้ศึกษาโครง
     งาน โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วย แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก เช่น


     * การสำารวจแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
     * การสำารวจงานบริการและสถานประกอบการในท้องถิ่น


     2. โครงงานทีเ ป็น การศึก ษาค้น คว้า ทดลอง
                 ่
     เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ โดยศึกษาหลักการและออกแบบการค้นคว้า ใน
     รูปแบบการทดลองเพื่อยืนยันหลักการ ทฤษฎี เพื่อศึกษาหาแนวทางในการเพิ่มคุณค่า และการใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น
     เช่น


     * การปลูกพืชโคยไม่ใช้สารเคมี
     * การทำาขนมอบชนิดต่าง ๆ โดยใช้วัสดุในท้องถิ่น
     * การควบคุมการเจริญเติบโตของต้นไม้ประเภทเถา
     * การศึกษาสูตรเครื่องดื่มที่ผลิตจากธัญญพืช


     3. โครงงานทีเ ป็น การศึก ษาทฤษฎี หลัก การ หรือ แนวคิด ใหม่ๆ
                 ่
     เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้ หรือหลักการใหม่ๆ เกียวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ยังไม่มีใครเคยคิด หรือคิด
                                                                      ่
     ขัดแย้ง หรือขยายจากของเดิมที่มีอยู่ จากเนื้อหาวิชาการ หลักการ ทฤษฎีต่าง ๆ นำามาปรับปรุง พัฒนา ให้สอดคล้องมี
     ความชัดเจน มีผลงานที่เป็นรูปธรรม ซึ่งต้องผ่านการพิสูจน์อย่างมีหลักการและเชื่อถือได้ เช่น


     * การใช้สมุนไพรในการปราบศัตรูพืช
     * การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการถนอมอาหาร และปรุงอาหาร
     * เกษตรแบบผสมผสาน
     * เทคนิคการแก้โจทย์ปัญหา


     4.โครงงานที่เ ป็น การสร้า งประดิษ ฐ์ คิด ค้น
     เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ คือ การนำาความรู้ทฤษฎี หลักการ มาประยุกต์ใช้ โดยประดิษฐ์เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ
     เพื่อประโยชน์ต่างๆ หรืออาจเป็นการสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือปรับปรุงของเดิมให้ดีขึ้นใช้ประโยชน์ได้มาก
     ยิ่งขึ้น เช่น


     * การประดิษฐ์เครื่องควบคุมการรดนำ้า
     * การประดิษฐ์เครื่องรับวิทยุ
     * การประดิษฐ์ของชำาร่วย
     * การออกแบบเสื้อผ้า


     ส่ว นประกอบของการเขีย นรายงาน


1. ชือโครงงาน
     ่
2. ชือผู้จัดทำาโครงงาน/โรงเรียน/วันเดือนปีที่จัดทำา
     ่
3. ชืออาจารย์ที่ปรึกษา
     ่
4. บทคัดย่อ บอกเค้าโครงย่อยๆประกอบด้วย เรื่อง....วัตถุประสงค์......วิธการศึกษาและสรุปผล
                                                                      ี
5. กิตติกรรมประกาศ (แสดงความขอบคุณ บุคคล หรือหน่วยงาน ที่มีส่วนในการให้ความช่วยเหลือ ในดำาเนินโครงงาน)
6. ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน
7. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
8. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี)
9. วิธีดำาเนินการ
10. สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
11. อภิปรายผล / ประโยชน์ / ข้อเสนอแนะ
12. เอกสารอ้างอิง


http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/tech04/22/standard/p01.html

การเขีย นโครงงาน


           โครงงานหมายถึง กิจกรรมทีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วย
                                     ่
ตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือ
กระบวนการอื่นใดไปใช้ในการศึกษาหาคำาตอบในเรื่องนั้นๆ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนำาและ
ให้คำาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดำาเนินการ วางแผน
กำาหนดขั้นตอนการดำาเนินงาน โดยทั่วๆ ไป การทำาโครงงานสามารถทำาได้ทุกระดับการศึกษา ซึ่ง
อาจทำาเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน อาจเป็นโครงงานเล็กๆ
ที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนหรือเป็นโครงงานใหญ่ที่มีความยากและซับซ้อนขึ้นก็ได้


๑. ประเภทของโครงงาน
          โครงงานสามารถแบ่งตามลักษณะของกิจกรรมได้ ๔ ประเภท ดังนี้


       ๑.๑ โครงงานประเภทสำา รวจ
         โครงงานประเภทสำารวจ เป็นโครงงานประเภทเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อหาสาเหตุของปัญหา
หรือสำารวจความคิดเห็น ข้อมูลที่รวบรวมได้บางอย่างอาจเป็นปัญหาที่นำาไปสู่การทดลองหรือค้นพบ
สาเหตุของปัญหาที่ต้องหาวิธีแก้ไขปรับปรุงร่วมกัน เช่น โครงงานการสำารวจคำาที่มักเขียนผิด โครง
งานสำารวจการใช้คำาคะนองในหนังสือพิมพ์ เป็นต้น


        ๑.๒ โครงงานประเภทการทดลอง
        โครงงานประเภทการทดลอง เป็นโครงงานที่ต้องออกแบบทดลอง เพื่อการศึกษาผลการ
ทดลองว่าเป็นไปตามที่ตั้งสมมติฐานไว้หรือไม่ โครงงานประเภทนี้ต้องสรุปความรู้หรือผลการทดลอง
เป็นหลักการหรือแนวทางการปฏิบัติไว้ เช่น โครงงานการทดลองยากันยุงจากพืชสมุนไพร โครง
งานการทดลองปลูกพืชสวนครัวโดยใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ เป็นต้น


        ๑.๓ โครงงานประเภทสิง ประดิษ ฐ์
                           ่
         โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นโครงงานที่ประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์เข้าสู่
กระบวนการปฏิบัติ โดยอาศัยเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อประดิษฐ์ชิ้นงานใหม่ อาจเป็นของใช้
เครื่องประดับจากวัสดุเหลือใช้ หรือนำาวัสดุท้องถิ่นที่มีมากมายมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น โครง
งานการประดิษฐ์เครื่องจักสานจากผักตบชวา โครงงานการประดิษฐ์เครื่องช่วยสอนวิชาภาษา
อังกฤษ เป็นต้น


        ๑.๔ โครงงานประเภททฤษฎี
โครงงานประเภททฤษฎี เป็นโครงงานที่มีลักษณะเป็นการหาความรู้ใหม่ โดยการรวบรวม
ข้อมูลและนำามาวิเคราะห์จากสถิติแล้วอภิปราย หรือเป็นโครงงานที่ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกิดจากข้อ
สงสัย อาจเป็นการนำาบทเรียนมาขยายเพื่อศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมให้ได้ความรู้ในแง่มมที่กว้างและลึก
                                                                            ุ
กว่าเดิม เช่น โครงงานการศึกษาคำาซ้อนในวรรณคดีร้อยแก้ว โครงงานการศึกษาข้อคิดจากเรื่อง
พระมโหสถชาดก เป็นต้น


๒. ขัน ตอนการทำา โครงงาน
     ้
         การทำาโครงงานมีขั้นตอนการปฏิบติ ดังนี้
                                      ั


      ๒.๑ การคิด และการเลือ กหัว เรือ ง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วย
                                      ่
ตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทำาไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา
คำาถามหรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควร
เฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทำาจากอะไร
การกำาหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจหลาย
แหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยาย
ทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับ
บุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ ควรคำานึงถึงประเด็นต่อ
ไปนี้


         - ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
         - วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้
         - งบประมาณ
         - ระยะเวลา
         - ความปลอดภัย
         - แหล่งความรู้


       ๒.๒ การวางแผน
         การวางแผนการทำาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการ
วางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดำาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนำาเสนอต่อ
ผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดำาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครง
งาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทำาโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วย
หัวข้อต่อไปนี้
         ๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง
         ๒) ชื่อผู้ทำาโครงงาน
         ๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
          ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทำาโครงงานเรื่องนี้ มี
ความสำาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องทีทำาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้
                                                                    ่
ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทำาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้
อื่นทำาไว้อย่างไร หรือเป็นการทำาซำ้าเพื่อตรวจสอบผล
          ๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอก
ขอบเขตของงานที่จะทำาได้ชัดเจนขึ้น
          ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคำาตอบหรือคำาอธิบายที่คาดไว้ล่วง
หน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่
สำาคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการดำาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความ
สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย
          ๗) วิธีดำาเนินงานและขั้นตอนการดำาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลองอะไร
อย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จำาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง
          ๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกำาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดำาเนินงานใน
แต่ละขั้นตอน
          ๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
        ๑๐) เอกสารอ้างอิง


       ๒.๓ การดำา เนิน งาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อ
ไปก็เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนทีระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทำาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียม
                                        ่
วัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คำานึงถึงความประหยัดและ
ปลอดภัยในการทำางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทำาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหา
และข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน


      ๒.๔ การเขีย นรายงาน
        การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึง
แนวคิด วิธีการดำาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ทีเกี่ยวกับโครงงานนั้น
                                                                       ่
การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสำาคัญๆ ทั้งหมด
ของโครงงาน


      ๒.๕ การนำา เสนอผลงาน
        การนำาเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทำาโครงงานและเข้าใจถึงผลงานนั้น
การนำาเสนอผลงานอาจทำาได้หลายรูปแบบ ขึนอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา
                                         ้
เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์
จำาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคำาพูด หรือการ
รายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่งสำาคัญคือ พยายามทำาให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจ
ของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา


๓. การเขีย นรายงานโครงงาน
        การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนำาเสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียน
ได้ศึกษาค้นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การกำาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัว
เหมือนกันทุกโครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงาน
และระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้


      ๑. ส่ว นปกและส่ว นต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย
        ๑) ชื่อโครงงาน
        ๒) ชื่อผู้ทำาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จดทำา
                                                            ั
        ๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
        ๔) คำานำา
        ๕) สารบัญ
๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี)
         ๗) บทคัดย่อสั้นๆ ทีบอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการ
                            ่
ศึกษา ระยะเวลา และสรุปผล
         ๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ
หรือมีส่วนเกี่ยวข้อง


       ๒. ส่ว นเนื้อ เรือ ง
                        ่
         ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย
         ๑) บทนำา บอกความเป็นมา ความสำาคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการ
เลือกหัวข้อโครงงาน
         ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน
         ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
         ๔) การดำาเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดำาเนินงานเป็นไปตาม
หัวข้อเรื่อง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คำาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กำาหนด
ดังตัวอย่างการเขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้
           ในแผนผังโครงงานทำาให้เห็นระบบการทำางานอย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผนการทำางาน
จะเห็นได้ว่าสิ่งทีต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคำาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็
                  ่
จะเรียงลำาดับทีละหัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้
ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจาก
หัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหาคำาตอบ การตอบคำาถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์
สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล
        ๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคำาตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่
ต้องการทราบ ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่
        ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจำากัดหรือปัญหา
อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน


       ๓. ส่ว นท้า ย
         ส่วนท้าย ประกอบด้วย
         ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น
หนังสือ ตำารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น
         หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สำานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์
         บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน
ปี.
         คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน
เดือน ปี. หน้า.
         ๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์

http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic=24.0
โครงงานคือ อะไร
โครงงาน คือ งานวิจัยเล็กๆสำาหรับนักเรียน เป็นการแก้ปัญหาหรือข้อสงสัย หาคำาตอบโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หากเนื้อหา


หรือข้อสงสัยเป็นไปตามกลุ่มสาระการเรียนรูใด จะเรียกว่าโครงงานในกลุ่มสาระนั้นๆ
                                        ้


สำาหรับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ คือ


1. เมื่อนักเรียนเกิดปัญหา

2. นักเรียนก็ตอบปัญหาชั่วคราว (สมมุติฐาน)


3. นักเรียนจะต้องออกแบบการทดลอง เพื่อพิสูจน์ปัญหาว่าจริงหรือไม่


4. ทำาการทดลอง หรือศึกษาค้นคว้าเพื่อสรุปผล


  4.1 ถ้าคำาตอบไม่ตรงกับสมมุติฐาน ก็ตั้งสมมุติฐานใหม่ และทำาข้อ 3 ข้อ 4 จนเป็นจริง


  4.2 เมื่อคำาตอบตรงกับสมมุติฐาน ก็จะทำาให้ได้รับความรู้ใหม่ และเกิดคำาถามใหม่


5. นำาผลที่ได้ไปใช้ประโยชน์

      ในการที่นักเรียนจะทำาโครงงานในกลุ่มสาระใด นักเรียนจะเป็นผู้ที่เลือกหัวข้อที่จะศึกษาค้นคว้า ดำาเนินการวางแผน ออกแบบ

ประดิษฐ์ สำารวจ ทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูล รวมทั้งการแปรผล สรุปผล และการเสนอผลงาน โดยตัวนักเรียนเอง อาจารย์ที่ปรึกษาเป็น


เพียงผูดูแลและให้คำาปรึกษาเท่านั้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง กิจกรรมที่จัดว่าเป็นกิจกรรมโครงงานจะต้องประกอบด้วย
       ้


1. เป็นกิจกรรมที่มีเนื้อหาสาระตามกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้นๆ


2. นักเรียนจะต้องเป็นผู้ริเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ตามความสนใจและระดับความสามารถของนักเรียนแต่ละวัย


3. เป็นกิจกรรมที่มีการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เข้าไปช่วยในการศึกษาค้นคว้า เพื่อตอบปัญหาที่สงสัย

4. นักเรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษาค้นคว้า ตลอดจนดำาเนินงานเก็บรวบรวมข้อมูล หรือประดิษฐ์คิดค้น รวมทั้งแปรผล สรุปผล และ


เสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีครูอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเท่านั้น

      ในการทำาโครงงานในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ควรจะมีระยะเวลา และวิธีการที่ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อนนัก และควรเป็นไปตามระดับ


สติปัญญาของนักเรียนในแต่ละช่วงชั้นด้วย

         การสอนให้นักเรียนได้เรียนการจัดทำาโครงงานนั้นอกจากจะมีคุณค่าทางด้านการฝึกให้นักเรียนมีความรู้ ความชำานาญและมี


ความมั่นใจ ในการนำาเอาวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเองแล้ว ยังให้คุณค่าอื่นๆ คือ


1. รูจักตอบปัญหาโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไม่เป็นคนที่หลงเชื่อ
     ้


งมงายไร้เหตุผล


2. ได้ศึกษาค้นคว้า หาความรู้ในเรื่องที่ตนสนใจได้อย่างลึกซึ้งกว่าการสอน


ของครู
3. ทำาให้นักเรียนได้แสดงความสามารถพิเศษของตนเอง


4. ทำาให้นักเรียนสนใจเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้นๆ มากยิ่งขึ้น

5. นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์




ประเภทของโครงงาน

      เนื่องจากโครงงาน คือ การแก้ปัญหาหรือข้อสงสัยของนักเรียน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ถ้าเนื้อหาหรือข้อสงสัยตรง

กับกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด ก็จัดเป็นโครงงานในกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้นๆ จึงแบ่งโครงงานตามการได้มาซึ่งคำาตอบของกระบวนการทาง


วิทยาศาสตร์ออกเป็น 4 ประเภท คือ


1. โครงงานประเภทสำารวจและรวบรวมข้อมูล


2. โครงงานประเภททดลอง


3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์


4. โครงงานประเภททฤษฎี




โครงงานประเภทสำารวจและรวบรวมข้อมูล

โครงงานประเภทนี้ ผู้ทำาโครงงานเพียงต้องการสำารวจและรวบรวมข้อมูล แล้วนำาข้อมูลเหล่านั้นมาจำาแนกหมวดหมู่และนำาเสนอในรูป


แบบต่างๆ เพื่อให้เห็นลักษณะหรือความสัมพันธ์ในเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน


การสำารวจและรวบรวมข้อมูลอาจทำาได้หลายรูปแบบแล้วแต่กลุ่มสาระการเรียนรู้นั้นๆ เช่น


๔ สำารวจคำาราชาศัพท์ในกลุ่มสาระการเรียนรูภาษาไทย
                                         ้


๔ สำารวจชื่อพืชเศรษฐกิจของจังหวัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา


และวัฒนธรรม


๔ สำารวจคำาศัพท์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ


๔ สำารวจชนิดของกีฬาท้องถิ่นในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา


๔ สำารวจวิธีบวกเลขที่ชาวบ้านนิยมใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ในการทำาโครงงานประเภทสำารวจข้อมูลไม่จำาเป็นต้องมีตัวแปรเข้ามาเกี่ยวข้องนักเรียนเพียงแต่สำารวจรวบรวมข้อมูลที่ได้ แล้วนำาข้อมูล


ที่ได้มาจัดให้เป็นหมวดหมู่และนำาเสนอ ก็ถือว่าเป็นการสำารวจรวบรวมข้อมูลแล้ว




โครงงานประเภททดลอง


ในการทำาโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งมี 4 ชนิด คือ
1. ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมายถึงเหตุ ของการทดลองนั้นๆ


2. ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น


3. ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆ กัน มิฉะนั้นจะมีผลทำาให้ตัวแปรตามเปลี่ยนไป

4. ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆ แล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผลแทรกซ้อน ทำาให้ผการทดลอง


ผิดไป แต่ก็แก้ไขได้โดยการตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป


ตัวอย่างเช่น นักเรียนต้องการศึกษาว่า กระดาษชนิดใดสามารถพับเครื่องร่อนและปาได้ไกลที่สุด


ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ชนิดของกระดาษ


ตัวแปรตาม คือ ระยะทางที่กระดาษเคลื่อนที่ได้


ตัวแปรควบคุม คือ แรงที่ใช้ปากระดาษ ความสูงของระยะที่ปา

ตัวแปรแทรกซ้อน คือ บางครั้งในขณะปามีลมพัดเข้ามา ซึ่งจะทำาให้ข้อมูลผิดพลาด เป็นต้น




โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์

โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นการนำาความรู้ที่มีอยู่มาประดิษฐ์หรือสร้างสิ่งใหม่ๆ ขึ้นมา ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากมาย ผุเขียนจะ
                                                                                                                        ้

รวมถึงการเขียนหนังสือ แต่งเพลง สร้างบทละครและอื่นๆ ไว้ในโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ด้วย เช่น การประดิษฐ์ไม้ปิงปองแบบใหม่

การหาวัสดุมาติดไม้ปิงปองแล้วตีได้ดีขึ้น การแต่งบทประพันธ์ การเขียนหนังสือประกอบการเรียนแทนหนังสือเรียนที่ใช้กันอยู่ การออก


ข้อสอบเพื่อให้เพื่อนๆ ใช้สอบแทนข้อสอบที่ครูออกข้อสอบ เป็นต้น




โครงงานประเภททฤษฎี

โครงงานประเภททฤษฎี เป็นการใช้จินตนาการของตนเองมาอธิบายหลักการหรือแนวความคิดใหม่ๆ ซึ่งอาจอธิบายในรูปของสูตรหรือ


สมการ หรืออธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นและไม่สามารถอธิบายได้โดยหลักการเดิมๆ

การทำาโครงงานประเภทนี้ ผูทำาโครงงานจะต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี จึงสามารถอธิบายได้อย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ จึงไม่
                         ้


เหมาะที่จะทำาในระดับนักเรียนมากนัก


I ขั้นตอนในการสอนโครงงาน


1. การเลือกเรื่องที่จะให้นักเรียนทำาโครงงาน

การที่ครูจะสอนนักเรียนโดยบอกความรู้ให้นักเรียนหรือให้นักเรียนฝึกหาความรู้จากปฏิบัติการ (LAB) เดิมๆ เสมอไปคงจะไม่ถูกต้องนัก


ครูควรจะสอนให้นักเรียนได้รับกระบวนการหาความรู้หรือที่เรียกว่า ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งก็ควรจะเป็นการสอนด้วยโครงงาน

การเลือกหัวข้อโครงงานให้นักเรียนศึกษาง่ายที่สุด คือ ให้นักเรียนไปสำารวจรวบรวมข้อมูลจากเรื่องที่เราจะสอนนักเรียน ตัวอย่างโครง


งาน


- รวบรวมลักษณะทั่วไป ส่วนประกอบและบริเวณที่ขึ้นของพืชรอบๆตัว
- รวบรวมความสัมพันธ์ระหว่างคน สัตว์ และพืช


- รวบรวมคำาราชาศัพท์ที่มีใช้ในชีวิตประจำาวัน


- รวบรวมลักษณะของเปลือกโลก


- รวบรวมคำาศัพท์ภาษาอังกฤษจากสินค้า


2. ออกแบบการทำางาน

ครูอาจจะนำาหัวเรื่องที่เขียนไว้ให้นักเรียนเลือกหัวเรื่องที่จะศึกษา แล้วนำาหัวเรื่องที่เราต้องการสอนมาวิเคราะห์ และควรมีแนววิเคราะห์


ของผู้สอนเอง แต่อาจใช้แบบวิเคราะห์ตรงๆ ได้ดังนี้ คือ


1. ชื่อเรื่อง


2. ผูทำาโครงงาน
     ้


3. ปัญหาหรือเหตุจูงใจในการทำางาน


4. ตัวแปร (ถ้ามี) ประกอบด้วย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม


5. ผลที่คาดว่าจะได้รบ
                    ั


6. แหล่งข้อมูลที่นักเรียนจะศึกษา


7. ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษากี่วัน และศึกษาช่วงเวลาใด

8. นักเรียนต้องใช้วัสดุอุปกรณ์และค่าใช้จ่ายใดบ้าง หาจากแหล่งใด




การลงมือทำาโครงงาน


มีขั้นตอนการศึกษาค้นคว้าอย่างไร ทำาอย่างไร เก็บรวบรวมข้อมูลอย่างไร




การเขียนรายงาน

นักเรียนเขียนรายงานการทำาโครงงาน ในรายงานการทำาโครงงานอาจเขียนตามหัวข้อที่กำาหนด หรือมีสิ่งอื่นที่ต้องการบอให้ทราบ ซึ่ง


สามารถปรับเปลี่ยนได้




การนำาเสนอโครงงาน

การนำาเสนอโครงงานเป็นขั้นตอนที่สำาคัญ เพราะสะท้อนการทำางานของนักเรียน ความรูความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่ทำา การตอบข้อซัก
                                                                            ้

ถาม บุคลิกท่าทาง ท่วงท่า วาจา ไหวพริบปฏิภาณ นักเรียนควรได้รับการฝึกบุคลิกภาพในการนำาเสนอให้สง่าผ่าเผย พร้อมทั้งฝึก


นักเรียนให้เป็นผู้ฟังที่มีมารยาทในการฟังด้วย
การวัดผล ประเมินผล

ประเมินผลการทำางาน โดยการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำางาน วัดผลตัวความรู้โดยการซักถาม หรือวิธีการอื่นๆ ควรให้นักเรียนมี


การประเมินตนเอง ประเมินโดยเพื่อน ครู และผู้ปกครอง หรือบุคคลอื่นๆ ที่มาเยี่ยมชม




บทบาทของครูที่ปรึกษาโครงงาน


1. ใช้วิธีการต่างๆ ที่จะกระตุ้นให้นักเรียนคิดหัวข้อโครงงาน


2. จัดหาสิ่งอำานวยความสะดวก วัสดุอปกรณ์ในการทำางาน
                                  ุ


3. ติดตามการทำางานอย่างใกล้ชิด เด็กวัยประถมศึกษาควรคำานึงถึงความปลอดภัยเป็นสิ่ง


สำาคัญ


4. ให้กำาลังใจในกรณีที่ล้มเหลว ควรแก้ปัญหาต่อไป


5. ชี้แนะแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ ผูรู้ เอกสารต่างๆ ในการศึกษาค้นคว้า
                                    ้

6. ประเมินผลงาน ส่งผลงานเข้าร่วมประกวด จัดเวทีให้แสดงความรู้ ความสามารถ




การนำาเสนอผลงานโครงงาน

การให้นักเรียนผู้ทำาโครงงานได้เสนอผลงาน เป็นการเผยแพร่ผลงาน กิจกรรมนี้จะส่งเสริมให้นักเรียนมีความกล้าแสดงออก เชื่อมั่นใน


ผลงาน ตอบข้อซักถามของผู้สนใจได้ การเสนอผลงานมีหลายลักษณะ คือ

1. บรรยายประกอบแผ่นใส สไลด์ Power point


2. บรรยายประกอบแผงโครงงาน


3. จัดนิทรรศการ




แนวการประเมินผลโครงงาน


1. ความคิดสร้างสรรค์


2. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์


3. การนำาเสนอด้วยวาจา


4. การตอบคำาถาม


5. แผงโครงงาน การนำาเสนอ




การเขียนรายงานโครงงาน
การเขียนรายงานโครงงาน เป็นการเสนอผลงานที่นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้ามาโดยตลอดจนงานเสร็จสมบูรณ์ หัวข้อในการเขียนโครง


    งานมีดังนี้


    1. ชื่อโครงงาน


    2. ชื่อผู้ทำาโครงงาน / โรงเรียน / พ.ศ. ที่จัดทำา


    3. ชื่อครูทปรึกษา
               ี่

    4. บทคัดย่อ (บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ประกอบด้วย เรื่อง / วัตถุประสงค์ / วิธการศึกษา / สรุปผล)
                                                                            ี

    5. กิตติกรรมประกาศ (แสดงความขอบคุณบุคคล หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ)


    6. ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน


    7. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า


    8. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า


    9. วิธการดำาเนินการ
          ี


    10.ผลการศึกษาค้นคว้า


    11.สรุปผล


    12.ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ

    13.เอกสารอ้างอิง

    http://www.tet2.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=437156&Ntype=3




    ความหมายของโครงงาน — Document Transcript
•          1. ความหมายของโครงงานโครงงาน
    (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้
    ผู้เรียนได้ทาการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วย
    ตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความ
    สนใจ หรือหลายๆสิ่งที่อยากรู้คาตอบให้ลึกซึ้ง
    เรียนรู้ในเรื่องนั้นๆให้มากขึ้น โดยอาศัย
    กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนกา
    รอื่นๆไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบ โดยมีครูผู้สอน
    คอยกระตุ้นแนะนาและให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียน
    อย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา
    ค้นคว้า ดาเนินงานตามแผน กาหนดขั้นตอนการ
ดาเนินงานและการนาเสนอผลงาน ซึ่งอาจทาเป็น
    บุคคลหรือเป็นกลุ่มมีการวางแผนในการศึกษา
    อย่างละเอียด ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ จนได้
    ข้อสรุปหรือผลสรุปที่เป็นคาตอบในเรื่องนั้นๆที่มา :
    http://www.thaigoodview.com/library/contest
    2551/tech04/22/standard/p01.html สิบค้นเมื่อ
    17 กรกฎาคม พ.ศ.2555 ความสาคัญของโครง
    งาน โครงงานเป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการ
    (Process) โดยให้อิสระกับนักเรียนเป็นผู้คิดค้น
    ขึ้นมาเองว่าจะทาโครงงานอะไร มีการวางแผน
    และลงมือปฏิบัติตามแผนงานที่วางเอาไว้ โดย
    อาศัยเครื่องมือ เครื่องจัก วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ หรือ
    เท่าที่จะหาได้ภายใต้การแนะนา กระตุ้นความคิด
    และกระตุ้นการทางานจากครูหรือผู้เชี่ยวชาญ ดัง
    นั้น การเขียนโครงงาน หรือวิชาโครงงานจึงเป็นิว
    ชาที่มุ่งให้นักเรียนได้เลือกทากิจกรรมตามความ
    สนใจและความถนัดของตนเองอย่างแท้จริง ความ
    สาคัญของโครงงานจึงอยู่ที่การเป็นกิจกรรมการ
    เรียนการสอนที่ 1) เปิดโอกาสให้นักเรียนได้
    คิดค้นเอง 2) นักเรียนได้วางแผนการทางานเอง
    3) นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติโครงงานด้วยตนเอง 4)
    ได้นาเสนอโครงงาน 5) ได้ร่วมกาหนดแนวทาง
    วัดผลด้วยตนเที่มา :
    http://www.lks.ac.th/anchalee/tec51.ht
    m สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2555

    http://www.slideshare.net/rachayasmn/ss-13662594




    ความหมายและความสำา คัญ ของโครงงาน — Document Transcript

•            1. ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสาคัญของโครง
    งาน
    ----------------------------------------------------------------------------
    ให้นักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วค้นหาความหมายและความ
สาคัญ ของโครงงานจากแหล่งข้อมูล (ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต)
    แล้วบันทึกลงกระดาษขนาด A4 ที่เตรียมมาพร้อมเขียน แหล่งทีมา    ่
    หรือ Address ของ website ที่นักเรียนค้นหาข้อมูลเหล่านั้นด้วย
    พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ตามขั้นตอนต่อไปนี้ - คัดเลือกหัวข้อที่
    สนใจ - ศึกษาค้นคว้าเอกสาร - จัดทาข้อเสนอโครงงาน - พัฒนา
    โครงงาน - จัดทารายงาน - นาเสนอและเผยแพร่ความหมายและ
    ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มี
    ผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคม ปัจจุบันเทคโนโลยีด้าน
    นี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเรื่องยากที่ประชาชนจะ
    คอยติดตามความก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นการศึกษา
    เทคโนโลยี ของคอมพิวเตอร์ จึงต้องศึกษาหลักการและเนื้อหาพื้น
    ฐานเป็นสาคัญ การศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งจาเป็น
    เสมือนกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คอมพิวเตอร์ได้
    เปลี่ยนแปลงโลกของเราในด้านต่างๆ มากมาย ได้แก่ 1. สังคมโดย
    ส่วนใหญ่เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศ 2.
    การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ มักขึ้นอยู่กับข้อมูลซึงได้จากระบบ
                                                    ่
    คอมพิวเตอร์ 3. คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญแทนเครื่อง
    มืออื่นๆ ในอดีต เช่น เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลขเป็นต้น 4.
    คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการออกแบบสถานการณ์หรือปัญหาที่ซับ
    ซ้อนต่างๆ 5. คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในงานติดต่อ
    สื่อสารของโลกปัจจุบัน การศึกษาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีขึ้น
    เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในวิทยาการคอมพิวเตอร์
    และมีความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมได้ การจัดทาโครงงาน
    คอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่ทาให้ผู้เรียน สามารถบรรลุเป้าหมายนี้ได้
    อย่างสมบูรณ์ จุดมุ่งหมายที่สาคัญประการหนึ่งของการเรียน การ
    สอน คอมพิวเตอร์ ในโรงเรียน คือ การทีผู้เรียนได้มีโอกาสนาความ
                                               ่
    รู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คดค้น หรือ
                                                            ิ
    ค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง ซึงวิธีการที่มีประสิทธิภาพมาก
                                          ่
    วิธีหนึ่งคือการทาโครงงานคอมพิวเตอร์

•             2. โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นการใช้คอมพิวเตอร์และอุปก
    รณ์อื่นๆ ในการศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่างๆเพื่อนาผลงานที่ได้มา
    ประยุกต์ใช้งานจริง หรือเพื่อใช้ช่วยสร้างสื่อเสริมการเรียนการสอน
    ให้มี ประสิทธิภาพยิงขึ้น โครงงานคอมพิวเตอร์จงเป็นกิจกรรมทาง
                            ่                        ึ
    วิทยาศาสตร์ทช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะการใช้เครื่อง
                       ี่
    คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ พร้อมทั้งเครื่องมือต่างๆในการแก้
    ปัญหา รวมทังการพัฒนาเจตคติในการสร้างผลงาน โครงงาน
                     ้
    คอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ผู้เรียนสามารถศึกษาปัญหาที่ตน
    สนใจ ซึงอาจเป็นปัญหาที่ต้องใช้ความรู้ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มา
                ่
    ผสมผสานกัน ซึงบางโครงงานอาจต้องใช้ความรู้อื่นๆ มาร่วมด้วย
                          ่
    โดยผู้เรียนจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม
    หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครง
    งาน โครงงานบางเรื่องอาจต้องการวัสดุอุปกรณ์นอกเหนือจากที่มี
    อยู่ ซึ่งผู้เรียนจะต้องพัฒนาขึ้นหรือดัดแปลงเพื่อให้ใช้งานได้ตรง
    กับความต้องการ โดยในการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์จะอยู่
    ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของผู้สอน และผู้ทรงคุณวุฒิด้าน
    ต่างๆ การทาโครงงานและการจัดงานแสดงโครงงานคอมพิวเตอร์
    จะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้ผู้เรียนมีความรู้ความชานาญ และมี
    ทักษะในการนาระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์
คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเองดังที่ได้กล่าวมาแล้ว
และยังมีคุณค่าอื่นๆ อีกดังต่อไปนี้ • เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนา
และแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง • เปิดโอกาสให้ผู้
เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่ผู้เรียนสนใจได้ลึกซึ้ง
กว่าการเรียนในห้องตามปกติ • ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด
การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทังการสื่อสารระหว่างกัน • กระตุ้น
                                   ้
ให้ผู้เรียนมีความสนใจในการศึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
มีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้ • ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้
ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ • สร้างความสัมพันธ์
ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและชุมชน รวมทังส่งเสริมให้ชุมชนสนใจ
                                          ้
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น • สร้างสานึกและ
ความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเองที่มา :
http://kroosuveera.blogspot.com/2011/09/blog-post_13.html
สืบค้นเมื่อ 16 กรกฏาคม 2555

http://www.slideshare.net/jaytuntaruch/ss-13650623



รูป แบบการทำา โครงงาน

ตัวอย่างรูปแบบการเขียนโครงงาน ( หน้าปก )
โครงงานเรื่อง...................................................
คณะผู้จัดทำา
1..................................รหัสประจำาตัว
นักศึกษา......................................
2..................................รหัสประจำาตัว
นักศึกษา......................................
3..................................รหัสประจำาตัว
นักศึกษา......................................
4..................................รหัสประจำาตัว
นักศึกษา......................................
5..................................รหัสประจำาตัว
นักศึกษา......................................
อาจารย์ที่ปรึกษา .............................................
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานวิชา...............................
ระดับ...............................
ศูนย์การเรียนชุมชน.........................................
ศูนย์บริการการศึกษานอกและการศึกษาตามอัธยาศัยเขต
บางแค
ภาคเรียนที่............................ปีการ
ศึกษา...............................


เนื้อหา (รูปเล่ม)
ชื่อโครงงาน.......................................
หลักการและเหตุผล
.....................................................................................................
.
.....................................................................................................
.
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.
วัตถุประสงค์
.....................................................................................................
.
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.
เป้าหมายของโครงงาน
.....................................................................................................
..
.....................................................................................................
..
.....................................................................................................
..
.....................................................................................................
..
.....................................................................................................
..
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำาเนินโครงงาน
.....................................................................................................
..
.....................................................................................................
...
.....................................................................................................
..
.....................................................................................................
..
.....................................................................................................
..
ขั้นตอนการดำาเนินโครงงาน
.....................................................................................................
..
.....................................................................................................
.
.....................................................................................................
.
.....................................................................................................
.
วิธีทำา
.....................................................................................................
..
.....................................................................................................
.
.....................................................................................................
..
.....................................................................................................
..
.....................................................................................................
..
ปัญหาในการดำาเนินงาน
.....................................................................................................
...
.....................................................................................................
...
การแก้ปัญหา
.....................................................................................................
...
.....................................................................................................
...
สถานที่ดำาเนินโครงงาน
.....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
ระยะเวลาการดำาเนินโครงงาน
ครั้งที่
1...................................................................................................
.
.....................................................................................................
...........
.....................................................................................................
..........
ครั้งที่
2 ..................................................................................................
.....................................................................................................
...........
.....................................................................................................
..........
ครั้งที่
3...................................................................................................
.....................................................................................................
..........
.....................................................................................................
..........
ครั้งที่
4...................................................................................................
.....................................................................................................
...........
.....................................................................................................
...........
ครั้งที่
5...................................................................................................
.
.....................................................................................................
............
.....................................................................................................
............
ค่าใช้จ่ายในการดำาเนินโครงงาน
.....................................................................................................
............
.....................................................................................................
............
.....................................................................................................
.............
.....................................................................................................
.............
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
.....................................................................................................
..............
.....................................................................................................
.............
.....................................................................................................
................
.....................................................................................................
................
                             ภาพประกอบขั้น ตอนการทำา โครงงาน
                             (ใช้ภ าพขนาดจัม โบ้ 5-6 ภาพ )
ผู้รับผิดชอบโครงงาน
1.ชื่อ............................................................รหัส
นักศึกษา....................................
2.ชื่อ............................................................รหัส
นักศึกษา...................................
3.ชื่อ............................................................รหัส
นักศึกษา...................................
4.ชื่อ............................................................รหัส
นักศึกษา...................................
5.ชื่อ............................................................รหัส
นักศึกษา...................................
  ที่ปรึกษาโครงงานอาจารย์.................................................
http://www.bangkhae-nfe.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539152855

ความสำา คัญ ของโครงงาน


ความสำา คัญ ของโครงงาน

       เสริมสร้างประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ส่งผลทำา ให้เกิดความริเริ่มสร้างสร
ศึกษา อีกทั้งโครงงานที่ตนเองสนใจยังก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่กว้างขวาง เป็นการประสานงานทางว

          ตัว บ่ง ชี้ก ารเรีย นการสอนที่เ น้น ผู้เ รีย นเป็น สำา คัญ

       ศู น ย์ พั ฒ นาการเรี ย นการสอนสำา นั ก งานการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ได้ พั ฒ นาตั ว บ่ ง ชี้ ก ารเรี ย
เรียน 9 ข้อและตัวบ่งชี้การสอนของครู 10 ข้อดังนี้



ตัว บ่ง ชี้ก ารเรีย นของผู้เ รีย น

         1. ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงสัมพันธ์กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

         2. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจนค้นพบความถนัดและวิธีการของตนเอง

         3. ผู้เรียนทำากิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม

         4. ผู้เรียนฝึกคิดหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการ ได้แสดงออกอย่างชัดเจนและมีเหต

         5. ผู้เรียนได้รับการเสริมแรงให้ค้นคว้าหาคำาตอบ แก้ปัญหาทั้งด้วยตนเองและร่วมกับเพื่อน

         6. ผู้เรียนได้ฝึกค้นคว้า รวบรวมข้อมูลและสร้างสรรค์ความรู้ด้วยตนเอง

         7. ผู้เรียนเลือกทำากิจกรรมตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจอย่างมีความสุข

         8. ผู้เรียนฝึกตนเองให้มีวินัยและมีความรับผิดชอบในการทำางาน

         9. ผู้เรียนฝึกประเมิน ปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่น และสนใจใฝ่หาความรู้อย่างต่อเนื่อ

ตัว บ่ง ชี้ก ารสอนของครู
1. ครูเตรียมการสอนทั้งเนื้อหาและวิธีการ

         2. ครูจัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่ปลุกเร้า จูงใจและเสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

         3. ครูเอาใจใส่นักเรียนเป็นรายบุคคลและแสดงความเมตตาต่อนักเรียนอย่างทั่วถึง

         4. ครูจัดกิจกรรมและสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้แสดงออกและคิดอย่างสร้างสรรค์

         5. ครูสงเสริมให้ผู้เรียนฝึกคิด ฝึกทำาและฝึกปรับปรุงตนเอง
                ่

         6. ครูสงเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่มสังเกตข้อดีและปรับปรุงข้อด้อยของผู้เรียน
                ่

         7. ครูใช้สื่อเพื่อฝึกการคิด การแก้ปัญหา และการค้นพบความรู้

         8. ครูให้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและเชื่อมโยงกับประสบการณ์จริง

         9. ครูฝึกฝนกิริยามารยาทและวินัยตามวิถีวัฒนธรรมไทย

         10. ครูสังเกตและประเมินพัฒนาการของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
https://sites.google.com/site/krutermsaksuwan/home/keiyw-kab-khru-teim-sakdi/khwam-ru-
reuxng/khwam-hmay-khxng-khorng-ngan

More Related Content

What's hot

วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...Gritiga Soothorn
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
โครงงานน้ำยากัดสนิมจากมะเขือเทศ
โครงงานน้ำยากัดสนิมจากมะเขือเทศโครงงานน้ำยากัดสนิมจากมะเขือเทศ
โครงงานน้ำยากัดสนิมจากมะเขือเทศCgame Umum
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองChainarong Maharak
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมbankfai1330
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลpeesartwit
 
กิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพ
กิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพกิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพ
กิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพkannsuwannatat
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2Thanawut Rattanadon
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 

What's hot (20)

วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
โครงงานน้ำยากัดสนิมจากมะเขือเทศ
โครงงานน้ำยากัดสนิมจากมะเขือเทศโครงงานน้ำยากัดสนิมจากมะเขือเทศ
โครงงานน้ำยากัดสนิมจากมะเขือเทศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูล
 
กิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพ
กิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพกิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพ
กิจกรรมที่1 โครงงาน ปัญหารถติดในกรุงเทพ
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 

Similar to ใบงาน2

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3bussayamas1618
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะPiyamas Songtronge
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)Khon Kaen University
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)suparada
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1Piyamas Songtronge
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม natjira
 
โครงงานคอม 2557 608
โครงงานคอม  2557 608 โครงงานคอม  2557 608
โครงงานคอม 2557 608 Kalanyu Tamdee
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611Tanawan Janrasa
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่ายaom08
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่ายaom08
 
3ขอบข่ายประเภท
3ขอบข่ายประเภท3ขอบข่ายประเภท
3ขอบข่ายประเภทMookda Phiansoongnern
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะPiyamas Songtronge
 

Similar to ใบงาน2 (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม 2557 608
โครงงานคอม  2557 608 โครงงานคอม  2557 608
โครงงานคอม 2557 608
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่าย
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่าย
 
3ขอบข่ายประเภท
3ขอบข่ายประเภท3ขอบข่ายประเภท
3ขอบข่ายประเภท
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะ
 

ใบงาน2

  • 1. ความหมายของโครงงาน โครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทำาการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความ สามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นๆ ไปใช้ในการศึกษาหาคำาตอบ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนำาและให้คำาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดำาเนินงาน ตามแผน กำาหนดขั้นตอนการดำาเนินงานและการนำาเสนอผลงาน ซึ่งอาจทำาเป็นบุคคลหรือเป็นกลุ่ม โครงงาน คือ การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือหลายๆสิ่งที่อยากรู้คำาตอบให้ลึกซึ้ง หรือเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆให้มากขึ้น โดยใช้กระบวนการ วิธีการที่ศึกษาอย่างมีระบบ เป็นขั้นตอน มีการวางแผนในการศึกษาอย่างละเอียด ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ จนได้ข้อสรุปหรือผลสรุปที่เป็นคำาตอบในเรื่องนั้นๆ หลักการของโครงงาน * เน้นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง * ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษาค้นคว้าเอง * ลงมือปฏิบัติเอง * นำาเสนอโครงงานเอง * ร่วมกำาหนดแนวทางวัดผลและประเมินผล จุดมุ่งหมายของการทำาโครงงาน * เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเอง * เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงออกซึ่งความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ * เพื่อให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เช่น รู้จักทำางานร่วมกับบุคคลอื่น มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรับผิดชอบฯ * เพื่อให้ผู้เรียนใช้ความรู้และประสบการณ์เลือกทำาโครงงานตามความสนใจ ประเภทของโครงงาน ประเภทโครงงาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. โครงงานตามสาระการเรีย นรู้ เป็นการใช้บูรณาการร่วมกับการเรียนรู้ ทักษะและเป็นพืนฐานในการกำาหนดโครงงาน ้ และปฏิบัติ 2. โครงงานตามความสนใจ เป็นโครงงานที่ผู้เรียนกำาหนดขั้นตอน ความถนัด ความสนใจ ความต้องการ โดยใช้ทักษะ ความรู้ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆมาบูรณาการเป็นโครงงานและปฏิบัติ สามารถแบ่งได้ 4 รูปแบบ ตามวัตถุประสงค์ 1. โครงงานที่เป็นการสำารวจ รวบรวมข้อมูล 2. โครงงานที่เป็นการศึกษาค้นคว้า ทดลอง 3. โครงงานที่เป็นการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ ๆ ในการพัฒนาผลงาน 4. โครงงานที่เป็นการสร้างประดิษฐ์ คิดค้น 1. โครงงานที่เ ป็น การสำา รวจ รวบรวมข้อ มูล เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ในการรวบรวมข้อมูล เรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วนำาข้อมูลนั้นมาจำาแนกเป็นหมวดหมู่ ในรูปแบบ
  • 2. ที่เหมาะสม ข้อมูลที่ได้จะนำาไปปรับปรุงพัฒนาผลงาน ส่งเสริมผลผลิตให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น ข้อมูลดังกล่าว อาจมีผู้จัดทำา ขึ้นแล้ว แต่มีการเปลี่ยนแปลง จึงต้องมีการจัดทำาใหม่เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของผู้ศึกษาโครง งาน โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วย แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก เช่น * การสำารวจแหล่งเรียนรู้ในชุมชน * การสำารวจงานบริการและสถานประกอบการในท้องถิ่น 2. โครงงานทีเ ป็น การศึก ษาค้น คว้า ทดลอง ่ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ โดยศึกษาหลักการและออกแบบการค้นคว้า ใน รูปแบบการทดลองเพื่อยืนยันหลักการ ทฤษฎี เพื่อศึกษาหาแนวทางในการเพิ่มคุณค่า และการใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น เช่น * การปลูกพืชโคยไม่ใช้สารเคมี * การทำาขนมอบชนิดต่าง ๆ โดยใช้วัสดุในท้องถิ่น * การควบคุมการเจริญเติบโตของต้นไม้ประเภทเถา * การศึกษาสูตรเครื่องดื่มที่ผลิตจากธัญญพืช 3. โครงงานทีเ ป็น การศึก ษาทฤษฎี หลัก การ หรือ แนวคิด ใหม่ๆ ่ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้ หรือหลักการใหม่ๆ เกียวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ยังไม่มีใครเคยคิด หรือคิด ่ ขัดแย้ง หรือขยายจากของเดิมที่มีอยู่ จากเนื้อหาวิชาการ หลักการ ทฤษฎีต่าง ๆ นำามาปรับปรุง พัฒนา ให้สอดคล้องมี ความชัดเจน มีผลงานที่เป็นรูปธรรม ซึ่งต้องผ่านการพิสูจน์อย่างมีหลักการและเชื่อถือได้ เช่น * การใช้สมุนไพรในการปราบศัตรูพืช * การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการถนอมอาหาร และปรุงอาหาร * เกษตรแบบผสมผสาน * เทคนิคการแก้โจทย์ปัญหา 4.โครงงานที่เ ป็น การสร้า งประดิษ ฐ์ คิด ค้น เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ คือ การนำาความรู้ทฤษฎี หลักการ มาประยุกต์ใช้ โดยประดิษฐ์เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ เพื่อประโยชน์ต่างๆ หรืออาจเป็นการสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือปรับปรุงของเดิมให้ดีขึ้นใช้ประโยชน์ได้มาก ยิ่งขึ้น เช่น * การประดิษฐ์เครื่องควบคุมการรดนำ้า * การประดิษฐ์เครื่องรับวิทยุ * การประดิษฐ์ของชำาร่วย * การออกแบบเสื้อผ้า ส่ว นประกอบของการเขีย นรายงาน 1. ชือโครงงาน ่ 2. ชือผู้จัดทำาโครงงาน/โรงเรียน/วันเดือนปีที่จัดทำา ่ 3. ชืออาจารย์ที่ปรึกษา ่ 4. บทคัดย่อ บอกเค้าโครงย่อยๆประกอบด้วย เรื่อง....วัตถุประสงค์......วิธการศึกษาและสรุปผล ี 5. กิตติกรรมประกาศ (แสดงความขอบคุณ บุคคล หรือหน่วยงาน ที่มีส่วนในการให้ความช่วยเหลือ ในดำาเนินโครงงาน)
  • 3. 6. ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน 7. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 8. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) 9. วิธีดำาเนินการ 10. สรุปผลการศึกษาค้นคว้า 11. อภิปรายผล / ประโยชน์ / ข้อเสนอแนะ 12. เอกสารอ้างอิง http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/tech04/22/standard/p01.html การเขีย นโครงงาน โครงงานหมายถึง กิจกรรมทีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วย ่ ตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือ กระบวนการอื่นใดไปใช้ในการศึกษาหาคำาตอบในเรื่องนั้นๆ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนำาและ ให้คำาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดำาเนินการ วางแผน กำาหนดขั้นตอนการดำาเนินงาน โดยทั่วๆ ไป การทำาโครงงานสามารถทำาได้ทุกระดับการศึกษา ซึ่ง อาจทำาเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน อาจเป็นโครงงานเล็กๆ ที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนหรือเป็นโครงงานใหญ่ที่มีความยากและซับซ้อนขึ้นก็ได้ ๑. ประเภทของโครงงาน โครงงานสามารถแบ่งตามลักษณะของกิจกรรมได้ ๔ ประเภท ดังนี้ ๑.๑ โครงงานประเภทสำา รวจ โครงงานประเภทสำารวจ เป็นโครงงานประเภทเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อหาสาเหตุของปัญหา หรือสำารวจความคิดเห็น ข้อมูลที่รวบรวมได้บางอย่างอาจเป็นปัญหาที่นำาไปสู่การทดลองหรือค้นพบ สาเหตุของปัญหาที่ต้องหาวิธีแก้ไขปรับปรุงร่วมกัน เช่น โครงงานการสำารวจคำาที่มักเขียนผิด โครง งานสำารวจการใช้คำาคะนองในหนังสือพิมพ์ เป็นต้น ๑.๒ โครงงานประเภทการทดลอง โครงงานประเภทการทดลอง เป็นโครงงานที่ต้องออกแบบทดลอง เพื่อการศึกษาผลการ ทดลองว่าเป็นไปตามที่ตั้งสมมติฐานไว้หรือไม่ โครงงานประเภทนี้ต้องสรุปความรู้หรือผลการทดลอง เป็นหลักการหรือแนวทางการปฏิบัติไว้ เช่น โครงงานการทดลองยากันยุงจากพืชสมุนไพร โครง งานการทดลองปลูกพืชสวนครัวโดยใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ๑.๓ โครงงานประเภทสิง ประดิษ ฐ์ ่ โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นโครงงานที่ประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์เข้าสู่ กระบวนการปฏิบัติ โดยอาศัยเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อประดิษฐ์ชิ้นงานใหม่ อาจเป็นของใช้ เครื่องประดับจากวัสดุเหลือใช้ หรือนำาวัสดุท้องถิ่นที่มีมากมายมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น โครง งานการประดิษฐ์เครื่องจักสานจากผักตบชวา โครงงานการประดิษฐ์เครื่องช่วยสอนวิชาภาษา อังกฤษ เป็นต้น ๑.๔ โครงงานประเภททฤษฎี
  • 4. โครงงานประเภททฤษฎี เป็นโครงงานที่มีลักษณะเป็นการหาความรู้ใหม่ โดยการรวบรวม ข้อมูลและนำามาวิเคราะห์จากสถิติแล้วอภิปราย หรือเป็นโครงงานที่ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกิดจากข้อ สงสัย อาจเป็นการนำาบทเรียนมาขยายเพื่อศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมให้ได้ความรู้ในแง่มมที่กว้างและลึก ุ กว่าเดิม เช่น โครงงานการศึกษาคำาซ้อนในวรรณคดีร้อยแก้ว โครงงานการศึกษาข้อคิดจากเรื่อง พระมโหสถชาดก เป็นต้น ๒. ขัน ตอนการทำา โครงงาน ้ การทำาโครงงานมีขั้นตอนการปฏิบติ ดังนี้ ั ๒.๑ การคิด และการเลือ กหัว เรือ ง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วย ่ ตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทำาไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คำาถามหรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควร เฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทำาจากอะไร การกำาหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจหลาย แหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยาย ทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับ บุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ ควรคำานึงถึงประเด็นต่อ ไปนี้ - ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน - วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ - งบประมาณ - ระยะเวลา - ความปลอดภัย - แหล่งความรู้ ๒.๒ การวางแผน การวางแผนการทำาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการ วางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดำาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนำาเสนอต่อ ผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดำาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครง งาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทำาโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วย หัวข้อต่อไปนี้ ๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง ๒) ชื่อผู้ทำาโครงงาน ๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทำาโครงงานเรื่องนี้ มี ความสำาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องทีทำาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ ่ ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทำาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้ อื่นทำาไว้อย่างไร หรือเป็นการทำาซำ้าเพื่อตรวจสอบผล ๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอก ขอบเขตของงานที่จะทำาได้ชัดเจนขึ้น ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคำาตอบหรือคำาอธิบายที่คาดไว้ล่วง
  • 5. หน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่ สำาคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการดำาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความ สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย ๗) วิธีดำาเนินงานและขั้นตอนการดำาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลองอะไร อย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จำาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง ๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกำาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดำาเนินงานใน แต่ละขั้นตอน ๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๐) เอกสารอ้างอิง ๒.๓ การดำา เนิน งาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อ ไปก็เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนทีระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทำาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียม ่ วัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คำานึงถึงความประหยัดและ ปลอดภัยในการทำางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทำาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหา และข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน ๒.๔ การเขีย นรายงาน การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึง แนวคิด วิธีการดำาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ทีเกี่ยวกับโครงงานนั้น ่ การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสำาคัญๆ ทั้งหมด ของโครงงาน ๒.๕ การนำา เสนอผลงาน การนำาเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทำาโครงงานและเข้าใจถึงผลงานนั้น การนำาเสนอผลงานอาจทำาได้หลายรูปแบบ ขึนอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา ้ เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์ จำาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคำาพูด หรือการ รายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่งสำาคัญคือ พยายามทำาให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจ ของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา ๓. การเขีย นรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนำาเสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียน ได้ศึกษาค้นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การกำาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัว เหมือนกันทุกโครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงาน และระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่ว นปกและส่ว นต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย ๑) ชื่อโครงงาน ๒) ชื่อผู้ทำาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จดทำา ั ๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ๔) คำานำา ๕) สารบัญ
  • 6. ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) ๗) บทคัดย่อสั้นๆ ทีบอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการ ่ ศึกษา ระยะเวลา และสรุปผล ๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ หรือมีส่วนเกี่ยวข้อง ๒. ส่ว นเนื้อ เรือ ง ่ ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย ๑) บทนำา บอกความเป็นมา ความสำาคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการ เลือกหัวข้อโครงงาน ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า ๔) การดำาเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดำาเนินงานเป็นไปตาม หัวข้อเรื่อง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คำาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กำาหนด ดังตัวอย่างการเขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้ ในแผนผังโครงงานทำาให้เห็นระบบการทำางานอย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผนการทำางาน จะเห็นได้ว่าสิ่งทีต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคำาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็ ่ จะเรียงลำาดับทีละหัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจาก หัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหาคำาตอบ การตอบคำาถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล ๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคำาตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ ต้องการทราบ ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่ ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจำากัดหรือปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน ๓. ส่ว นท้า ย ส่วนท้าย ประกอบด้วย ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตำารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สำานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี. คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี. หน้า. ๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์ http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic=24.0
  • 7. โครงงานคือ อะไร โครงงาน คือ งานวิจัยเล็กๆสำาหรับนักเรียน เป็นการแก้ปัญหาหรือข้อสงสัย หาคำาตอบโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หากเนื้อหา หรือข้อสงสัยเป็นไปตามกลุ่มสาระการเรียนรูใด จะเรียกว่าโครงงานในกลุ่มสาระนั้นๆ ้ สำาหรับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ คือ 1. เมื่อนักเรียนเกิดปัญหา 2. นักเรียนก็ตอบปัญหาชั่วคราว (สมมุติฐาน) 3. นักเรียนจะต้องออกแบบการทดลอง เพื่อพิสูจน์ปัญหาว่าจริงหรือไม่ 4. ทำาการทดลอง หรือศึกษาค้นคว้าเพื่อสรุปผล 4.1 ถ้าคำาตอบไม่ตรงกับสมมุติฐาน ก็ตั้งสมมุติฐานใหม่ และทำาข้อ 3 ข้อ 4 จนเป็นจริง 4.2 เมื่อคำาตอบตรงกับสมมุติฐาน ก็จะทำาให้ได้รับความรู้ใหม่ และเกิดคำาถามใหม่ 5. นำาผลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ ในการที่นักเรียนจะทำาโครงงานในกลุ่มสาระใด นักเรียนจะเป็นผู้ที่เลือกหัวข้อที่จะศึกษาค้นคว้า ดำาเนินการวางแผน ออกแบบ ประดิษฐ์ สำารวจ ทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูล รวมทั้งการแปรผล สรุปผล และการเสนอผลงาน โดยตัวนักเรียนเอง อาจารย์ที่ปรึกษาเป็น เพียงผูดูแลและให้คำาปรึกษาเท่านั้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง กิจกรรมที่จัดว่าเป็นกิจกรรมโครงงานจะต้องประกอบด้วย ้ 1. เป็นกิจกรรมที่มีเนื้อหาสาระตามกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้นๆ 2. นักเรียนจะต้องเป็นผู้ริเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ตามความสนใจและระดับความสามารถของนักเรียนแต่ละวัย 3. เป็นกิจกรรมที่มีการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เข้าไปช่วยในการศึกษาค้นคว้า เพื่อตอบปัญหาที่สงสัย 4. นักเรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษาค้นคว้า ตลอดจนดำาเนินงานเก็บรวบรวมข้อมูล หรือประดิษฐ์คิดค้น รวมทั้งแปรผล สรุปผล และ เสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีครูอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเท่านั้น ในการทำาโครงงานในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ควรจะมีระยะเวลา และวิธีการที่ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อนนัก และควรเป็นไปตามระดับ สติปัญญาของนักเรียนในแต่ละช่วงชั้นด้วย การสอนให้นักเรียนได้เรียนการจัดทำาโครงงานนั้นอกจากจะมีคุณค่าทางด้านการฝึกให้นักเรียนมีความรู้ ความชำานาญและมี ความมั่นใจ ในการนำาเอาวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเองแล้ว ยังให้คุณค่าอื่นๆ คือ 1. รูจักตอบปัญหาโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไม่เป็นคนที่หลงเชื่อ ้ งมงายไร้เหตุผล 2. ได้ศึกษาค้นคว้า หาความรู้ในเรื่องที่ตนสนใจได้อย่างลึกซึ้งกว่าการสอน ของครู
  • 8. 3. ทำาให้นักเรียนได้แสดงความสามารถพิเศษของตนเอง 4. ทำาให้นักเรียนสนใจเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้นๆ มากยิ่งขึ้น 5. นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ประเภทของโครงงาน เนื่องจากโครงงาน คือ การแก้ปัญหาหรือข้อสงสัยของนักเรียน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ถ้าเนื้อหาหรือข้อสงสัยตรง กับกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด ก็จัดเป็นโครงงานในกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้นๆ จึงแบ่งโครงงานตามการได้มาซึ่งคำาตอบของกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ออกเป็น 4 ประเภท คือ 1. โครงงานประเภทสำารวจและรวบรวมข้อมูล 2. โครงงานประเภททดลอง 3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ 4. โครงงานประเภททฤษฎี โครงงานประเภทสำารวจและรวบรวมข้อมูล โครงงานประเภทนี้ ผู้ทำาโครงงานเพียงต้องการสำารวจและรวบรวมข้อมูล แล้วนำาข้อมูลเหล่านั้นมาจำาแนกหมวดหมู่และนำาเสนอในรูป แบบต่างๆ เพื่อให้เห็นลักษณะหรือความสัมพันธ์ในเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน การสำารวจและรวบรวมข้อมูลอาจทำาได้หลายรูปแบบแล้วแต่กลุ่มสาระการเรียนรู้นั้นๆ เช่น ๔ สำารวจคำาราชาศัพท์ในกลุ่มสาระการเรียนรูภาษาไทย ้ ๔ สำารวจชื่อพืชเศรษฐกิจของจังหวัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔ สำารวจคำาศัพท์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ๔ สำารวจชนิดของกีฬาท้องถิ่นในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ สำารวจวิธีบวกเลขที่ชาวบ้านนิยมใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ในการทำาโครงงานประเภทสำารวจข้อมูลไม่จำาเป็นต้องมีตัวแปรเข้ามาเกี่ยวข้องนักเรียนเพียงแต่สำารวจรวบรวมข้อมูลที่ได้ แล้วนำาข้อมูล ที่ได้มาจัดให้เป็นหมวดหมู่และนำาเสนอ ก็ถือว่าเป็นการสำารวจรวบรวมข้อมูลแล้ว โครงงานประเภททดลอง ในการทำาโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งมี 4 ชนิด คือ
  • 9. 1. ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมายถึงเหตุ ของการทดลองนั้นๆ 2. ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น 3. ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆ กัน มิฉะนั้นจะมีผลทำาให้ตัวแปรตามเปลี่ยนไป 4. ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆ แล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผลแทรกซ้อน ทำาให้ผการทดลอง ผิดไป แต่ก็แก้ไขได้โดยการตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป ตัวอย่างเช่น นักเรียนต้องการศึกษาว่า กระดาษชนิดใดสามารถพับเครื่องร่อนและปาได้ไกลที่สุด ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ชนิดของกระดาษ ตัวแปรตาม คือ ระยะทางที่กระดาษเคลื่อนที่ได้ ตัวแปรควบคุม คือ แรงที่ใช้ปากระดาษ ความสูงของระยะที่ปา ตัวแปรแทรกซ้อน คือ บางครั้งในขณะปามีลมพัดเข้ามา ซึ่งจะทำาให้ข้อมูลผิดพลาด เป็นต้น โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นการนำาความรู้ที่มีอยู่มาประดิษฐ์หรือสร้างสิ่งใหม่ๆ ขึ้นมา ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากมาย ผุเขียนจะ ้ รวมถึงการเขียนหนังสือ แต่งเพลง สร้างบทละครและอื่นๆ ไว้ในโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ด้วย เช่น การประดิษฐ์ไม้ปิงปองแบบใหม่ การหาวัสดุมาติดไม้ปิงปองแล้วตีได้ดีขึ้น การแต่งบทประพันธ์ การเขียนหนังสือประกอบการเรียนแทนหนังสือเรียนที่ใช้กันอยู่ การออก ข้อสอบเพื่อให้เพื่อนๆ ใช้สอบแทนข้อสอบที่ครูออกข้อสอบ เป็นต้น โครงงานประเภททฤษฎี โครงงานประเภททฤษฎี เป็นการใช้จินตนาการของตนเองมาอธิบายหลักการหรือแนวความคิดใหม่ๆ ซึ่งอาจอธิบายในรูปของสูตรหรือ สมการ หรืออธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นและไม่สามารถอธิบายได้โดยหลักการเดิมๆ การทำาโครงงานประเภทนี้ ผูทำาโครงงานจะต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี จึงสามารถอธิบายได้อย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ จึงไม่ ้ เหมาะที่จะทำาในระดับนักเรียนมากนัก I ขั้นตอนในการสอนโครงงาน 1. การเลือกเรื่องที่จะให้นักเรียนทำาโครงงาน การที่ครูจะสอนนักเรียนโดยบอกความรู้ให้นักเรียนหรือให้นักเรียนฝึกหาความรู้จากปฏิบัติการ (LAB) เดิมๆ เสมอไปคงจะไม่ถูกต้องนัก ครูควรจะสอนให้นักเรียนได้รับกระบวนการหาความรู้หรือที่เรียกว่า ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งก็ควรจะเป็นการสอนด้วยโครงงาน การเลือกหัวข้อโครงงานให้นักเรียนศึกษาง่ายที่สุด คือ ให้นักเรียนไปสำารวจรวบรวมข้อมูลจากเรื่องที่เราจะสอนนักเรียน ตัวอย่างโครง งาน - รวบรวมลักษณะทั่วไป ส่วนประกอบและบริเวณที่ขึ้นของพืชรอบๆตัว
  • 10. - รวบรวมความสัมพันธ์ระหว่างคน สัตว์ และพืช - รวบรวมคำาราชาศัพท์ที่มีใช้ในชีวิตประจำาวัน - รวบรวมลักษณะของเปลือกโลก - รวบรวมคำาศัพท์ภาษาอังกฤษจากสินค้า 2. ออกแบบการทำางาน ครูอาจจะนำาหัวเรื่องที่เขียนไว้ให้นักเรียนเลือกหัวเรื่องที่จะศึกษา แล้วนำาหัวเรื่องที่เราต้องการสอนมาวิเคราะห์ และควรมีแนววิเคราะห์ ของผู้สอนเอง แต่อาจใช้แบบวิเคราะห์ตรงๆ ได้ดังนี้ คือ 1. ชื่อเรื่อง 2. ผูทำาโครงงาน ้ 3. ปัญหาหรือเหตุจูงใจในการทำางาน 4. ตัวแปร (ถ้ามี) ประกอบด้วย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม 5. ผลที่คาดว่าจะได้รบ ั 6. แหล่งข้อมูลที่นักเรียนจะศึกษา 7. ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษากี่วัน และศึกษาช่วงเวลาใด 8. นักเรียนต้องใช้วัสดุอุปกรณ์และค่าใช้จ่ายใดบ้าง หาจากแหล่งใด การลงมือทำาโครงงาน มีขั้นตอนการศึกษาค้นคว้าอย่างไร ทำาอย่างไร เก็บรวบรวมข้อมูลอย่างไร การเขียนรายงาน นักเรียนเขียนรายงานการทำาโครงงาน ในรายงานการทำาโครงงานอาจเขียนตามหัวข้อที่กำาหนด หรือมีสิ่งอื่นที่ต้องการบอให้ทราบ ซึ่ง สามารถปรับเปลี่ยนได้ การนำาเสนอโครงงาน การนำาเสนอโครงงานเป็นขั้นตอนที่สำาคัญ เพราะสะท้อนการทำางานของนักเรียน ความรูความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่ทำา การตอบข้อซัก ้ ถาม บุคลิกท่าทาง ท่วงท่า วาจา ไหวพริบปฏิภาณ นักเรียนควรได้รับการฝึกบุคลิกภาพในการนำาเสนอให้สง่าผ่าเผย พร้อมทั้งฝึก นักเรียนให้เป็นผู้ฟังที่มีมารยาทในการฟังด้วย
  • 11. การวัดผล ประเมินผล ประเมินผลการทำางาน โดยการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำางาน วัดผลตัวความรู้โดยการซักถาม หรือวิธีการอื่นๆ ควรให้นักเรียนมี การประเมินตนเอง ประเมินโดยเพื่อน ครู และผู้ปกครอง หรือบุคคลอื่นๆ ที่มาเยี่ยมชม บทบาทของครูที่ปรึกษาโครงงาน 1. ใช้วิธีการต่างๆ ที่จะกระตุ้นให้นักเรียนคิดหัวข้อโครงงาน 2. จัดหาสิ่งอำานวยความสะดวก วัสดุอปกรณ์ในการทำางาน ุ 3. ติดตามการทำางานอย่างใกล้ชิด เด็กวัยประถมศึกษาควรคำานึงถึงความปลอดภัยเป็นสิ่ง สำาคัญ 4. ให้กำาลังใจในกรณีที่ล้มเหลว ควรแก้ปัญหาต่อไป 5. ชี้แนะแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ ผูรู้ เอกสารต่างๆ ในการศึกษาค้นคว้า ้ 6. ประเมินผลงาน ส่งผลงานเข้าร่วมประกวด จัดเวทีให้แสดงความรู้ ความสามารถ การนำาเสนอผลงานโครงงาน การให้นักเรียนผู้ทำาโครงงานได้เสนอผลงาน เป็นการเผยแพร่ผลงาน กิจกรรมนี้จะส่งเสริมให้นักเรียนมีความกล้าแสดงออก เชื่อมั่นใน ผลงาน ตอบข้อซักถามของผู้สนใจได้ การเสนอผลงานมีหลายลักษณะ คือ 1. บรรยายประกอบแผ่นใส สไลด์ Power point 2. บรรยายประกอบแผงโครงงาน 3. จัดนิทรรศการ แนวการประเมินผลโครงงาน 1. ความคิดสร้างสรรค์ 2. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. การนำาเสนอด้วยวาจา 4. การตอบคำาถาม 5. แผงโครงงาน การนำาเสนอ การเขียนรายงานโครงงาน
  • 12. การเขียนรายงานโครงงาน เป็นการเสนอผลงานที่นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้ามาโดยตลอดจนงานเสร็จสมบูรณ์ หัวข้อในการเขียนโครง งานมีดังนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทำาโครงงาน / โรงเรียน / พ.ศ. ที่จัดทำา 3. ชื่อครูทปรึกษา ี่ 4. บทคัดย่อ (บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ประกอบด้วย เรื่อง / วัตถุประสงค์ / วิธการศึกษา / สรุปผล) ี 5. กิตติกรรมประกาศ (แสดงความขอบคุณบุคคล หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ) 6. ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน 7. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 8. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า 9. วิธการดำาเนินการ ี 10.ผลการศึกษาค้นคว้า 11.สรุปผล 12.ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ 13.เอกสารอ้างอิง http://www.tet2.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=437156&Ntype=3 ความหมายของโครงงาน — Document Transcript • 1. ความหมายของโครงงานโครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทาการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วย ตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความ สนใจ หรือหลายๆสิ่งที่อยากรู้คาตอบให้ลึกซึ้ง เรียนรู้ในเรื่องนั้นๆให้มากขึ้น โดยอาศัย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนกา รอื่นๆไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบ โดยมีครูผู้สอน คอยกระตุ้นแนะนาและให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียน อย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดาเนินงานตามแผน กาหนดขั้นตอนการ
  • 13. ดาเนินงานและการนาเสนอผลงาน ซึ่งอาจทาเป็น บุคคลหรือเป็นกลุ่มมีการวางแผนในการศึกษา อย่างละเอียด ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ จนได้ ข้อสรุปหรือผลสรุปที่เป็นคาตอบในเรื่องนั้นๆที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest 2551/tech04/22/standard/p01.html สิบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2555 ความสาคัญของโครง งาน โครงงานเป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการ (Process) โดยให้อิสระกับนักเรียนเป็นผู้คิดค้น ขึ้นมาเองว่าจะทาโครงงานอะไร มีการวางแผน และลงมือปฏิบัติตามแผนงานที่วางเอาไว้ โดย อาศัยเครื่องมือ เครื่องจัก วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ หรือ เท่าที่จะหาได้ภายใต้การแนะนา กระตุ้นความคิด และกระตุ้นการทางานจากครูหรือผู้เชี่ยวชาญ ดัง นั้น การเขียนโครงงาน หรือวิชาโครงงานจึงเป็นิว ชาที่มุ่งให้นักเรียนได้เลือกทากิจกรรมตามความ สนใจและความถนัดของตนเองอย่างแท้จริง ความ สาคัญของโครงงานจึงอยู่ที่การเป็นกิจกรรมการ เรียนการสอนที่ 1) เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ คิดค้นเอง 2) นักเรียนได้วางแผนการทางานเอง 3) นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติโครงงานด้วยตนเอง 4) ได้นาเสนอโครงงาน 5) ได้ร่วมกาหนดแนวทาง วัดผลด้วยตนเที่มา : http://www.lks.ac.th/anchalee/tec51.ht m สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2555 http://www.slideshare.net/rachayasmn/ss-13662594 ความหมายและความสำา คัญ ของโครงงาน — Document Transcript • 1. ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสาคัญของโครง งาน ---------------------------------------------------------------------------- ให้นักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วค้นหาความหมายและความ
  • 14. สาคัญ ของโครงงานจากแหล่งข้อมูล (ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต) แล้วบันทึกลงกระดาษขนาด A4 ที่เตรียมมาพร้อมเขียน แหล่งทีมา ่ หรือ Address ของ website ที่นักเรียนค้นหาข้อมูลเหล่านั้นด้วย พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ตามขั้นตอนต่อไปนี้ - คัดเลือกหัวข้อที่ สนใจ - ศึกษาค้นคว้าเอกสาร - จัดทาข้อเสนอโครงงาน - พัฒนา โครงงาน - จัดทารายงาน - นาเสนอและเผยแพร่ความหมายและ ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มี ผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคม ปัจจุบันเทคโนโลยีด้าน นี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเรื่องยากที่ประชาชนจะ คอยติดตามความก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นการศึกษา เทคโนโลยี ของคอมพิวเตอร์ จึงต้องศึกษาหลักการและเนื้อหาพื้น ฐานเป็นสาคัญ การศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งจาเป็น เสมือนกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คอมพิวเตอร์ได้ เปลี่ยนแปลงโลกของเราในด้านต่างๆ มากมาย ได้แก่ 1. สังคมโดย ส่วนใหญ่เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศ 2. การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ มักขึ้นอยู่กับข้อมูลซึงได้จากระบบ ่ คอมพิวเตอร์ 3. คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญแทนเครื่อง มืออื่นๆ ในอดีต เช่น เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลขเป็นต้น 4. คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการออกแบบสถานการณ์หรือปัญหาที่ซับ ซ้อนต่างๆ 5. คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในงานติดต่อ สื่อสารของโลกปัจจุบัน การศึกษาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีขึ้น เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในวิทยาการคอมพิวเตอร์ และมีความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมได้ การจัดทาโครงงาน คอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่ทาให้ผู้เรียน สามารถบรรลุเป้าหมายนี้ได้ อย่างสมบูรณ์ จุดมุ่งหมายที่สาคัญประการหนึ่งของการเรียน การ สอน คอมพิวเตอร์ ในโรงเรียน คือ การทีผู้เรียนได้มีโอกาสนาความ ่ รู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คดค้น หรือ ิ ค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง ซึงวิธีการที่มีประสิทธิภาพมาก ่ วิธีหนึ่งคือการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ • 2. โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นการใช้คอมพิวเตอร์และอุปก รณ์อื่นๆ ในการศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่างๆเพื่อนาผลงานที่ได้มา ประยุกต์ใช้งานจริง หรือเพื่อใช้ช่วยสร้างสื่อเสริมการเรียนการสอน ให้มี ประสิทธิภาพยิงขึ้น โครงงานคอมพิวเตอร์จงเป็นกิจกรรมทาง ่ ึ วิทยาศาสตร์ทช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะการใช้เครื่อง ี่ คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ พร้อมทั้งเครื่องมือต่างๆในการแก้ ปัญหา รวมทังการพัฒนาเจตคติในการสร้างผลงาน โครงงาน ้ คอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ผู้เรียนสามารถศึกษาปัญหาที่ตน สนใจ ซึงอาจเป็นปัญหาที่ต้องใช้ความรู้ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มา ่ ผสมผสานกัน ซึงบางโครงงานอาจต้องใช้ความรู้อื่นๆ มาร่วมด้วย ่ โดยผู้เรียนจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครง งาน โครงงานบางเรื่องอาจต้องการวัสดุอุปกรณ์นอกเหนือจากที่มี อยู่ ซึ่งผู้เรียนจะต้องพัฒนาขึ้นหรือดัดแปลงเพื่อให้ใช้งานได้ตรง กับความต้องการ โดยในการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์จะอยู่ ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของผู้สอน และผู้ทรงคุณวุฒิด้าน ต่างๆ การทาโครงงานและการจัดงานแสดงโครงงานคอมพิวเตอร์ จะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้ผู้เรียนมีความรู้ความชานาญ และมี ทักษะในการนาระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์
  • 15. คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเองดังที่ได้กล่าวมาแล้ว และยังมีคุณค่าอื่นๆ อีกดังต่อไปนี้ • เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนา และแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง • เปิดโอกาสให้ผู้ เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่ผู้เรียนสนใจได้ลึกซึ้ง กว่าการเรียนในห้องตามปกติ • ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทังการสื่อสารระหว่างกัน • กระตุ้น ้ ให้ผู้เรียนมีความสนใจในการศึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ มีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้ • ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ • สร้างความสัมพันธ์ ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและชุมชน รวมทังส่งเสริมให้ชุมชนสนใจ ้ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น • สร้างสานึกและ ความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเองที่มา : http://kroosuveera.blogspot.com/2011/09/blog-post_13.html สืบค้นเมื่อ 16 กรกฏาคม 2555 http://www.slideshare.net/jaytuntaruch/ss-13650623 รูป แบบการทำา โครงงาน ตัวอย่างรูปแบบการเขียนโครงงาน ( หน้าปก ) โครงงานเรื่อง................................................... คณะผู้จัดทำา 1..................................รหัสประจำาตัว นักศึกษา...................................... 2..................................รหัสประจำาตัว นักศึกษา...................................... 3..................................รหัสประจำาตัว นักศึกษา...................................... 4..................................รหัสประจำาตัว นักศึกษา...................................... 5..................................รหัสประจำาตัว นักศึกษา...................................... อาจารย์ที่ปรึกษา ............................................. รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานวิชา............................... ระดับ............................... ศูนย์การเรียนชุมชน.........................................
  • 16. ศูนย์บริการการศึกษานอกและการศึกษาตามอัธยาศัยเขต บางแค ภาคเรียนที่............................ปีการ ศึกษา............................... เนื้อหา (รูปเล่ม) ชื่อโครงงาน....................................... หลักการและเหตุผล ..................................................................................................... . ..................................................................................................... . ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... . วัตถุประสงค์ ..................................................................................................... . ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... . เป้าหมายของโครงงาน ..................................................................................................... .. ..................................................................................................... .. ..................................................................................................... .. ..................................................................................................... ..
  • 17. ..................................................................................................... .. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำาเนินโครงงาน ..................................................................................................... .. ..................................................................................................... ... ..................................................................................................... .. ..................................................................................................... .. ..................................................................................................... .. ขั้นตอนการดำาเนินโครงงาน ..................................................................................................... .. ..................................................................................................... . ..................................................................................................... . ..................................................................................................... . วิธีทำา ..................................................................................................... .. ..................................................................................................... . ..................................................................................................... .. ..................................................................................................... .. ..................................................................................................... .. ปัญหาในการดำาเนินงาน ..................................................................................................... ...
  • 18. ..................................................................................................... ... การแก้ปัญหา ..................................................................................................... ... ..................................................................................................... ... สถานที่ดำาเนินโครงงาน ..................................................................................................... .................................................................................................... .................................................................................................... ระยะเวลาการดำาเนินโครงงาน ครั้งที่ 1................................................................................................... . ..................................................................................................... ........... ..................................................................................................... .......... ครั้งที่ 2 .................................................................................................. ..................................................................................................... ........... ..................................................................................................... .......... ครั้งที่ 3................................................................................................... ..................................................................................................... .......... ..................................................................................................... .......... ครั้งที่ 4................................................................................................... ..................................................................................................... ........... ..................................................................................................... ...........
  • 19. ครั้งที่ 5................................................................................................... . ..................................................................................................... ............ ..................................................................................................... ............ ค่าใช้จ่ายในการดำาเนินโครงงาน ..................................................................................................... ............ ..................................................................................................... ............ ..................................................................................................... ............. ..................................................................................................... ............. ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ..................................................................................................... .............. ..................................................................................................... ............. ..................................................................................................... ................ ..................................................................................................... ................ ภาพประกอบขั้น ตอนการทำา โครงงาน (ใช้ภ าพขนาดจัม โบ้ 5-6 ภาพ ) ผู้รับผิดชอบโครงงาน 1.ชื่อ............................................................รหัส นักศึกษา.................................... 2.ชื่อ............................................................รหัส นักศึกษา................................... 3.ชื่อ............................................................รหัส นักศึกษา................................... 4.ชื่อ............................................................รหัส นักศึกษา...................................
  • 20. 5.ชื่อ............................................................รหัส นักศึกษา................................... ที่ปรึกษาโครงงานอาจารย์................................................. http://www.bangkhae-nfe.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539152855 ความสำา คัญ ของโครงงาน ความสำา คัญ ของโครงงาน เสริมสร้างประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ส่งผลทำา ให้เกิดความริเริ่มสร้างสร ศึกษา อีกทั้งโครงงานที่ตนเองสนใจยังก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่กว้างขวาง เป็นการประสานงานทางว ตัว บ่ง ชี้ก ารเรีย นการสอนที่เ น้น ผู้เ รีย นเป็น สำา คัญ ศู น ย์ พั ฒ นาการเรี ย นการสอนสำา นั ก งานการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ได้ พั ฒ นาตั ว บ่ ง ชี้ ก ารเรี ย เรียน 9 ข้อและตัวบ่งชี้การสอนของครู 10 ข้อดังนี้ ตัว บ่ง ชี้ก ารเรีย นของผู้เ รีย น 1. ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงสัมพันธ์กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจนค้นพบความถนัดและวิธีการของตนเอง 3. ผู้เรียนทำากิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม 4. ผู้เรียนฝึกคิดหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการ ได้แสดงออกอย่างชัดเจนและมีเหต 5. ผู้เรียนได้รับการเสริมแรงให้ค้นคว้าหาคำาตอบ แก้ปัญหาทั้งด้วยตนเองและร่วมกับเพื่อน 6. ผู้เรียนได้ฝึกค้นคว้า รวบรวมข้อมูลและสร้างสรรค์ความรู้ด้วยตนเอง 7. ผู้เรียนเลือกทำากิจกรรมตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจอย่างมีความสุข 8. ผู้เรียนฝึกตนเองให้มีวินัยและมีความรับผิดชอบในการทำางาน 9. ผู้เรียนฝึกประเมิน ปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่น และสนใจใฝ่หาความรู้อย่างต่อเนื่อ ตัว บ่ง ชี้ก ารสอนของครู
  • 21. 1. ครูเตรียมการสอนทั้งเนื้อหาและวิธีการ 2. ครูจัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่ปลุกเร้า จูงใจและเสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ 3. ครูเอาใจใส่นักเรียนเป็นรายบุคคลและแสดงความเมตตาต่อนักเรียนอย่างทั่วถึง 4. ครูจัดกิจกรรมและสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้แสดงออกและคิดอย่างสร้างสรรค์ 5. ครูสงเสริมให้ผู้เรียนฝึกคิด ฝึกทำาและฝึกปรับปรุงตนเอง ่ 6. ครูสงเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่มสังเกตข้อดีและปรับปรุงข้อด้อยของผู้เรียน ่ 7. ครูใช้สื่อเพื่อฝึกการคิด การแก้ปัญหา และการค้นพบความรู้ 8. ครูให้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและเชื่อมโยงกับประสบการณ์จริง 9. ครูฝึกฝนกิริยามารยาทและวินัยตามวิถีวัฒนธรรมไทย 10. ครูสังเกตและประเมินพัฒนาการของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง https://sites.google.com/site/krutermsaksuwan/home/keiyw-kab-khru-teim-sakdi/khwam-ru- reuxng/khwam-hmay-khxng-khorng-ngan