SlideShare a Scribd company logo
ชื่องานวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เป็นรายหน่วยการเรียนรู้ และเจตคติ
ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังจากจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ภาคเรียนที่ ๒
ปีการศึกษา ๒๕๕๘
ชื่อผู้วิจัย ครูอนุสรา เสนไสย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑ ) เพื่อศึกษาแนวโน้มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เป็น
รายหน่วยการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ๒) เพื่อศึกษาเจตคติทางการเรียน
วิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
โรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ซึ่งได้รับการสอนด้วยวิธีที่หลากหลาย
โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยให้สารวจ หรือทดลอง การสังเกต การบันทึก
ผล และสรุปผลการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสารวจความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ร้อย
ละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลวิจัยสรุปได้ดังนี้
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง เสียงกับการได้ยินเสียง มากที่สุด
รองลงไป ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้า หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง แรงลัพธ์
และแรงเสียดทาน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ความดัน แรงต่างๆ (แรงต่างๆ) และหน่วยการเรียนรู้ที่ ๘
เรื่อง ลมฟ้าอากาศ ตามลาดับ
ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด ได้แก่ นักเรียนรู้สึกชอบสื่อการสอน ชอบ
การทดลองที่ครูสาธิต ชอบการทดลองวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ควรศึกษา ช่วยให้นักเรียนรู้จัก
คิด อ่าน และทางานอย่างมีแบบแผน ความรู้ที่ได้จากวิชาวิทยาศาสตร์สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
จริง
ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับมาก ได้แก่ นักเรียนชอบตอบคาถามด้วยตนเอง ชอบเรียนรู้
จากแผนภาพซึ่งเข้าใจง่าย และคิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เข้าใจได้ง่าย
ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับน้อย ได้แก่ นักเรียนชอบ การเรียนรู้จากแผนภาพเข้าใจง่าย
กว่าเนื้อหาเรียงความ ชอบอ่าน ค้นคว้าความรู้ด้วยตนเองประจา ชอบอ่านเองมากกว่าฟังครูบรรยาย
รักษาระเบียบวินัย และปฏิบัติตามหน้าที่ของตนเองเสม อ ทบทวนความรู้ด้วยตนเองเสมอ รู้สึกง่วงนอน
เมื่อได้เรียนวิทยาศาสตร์ เบื่อหน่ายเมื่อถึงเวลาเรียนวิทยาศาสตร์
ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับน้อยที่สุด ได้แก่ ถ้าเลือกได้นักเรียนจะไม่เลือกเรียนวิชา
วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์มีประโยชน์น้อยที่สุดเมื่อเทียบกับวิชาอื่นๆ นักเรียนเบื่อวิธีการสอน
วิทยาศาสตร์
๒
ชื่องานวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เป็นรายหน่วยการเรียนรู้ และเจตคติ
ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังจากจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ปีการศึกษา ๒๕๕๘
ชื่อผู้วิจัย ครูอนุสรา เสนไสย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เนื้อหา
๑. ความเป็นมาและความสาคัญของงานวิจัย
๒. เอกสารและงานวิจัยอ้างอิง
๓. วิธีดาเนินการวิจัย
๔. ผลการวิจัย
๕. สรุปผลการวิจัย
๓
คานา
แบบการวิจัยฉบับนี้เป็นการทาการวิจัยเพื่อพัฒนาวิธีการสอนวิทยาศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ
แบบทดสอบวัดผลปลายภาคเรียน อีกทั้งยังหาสาเหตุที่ส่งผลให้นักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
โรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น โดยการวิจัยครั้งนี้ได้ออกแบบ กิจกรรม
การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาวิธีการสอนในรายหน่วยการเรียนรู้ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า
นอกจากนี้ผู้วิจัยยังคานึงถึงคุณภาพของข้อสอบที่ใช้ในการวัดผลการเรียนรู้ปลายภาคเรียน จึงทา
การหาคุณภาพข้อสอบเพื่อคัดเลือกข้อสอบที่มีคุณภาพไว้ทดสอบในปีการศึกษาต่อไป
ผู้ทาการวิจัย
อนุสรา เสนไสย
๔
บทที่ ๑
บทนา
๑. ความเป็นมาและความสาคัญของงานวิจัย
จากการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ พบว่า สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น ได้แก่ นักเรียนบางส่วนไม่มี
สมาธิ หรือไม่จดจ่อกับกิจกรรมที่ให้ทา ส่งผลให้นักเรียนกลุ่มนั้นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนน้อย ประกอบ
กับแนวข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีการเปลี่ยนแปลง ค่าคะแนนเฉลี่ยโอเน็ต วิชาวิทยาศาสตร์ จึง
ไม่คงที่ ค่าคะแนนขึ้นลงตามความยากง่ายของข้อสอบในแต่ละปี
สาหรับข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ที่ใช้ในโรงเรียน
มีค่าความยากง่ายคงที่ เนื่องจากใช้ฉบับเดิมจากปีการศึกษาก่อน พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยในการทาข้อสอบ
แต่ละหน่วย มีแนวโน้มคะแนนสูงขึ้นทุกปี เนื่องจาก ครูพยายามพัฒนาเทคนิคการจัดการเรียนรู้ทุกปี
อย่างไรก็ตาม ยังคงมีนักเรียนบางส่วนที่เกิดการเรียนรู้ไม่ทันเพื่อนๆ ในห้อง ครูจึงพยายามจัดทา
สื่อการเรียนรู้ พัฒนาสื่อการเรียนรู้ทุกปี เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนกลุ่มนี้ได้ใช้ความคิด
ครูได้ศึกษาวิจัยค้นคว้าและหาวิธีปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และพัฒนา
แบบทดสอบให้ได้คุณภาพยิ่งขึ้น โดยครูควรศึกษาถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริม
ให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น การจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษายังไม่บรรลุผลเท่าที่ควร ทั้งที่
นักเรียนโรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญในปีการศึกษา ๒๕๕๘ ได้รับการสอนหลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับ
ความสอดคล้องกับเนื้อหาบทเรียน ใน ภาคเรียนที่ ๒ นี้ผู้วิจัยได้สารวจเจตคติ ต่อการเรียนวิทยาศาสตร์
เพื่อจะได้นาไปปรับปรุงวิธีการสอน นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เป็นราย
หน่วยการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
๒. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
๑) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เป็นรายหน่วยการเรียนรู้ ในภาคเรียนที่ ๒ ปี
การศึกษา ๒๕๕๘
๒) เพื่อศึกษาเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเรียนชั้น ป.๕
๓. ขอบเขตการวิจัย
๓.๑ ขอบเขตของเนื้อหา ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน หน่วย
การเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ความดัน แรงต่างๆ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง เสียงกับการได้ยินเสียง หน่วยการ
เรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ และหน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้า
๓.๒ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ปีการศึกษา ๒๕๕๘
๓.๓ ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น ได้แก่ วิธีการจัดการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และเจตคติทางการเรียนวิทยาศาสตร์
๕
๔. คาจากัดความที่ใช้ในการวิจัย
๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการอธิบายความรู้ใน
เนื้อหาวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย ข้อเท็จจริง แนวคิด หลักการ ทฤษฎี และแบบจาลองต่าง ๆ ใน
ระดับลึกและมีทักษะต่าง ๆ ในการปฏิบัติการตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น ตั้งคาถาม ออกแบบ
และวางแผน ตั้งสมมติฐาน เก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล อ่านและตีความหมายผลที่ระดับ
พัฒนาการต่าง ๆ ของนักเรียน
๒. เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์
หลังจากมีประสบการณ์ในการเรียนตามกิจกรรมการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์ที่จัดขึ้น และเป็น
พฤติกรรมที่นักเรียนสนองตอบต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ ไปในทางใดทางหนึ่งหรือลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
ซึ่งประกอบด้วย ความพอใจ ศรัทธา และซาบซึ้ง เห็นคุณค่าและประโยชน์ รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม
และค่านิยมทางวิทยาศาสตร์ โดยวัดได้จากแบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่ง
กาหนดมาตรวัดของคาตอบในแต่ละข้อเป็น ๔ ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างมากที่สุด มาก น้อย และน้อยที่สุด
ผู้ตอบได้คะแนนสูงสุด หมายความว่าเป็นผู้ที่เห็นด้วยอย่างมากเกี่ยวกับรายการที่ประเมิน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ และเจตคติต่อรายบทเรียนเพื่อนาข้อมูลไป
ปรับปรุงเทคนิคการสอนเป็นรายบทเรียน อีกทั้งได้ตรวจหาคุณภาพข้อสอบปลายภาคเพื่อใช้พัฒนา
ข้อสอบในภาคเรียนต่อไป
๖
บทที่ ๒
เอกสารและงานวิจัยอ้างอิง
จากการศึกษา เรื่อง ผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมการทดลองที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนวิทยาศาสตร์ และ เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๕ ผู้ศึกษาค้นคว้าได้
ค้นคว้าจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์
๒. เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์
๓. วิธีสอนวิทยาศาสตร์
๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์
นักวิจัยทางการศึกษา ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ไว้แตกต่างกัน ดังนี้
Van and Frances (๒๐๐๑) ได้ให้ความหมาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ไว้ว่า
หมายถึง ความสามารถในการอธิบาย มีทักษะในการปฏิบัติการ มีลักษณะเป็น แบบแผน และมีความรู้
เชิงกลยุทธ์ (Science achievement defined as declarative, procedural, schematic and
strategic knowledge)
Third International Mathematics and Science Study (TIMSS) ที่รายงานโดย Rice
and Islas (๒๐๐๑) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนไว้ว่า เป็นความรู้
ความสามารถในระดับลึกที่แน่นอนสาหรับนักเรียนทุกคน และที่ระดับพัฒนาการต่าง ๆ (The
documents defined science achievement at certain depths of knowledge and ability for
all students and at different developmental levels)
ในด้านเนื้อหาวิทยาศาสตร์นั้น National Science Education Standards (๒๐๐๗) ได้
กาหนดมาตรฐานเนื้อหาของวิชาวิทยาศาสตร์อยู่ที่ข้อเท็จจริง แนวคิด หลักการ ทฤษฎีและแบบจาลอง ซึ่ง
เป็นสิ่งสาคัญสาหรับนักเรียนทุกคนควรเรียนรู้ เข้าใจ และนาไปใช้ ส่วนด้านทักษะกระบวนการทา ง
วิทยาศาสตร์ได้จากวิธีการศึกษาค้นคว้า เพราะการศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์เป็นหัวใจของ
วิทยาศาสตร์และการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ และพบว่า “การวางพื้นฐานที่ดีทางวิทยาศาสตร์ให้เข้มแข็ง ต้อง
ใช้ทักษะหลาย ๆ อย่างซึ่งประชาชนใช้อยู่ทุก ๆ วัน ” (A sound grounding in science strengthens
many of the skills that people use every day)
Lee and Paik (๒๐๐๐) พบว่า ทักษะที่นักเรียนต้องใช้ คือ ตั้งคาถาม ออกแบบและวางแผน
เพื่ออธิบายคาถามให้กระจ่าง ตั้งและปรับเปลี่ยนสมมติฐาน เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล อ่านและ
ตีความหมายผล สร้างแบบการอภิปรายผลและวางแผนการสรุป และนักเรียนต้องสามารถใช้อุปกรณ์และ
เครื่องมือเพื่อควบคุมดูแลการสืบเสาะหา ความรู้ได้อย่างเหมาะสม
๗
จากการทบทวนวรรณกรรมดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์
หมายถึง ความสามารถในการอธิบายความรู้ในเนื้อหาวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย ข้อเท็จจริง แนวคิด
หลักการ ทฤษฎี และแบบจาลองต่าง ๆ ในระดับลึกและมีทักษะต่าง ๆ ในการปฏิบัติการตามกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ เช่น ตั้งคาถาม ออกแบบและวางแผน ตั้งสมมติฐาน เก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์
ข้อมูล อ่านและตีความหมายผลที่ระดับพัฒนาการต่าง ๆ ของนักเรียน
ประโยชน์ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ สามารถนาไปใช้ได้หลายทาง ดังต่อไปนี้
การศึกษาของ Muller, Stage, and Kinzie (๒๐๐๑) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ใน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถใช้ยืนยันการก้าวสู่มหาวิทยาลัยและอาชีพทางด้านวิทยาศาสตร์ใน
อนาคต ดังนั้น ขณะที่กาลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงเป็นช่วงเวลาที่จะเร้าใจให้นักเรียนเข้า
สู่และคงอยู่ในด้านวิทยาศาสตร์
นอกจากนี้ ระดับของการเตรียมการทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์
ใน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นตัวพยากรณ์ที่ดีในเรื่องความสนใจของนักเรียนในด้านวิทยาศาสตร์
Rhoton (๒๐๐๑) ใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ในการพยากรณ์การศึกษา
วิทยาศาสตร์ของ ประเทศ โดยพบว่า เมื่อใดที่นักเรียนไม่สามารถทาการทดสอบผลสัมฤทธิ์มาตรฐานทาง
วิทยาศาสตร์ได้ ดีและไม่ติดตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ การศึกษา
วิทยาศาสตร์ในประเทศนั้นน่าจะประสบความล้มเหลว
การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่สามารถวัดได้โดยตรง แต่สามารถใช้คะแนนสอบ (test
score) หรือระดับคะแนน เฉลี่ยสะสม (grade) แทนผลสัมฤทธิ์ได้ งานวิจัยที่ใช้คะแนนสอบมาตรฐานหรือ
คะแนนสอบปลายภาคเรียนแทนผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียน เช่น งานวิจัยของ Yuan and
Keeves (๒๐๐๑), Anderman (๑๙๙๘) และ House (๒๐๐๐c) ส่วนงานวิจัยที่ใช้ระดับคะแนนเฉลี่ย
สะสมหรือเกรดแทนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน เช่น งานวิจัยของ House (๒๐๐๐b; ๒๐๐๒a)
และ Hurley (๒๐๐๑) (รายละเอียดดูได้จากการสร้างมาตรวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนัก
เรียน หน้า ๑๐๐-๑๐๑)
นอกจากนี้ จากการศึกษาของ Ransdell, Hawkins, and Adams (๒๐๐๑) ได้ศึกษา การให้
ระดับคะแนนของครูพบว่า ครูให้ระดับคะแนนแก่นักเรียนแต่ละคนขึ้นอยู่กับปัจจัยทางสติปัญญาและ
ความ สามารถ ประมาณร้อยละ ๕๐ -๖๐ ประสิทธิภาพและนิสัยทางการเรียนที่ดี ประมาณร้อยละ ๓๐-
๔๐ และขึ้นอยู่กับโอกาสและสภาพแวดล้อมประมาณร้อยละ ๑๐-๑๕
Van and Frances (๒๐๐๑) ศึกษาพบว่า นักเรียนที่มีร้อยละของการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
สูงกว่า มีแนวโน้มได้รับระดับคะแนนสูงกว่าในวิชาวิทยาศาสตร์
๘
Rich and Walker (๒๐๐๒) ศึกษาพบว่า ร้อยละ ๗๑ ของระดับคะแนนขึ้นอยู่กับผลสัมฤทธิ์
และร้อยละ ๑๖ ขึ้นอยู่กับความพยายามในการเรียน
จากงานวิจัยดังกล่าวข้างต้น ที่ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมหรือคะแนนสอบมีความสัมพันธ์สูงกับ
ผลสัมฤทธิ์
๒. เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์
๒.๑ ความหมายของเจตคติ
คาว่าเจตคติ แปลว่า ความโน้มเอียง บางครั้งก็เรียกว่า “ทัศนคติ” ซึ่งในที่นี้จะถือว่าเป็นการ
กล่าวถึงในที่นี้จะถือว่าเป็นการกล่าวถึงในสิ่งเดียวกัน มีนักการศึกษาได้ให้ความหมาย หรือให้คาจากัด
ความ ดังนี้
เทอร์สโตน (Thurstone อ้างถึงใน สมปอง ม้ายนอุเทศ, ๒๕๔๒, หน้า ๑๑) ได้กล่าวว่าเจตคติเป็น
ระดับความมากน้อยของความรู้สึกในด้านบวกและลบที่มีต่อสิ่งหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นอะไรก็ได้ เช่น สิ่งของ
บทความ บุคคล องค์การ ความคิด ฯลฯ ความรู้สึกเหล่านี้ผู้รู้สึกสามารถบอกความแตกต่างได้ว่าเห็นด้วย
หรือไม่เห็นด้วย
เคนเลอร์ (Kendler อ้างถึงใน อุษณีย์ วรรณจิยี, ๒๕๓๖, หน้า ๗๔) ได้กล่าวว่าเจตคติ คือ ความ
พร้อมของบุคคลที่จะแสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าในสังคมแวดล้อม หรือเป็นความโน้มเอียงที่จะ
แสดงพฤติกรรมที่จะสนับสนุน หรือคัดค้านประสบการณ์บางอย่าง บุคคล สถาบัน ตลอดจนแนวความคิด
บางอย่าง การแสดงออกของเจตคติโดยอาศัยพฤติกรรม แบ่งออกเป็นสองลักษณะ คือ แสดงออกใน
ลักษณะที่เห็นด้วย พึงพอใจหรือชอบกับไม่เห็นด้วย ไม่พึงพอใจ ไม่ชอบ
อัลพอร์ท (Allport อ้างถึงใน จินตนา กุลทัพ, ๒๕๔๐, หน้า ๘) ได้กล่าวว่า เจตคติ หมายถึง
สภาวะความพร้อมของจิตและประสาท อันเกิดจากประสบการณ์เป็นตัวกาหนดทิศทางปฏิกิริยาการ
แสดงออก
โบการ์ดัส (Bogaudus อ้างถึงใน วันชัย มีกลาง, ๒๕๓๐, หน้า ๓๕) ได้กล่าวว่าเจตคติ คือ แนวโน้ม
ของการกระทาที่แสดงต่อหรือต้านบางสิ่งบางอย่างในสภาพแวดล้อม ซึ่งในที่สุดจะกลายเป็นค่านิยม
ทางบวกหรือทางลบต่อสิ่งนั้น
ฟิชบายน์ และไอเซ็น (Fishbein & Ajzen อ้างถึงใน ฉัตรชัย มุระดา, ๒๕๔๐, หน้า ๔๐) ให้คา
นิยามว่า เจตคติต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หมายถึง ผลรวมของการประเมินความเชื่อที่บุคคลมีต่อสิ่งนั้นและเขียน
เป็นแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ทานายพฤติกรรมความตั้งใจของบุคคลได้
สมจิตรา เรืองศรี (๒๕๒๗, หน้า ๙) กล่าวว่า เจตคติ หมายถึง ความรู้สึก เป็นสภาพความพร้อม
ทางจิตใจที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆ ซึ่งจะแสดงออกมาในลักษณะชอบ ไม่ชอบหรือไม่พอใจ เห็นด้วย
ไม่เห็นด้วยเป็นพฤติกรรมทางจิตใจที่ไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง สามารถสรุปพาดพิงจากพฤติกรรม
ภายนอกที่แสดงออก
เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ์ (๒๕๒๗, หน้า ๖๖) ได้กล่าวว่า เจตคติ หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อ
สิ่งต่างๆ อันเป็นผลเนื่องมาจากการเรียนรู้และประสบการณ์ และเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรม
หรือแนวโน้มที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้นๆ ไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง
๙
จากทั้งหมดที่กล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า เจตคติ หมายถึง ความรู้สึกในการตอบสนองต่อสิ่งใดสิ่ง
หนึ่งตามความโน้มเอียงภายในตัวบุคคล
๒.๒ ความหมายของเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์
เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้สึกพอใจ ชอบ หรือความเบื่อหน่ายเกี่ยวกับ
ประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ (อนันต์ จันทร์กวี, ๒๕๒๓: ๖๑)
เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้สึกหรือพฤติกรรมที่แสดงออกต่อวิทยาศาสตร์
ทางด้านต่างๆ ซึ่งจะแสดงออกมา ๒ ทาง คือ (นวลจิตต์ โชตินันท์, ๒๕๒๔: ๙)
๑) เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์เชิงนิรนาม (Positive attitudes toward science) เป็น
พฤติกรรมที่แสดงออกในลักษณะพอใจ ชอบ อยากเรียน อยากเรียน อยากเข้าใกล้สิ่งต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
๒) เจตคติเชิงนิเสธ (Negative attitudes toward science) เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกใน
ลักษณะไม่พอใจ ไม่ชอบ ไม่อยากเข้าใกล้เบื่อหน่ายสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
๒.๓ องค์ประกอบของเจตคติ
เจตคติเป็นระบบที่มีลักษณะมั่นคงอันหนึ่ง ซึ่งประกอบไปด้วยองค์ประกอบ ๓ ประการ ฟรีแมน
(Freeman อ้างถึงใน ศักดิ์ สุนทรเสณี, ๒๕๓๑, หน้า ๔-๕) คือ
๑) องค์ประกอบทางด้านการรู้ (Cognitive Component) เป็นเรื่องของการรู้ของบุคคลในเรื่อง
ใดเรื่องหนึ่ง อาจเป็นการรับรู้เกี่ยวกับวัตถุ สิ่งของ บุคคล หรือเหตุการณ์ต่างๆ ว่ารู้สิ่งต่างๆ ดังกล่าวนั้นได้
อย่างไร รู้ในทางที่ดีหรือไม่ดี ทางบวกหรือทางลบ ซึ่งจะก่อให้เกิดเจตคติขึ้น ถ้าเรารู้สิ่งใดสิ่งหนึ่งในทางที่ดี
เราก็จะมีเจตคติต่อสิ่งนั้นในทางที่ดี และถ้ารู้สิ่งหนึ่งสิ่งใดในทางไม่ดี เราก็จะมีเจตคติไม่ดีต่อสิ่งนั้นด้วย ถ้า
เราไม่รู้จักสิ่งใดเลยเจตคติก็จะไม่เกิดขึ้น หรือไม่มีสิ่งใดในโลก เราก็จะไม่เกิดเจตคติต่อสิ่งใดๆ เลย
๒) องค์ประกอบทางด้านความรู้สึก (Affective Component or Feeling Component) เป็น
องค์ประกอบทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ซึ่งถูกเร้าขึ้นจากการรู้นั้น เมื่อเราเกิดการรู้สิ่งหนึ่งสิ่งใดแล้ว จะ
ทาให้เราเกิดความรู้สึกในทางดีหรือไม่ดี ถ้าเรารู้สึกต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดในทางที่ไม่ดี เราก็จะไม่ชอบหรือไม่
พอใจในสิ่งนั้น ซึ่งความรู้สึกนี้จะทาให้เกิดเจตคติในทางในทางหนึ่ง คือชอบหรือไม่ชอบ ความรู้สิ่งนี้เมื่อ
เกิดขึ้นแล้วจะเปลี่ยนแปลงได้ยากมาก ไม่เหมือนกับความจริง (Fact) ต่างๆ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงได้ยากกว่า
ถ้ามีเหตุผลเพียงพอ
๓) องค์ประกอบทางด้านแนวโน้มในเชิงพฤติกรรมหรือการกระทา (Action Tendency
Component or Behavioral Component) เป็นความพร้อมที่จะตอบสนองต่าสิ่งนั้นๆ ในทางใดทาง
นึ่ง คือพร้อมที่จะสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ หรือในทางทาลายขัดขวาง ต่อสู้ เป็นต้น
๒.๔ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดเจตคติ
การเกิดเจตคตินี้จาเป็นจะต้องพิจารณาถึงส่วนประกอบต่างๆ ด้วยว่า แต่ละส่วนประกอบนั้น
เกิดขึ้นได้อย่างไร เจตคติอาจเกิดได้จาก (อดุลย์ นันท์บัญชา, ๒๕๓๒, หน้า ๒๑-๒๒)
๑) ประสบการณ์ที่บุคคลพบเห็น เกิดอาการประทับใจ
๒) กระบวนกรเรียนรู้ จากการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ ครอบครัว ประเพณี วัฒนธรรม และ
ความเชื่อต่างๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม
๑๐
๓) การเลียนแบบ
๔) อิทธิพลของกลุ่มสังคม
๕) การสรุปตีความจากคุณลักษณะที่ปรากฏว่าน่าจะเป็นอย่างนั้น หรือ น่าจะเป็นอย่างนี้
๖) ความผิดปกติในเรื่องการปรับตัวของคนที่มีสุขภาพจิตไม่สมบูรณ์
สุวิรัช รัตนมณีโชติ (๒๕๓๖, หน้า ๑๓-๑๔) กล่าวว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดเจตคติ ได้แก่
๑) องค์ประกอบด้านตัวบุคคล ( Individual) อายุ ความเจ็บป่วย การศึกษาแล ะบุคลิกภาพที่
ต่างกันย่อมมีผลทาให้เจตคติของบุคคลต่างกันออกไป โดยที่ผู้ที่อายุมากมักจะอนุรักษ์นิยมเมื่อพบกับ
เจตคติใหม่ ผู้ที่มีระดับการศึกษาสูงสามารถพิจารณาสิ่งที่มาชักจูงให้เปลี่ยนเจตคติได้มากกว่าผู้ที่มี
การศึกษาต่ากว่า ผู้ที่มีบุคลิกภาพแบบต่างๆ มีอิทธิพลต่อการชักจูงให้เกิดและยอมรับเจตคติใหม่ได้ต่างกัน
๒) สัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Communication from Others) บุคคลจะเกิดเจตคติเมื่อได้
ติดต่อสื่อความหมายกับผู้อื่น เจตคติของบุคคลมักจะเปลี่ยนไปตามเจตคติของหมู่คณะ เช่น กลุ่มนักเรียน
กลุ่มเพื่อน กลุ่มสังคม กลุ่มอ้างอิง เนื่องจากบุคคลที่มีเจตคติที่เหมือนกันมีโอกาสที่จะทากิจกรรมร่วมกัน
เป็นสาเหตุให้บุคคลมีความคิด ความรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมือนกัน
๓) การได้รับประสบการณ์เฉพาะด้าน (Specific Experience) บุคคลจะเกิดเจตคติต่อสิ่งหนึ่ง
เมื่อได้รับประสบการณ์สิ่งนั้นด้วยตนเอง และรู้สึกประทับใจต่อประสบการณ์นั้นอย่างคงที่และเป็น
เวลานาน ซึ่งอาจจะเป็นความประทับใจในทางบวกหรือทางลบก็ได้
๔) องค์ประกอบของสถาบัน (Institutional Factors) สถาบันทุกสถาบันย่อมมีกฎข้อบังคับ
ระเบียบแบบแผนแนวทางให้บุคคลยึดถือปฏิบัติ บุคคลอาจเกิดเจตคติ เนื่องมาจากอิทธิพลของสถาบันที่
เกี่ยวข้องได้
การที่จะรู้ว่าบุคคลมีเจตคติต่อสิ่งต่างๆ ในทางบวกหรือลบเราสามารถวัดได้โดยการให้บุคคล
ได้แสดงความคิดเห็น ความรู้สึกและพฤติกรรมต่อสิ่งนั้นๆ
๒.๕ เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์
๒.๕.๑ ลักษณะเจตคติทางวิทยาศาสตร์
เจตคติทางวิทยาศาสตร์ไม่เหมือนกับเจตคติของบุคคล ที่แสดงพฤติกรรมต่อสิ่งต่างๆ โดยทั่วไป
เจตคติทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการ (Process) ที่นักวิทยาศาสตร์ได้กระทา เพื่อค้นหาความรู้และให้
ได้มาซึ่งความรู้ที่ถูกต้อง เป็นจริง และเป็นที่ยอมรับ ดังนั้น บุคคลที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์จะต้องเป็น
บุคคลที่มีคุณสมบัติ ดังนี้
๒.๕.๒ คุณลักษณะของบุคคลที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์
๑. เป็นคนที่มีเหตุผล
๑) จะต้องเป็นคนที่ยอมรับ และเชื่อในความสาคัญของเหตุผล
๒) ไม่เชื่อโชคลาง คาทานาย หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ
๓) ค้นหาสาเหตุของปัญหาหรือเหตุการณ์ และหาความสัมพันธ์ของสาเหตุกับผลที่
เกิดขึ้น
๔) ต้องเป็นบุคคลที่สนใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และจะต้องเป็นบุคคลที่
พยายามค้นหาคาตอบว่า ปรากฏการณ์ต่าง ๆ นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร และทาไมจึง
เกิดเหตุการณ์เช่นนั้น
๑๑
๒. เป็นคนที่มีความอยากรู้อยากเห็น
๑) มีความพยายามที่จะเสาะแสวงหาความรู้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ อยู่เสมอ
๒) ตระหนักถึงความสาคัญของการแสวงหาข้อมูลเพิ่มเติมเสมอ
๓) จะต้องเป็นบุคคลที่ชอบซักถาม ค้นหาความรู้โดยวิธีการต่าง ๆ อยู่เสมอ
๓. เป็นบุคคลที่มีใจกว้าง
๑) เป็นบุคคลที่กล้ายอมรับการวิพากษ์วิจารณ์จากบุคคลอื่น
๒) เป็นบุคคลที่จะรับรู้และยอมรับความคิดเห็นใหม่ ๆ อยู่เสมอ
๓) เป็นบุคคลที่เต็มใจที่จะเผยแพร่ความรู้และความคิดให้แก่บุคคลอื่น
๔) ตระหนักและยอมรับข้อจากัดของความรู้ที่ค้นพบในปัจจุบัน
๔. เป็นบุคคลที่มีความซื่อสัตย์ และมีใจเป็นกลาง
๑) เป็นบุคคลที่มีความซื่อตรง อดทน ยุติธรรม และละเอียดรอบคอบ
๒) เป็นบุคคลที่มีความมั่นคง หนักแน่นต่อผลที่ได้จากการพิสูจน์
๓) สังเกตและบันทึกผลต่าง ๆ อย่างตรงไปตรงมา ไม่ลาเอียง และมีอคติ
๕. มีความเพียรพยายาม
๑) ทากิจกรรมที่ได้รับมอบหมายให้เสร็จสมบูรณ์
๒) ไม่ท้อถอยเมื่อผลการทดลองล้มเหลว หรือมีอุปสรรค
๓) มีความตั้งใจแน่วแน่ต่อการค้นหาความรู้
๖. มีความละเอียดรอบคอบ
๑) รู้จักใช้วิจารณญาณก่อนที่จะตัดสินใจใด ๆ
๒) ไม่ยอมรับสิ่งหนึ่งสิ่งใดจนกว่าจะมีการพิสูจน์ที่เชื่อถือได้
๓) หลีกเลี่ยงการตัดสินใจ และการสรุปผลที่ยังไม่มีการวิเคราะห์แล้วเป็นอย่างดี
๒.๖ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ กับจุดมุ่งหมายของการสอนวิทยาศาสตร์
ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ทุกสาขาวิชา ทุกระดับชั้นก็ต้องยึดถือหลักการ
ดังกล่าวเช่นเดียวกัน คือ จะต้องสอนให้ผู้เรียนเจริญงอกงามไปพร้อมกันทั้ง ๓ ด้าน โดยในแต่ละระดับชั้น
หรือแต่ละหลักสูตอาจมีการเน้นหรือกาหนดสัดส่วนที่แตกต่างกันไปบ้างเท่านั้นซึ่งเจตคติที่สาคัญทาง
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์นั้นประกอบไปด้วย
๑) ด้านความรู้ความคิดหรือพุทธิพิสัย (C) เป็นจุดมุ่งหมายที่ต้องการพัฒนา
ทางด้านสติปัญญา ความคิด หรือพัฒนาสมองของผู้เรียนให้เจริญงอกงาม ซึ่งก็คือการสอนให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์ทั้งหลายในส่วนที่เป็น ตัวองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ( Body of
scientific knowledges ) อันได้แก่ ข้อเท็จจริง (Fact) แนวความคิด หรือสังกัป ( Concept )
หลักการหรือกฎ ( Principle & Law ) และ ทฤษฎี (Theory ) ซึ่งจะมีความลึกซึ้ง กว้างขวาง
แตกต่างกันไปตามระดับชั้นหรือหลักสูตร
๒) ด้านความรู้สึก หรือ จิตพิสัย ( A ) เป็นจุดมุ่งหมายที่ต้องการทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาเจริญ
งอกงามในส่วนที่เป็นเรื่องของจิตใจและความรู้สึก ที่สาคัญได้แก่ ความสนใจ ( Interests ) ความ
ซาบซึ้ง (Appreciations ) ค่านิยมและความเชื่อ (Values & Beliefs ) และ เจตคติ ( Attitudes )
๓) ด้านทักษะปฏิบัติ หรือ ปฏิบัติพิสัย ( P ) เป็นจุดมุ่งหมายที่ต้องการพัฒนาให้ผู้เรียนได้
เจริญงอกงาม มีทักษะ ความชานาญในการปฏิบัติ หรือ ทาเป็น
๑๒
๒.๗ การวัดเจตคติ
เจตคติเป็นพฤติกรรมภายในที่มีลักษณะเป็นนามธรรมซึ่งตัวเองเท่านั้นที่ทราบวิธีการวัดเจตคติ
โดยตรงจึงทาไม่ได้ การศึกษาเจตคติทาได้ ๓ วิธี (ศักดิ์ สุนทรเสนณี, ๒๕๓๑, หน้า ๑๖-๑๘) คือ
๑) การสังเกต (Observation) เป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ศึกษาเจตคติโดยใช้ประสาทหูและตาเป็น
สาคัญ การสังเกตเป็นวิธีการศึกษาพฤติกรรมที่แสดงออกของบุคคลที่มีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดแล้วนาข้อมูลที่
สังเกตนั้นไปอนุมานว่าบุคคลนั้นมีเจตคติต่อสิ่งนั้นเป็นอย่างไร
ปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้สังเกตได้รับผลดี ผู้สังเกตต้องมีคุณสมบัติ ๔ ประการดูเรน
(Duren อ้างถึงใน ศักดิ์ สุนทรเสณี, ๒๕๓๑, หน้า ๑๖) คือ
1) มีความใส่ใจต่อสิ่งที่สังเกต (Attention)
2) มีประสาทสัมผัสที่ดี (Sensation)
3) มีการรับรู้ที่ดี (Perception)
4) มีความคิดรวบยอดที่ดี (Conception) สามารถสรุปเรื่องราวได้ถูกต้องและเชื่อถือได้
๒) การให้รายงานตัวเอง (Self-Report) เป็นวิธีศึกษาเจตคติของบุคคลโดยให้บุคคลนั้นเล่า
ความรู้สึกที่มีต่อสิ่งนั้นออกมา เช่น อาจรู้สึกชอบหรือไม่ชอบเห็นว่าดีหรือไม่ดี ซึ่งผู้รายงานตนเอง จะเล่า
หรือบรรยายความรู้สึกนึกคิดของเขาออกมาตามประสบการณ์ และความสามารถที่เขามีอยู่ ซึ่งจะแตกต่าง
กันออกไปในแต่ละบุคคล จากการฟังสิ่งที่เขาบอกเล่าเหล่านี้ก็สามารถที่จะกาหนดค่าคะแนนของเจตคติ
ได้ วิธีการศึกษาเจตคติแบบนี้เป็นวิธีการของเทอร์สโตน ชลิเคอร์ท กัทท์แมน และออสกูดที่ได้พยายาม
สร้างสเกลการวัดเจตคติขึ้น คะแนนที่ได้จากการวัดเจตคติแบบสเกลนี้จัดแบ่งออกเป็นช่วงๆ โดยแต่ละช่วง
จะมีขนาดเท่ากันสามารถที่จะนามาเปรียบเทียบความมากน้อยของเจตคติได้ วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมใช้วัดเจต
คติกันมาก โดยเฉพาะงานวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์
๓) เทคนิคการฉายออก (Projective Techniques) เป็นวิธีวัดเจตคติโดยการให้สร้าง
จินตนาการจากภาพ โดยใช้ภาพเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลนั้นแสดงความคิดเห็นออกมาจะได้สังเกตและวัด
ได้ว่าบุคคลนั้นมีความรู้สึกอย่างไร ซึ่งบุคคลย่อมแสดงออกตามประสบการณ์ที่เขาเคยได้รับมาแต่ละคนจะ
มีการแสดงออกไม่เหมือนกัน
๓. วิธีสอนวิทยาศาสตร์
ภพ เลาหไพบูลย์ (๒๕๔๒: ๑๒๓) กล่าวว่าวิธีสอนหรือกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ที่นิยมใช้มีหลายวิธี แต่ไม่มีข้อมูลยืนยันว่ามีวิธีสอนหรือกิจกรรมใดที่ดีที่สุด เหมาะสมกับทุก
สถานการณ์ ดังนั้นครูวิทยาศาสตร์จึงต้องใช้ดุลยพินิจในการเลือกใช้วิธีสอนที่เหมาะสมกับความสามารถ
ของนักเรียน เนื้อหาวิชา ตลอดจนอุปกรณ์การสอนที่มีอยู่ วิธีสอนวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับว่ามี
ความเหมาะสมกับธรรมชาติของวิชามีดังนี้
๓.๑ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ( Inquiry method) เป็นการสอนที่เน้นกระบวนการ
แสวงหาความรู้ที่จะช่วยให้นักเรียนได้ค้นพบความจริงต่าง ๆ ด้วยตนเอง ให้นักเรียนมีประสบการณ์ตรงใน
การเรียนรู้เนื้อหาวิชา ได้กล่าวถึงกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ว่าแบ่งออกเป็น ๕ ขั้นตอน ดังนี้
๓.๑.๑ สร้างสถานการณ์หรือปัญหา
๓.๑.๒ ตั้งสมมติฐาน
๑๓
๓.๑.๓ ออกแบบการทดลอง
๓.๑.๔ ทดสอบสมมติฐานโดยการทดลอง
๓.๑.๕ ได้ข้อสรุปหรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ
บทบาทหน้าที่ของครูในการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ คือเป็นผู้สร้างสถานการณ์ที่เปิด
โอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตัวนักเรียนเอง เป็นผู้จัดหาวัสดุ อุปกรณ์เพื่ออานวย
ความสะดวกในการศึกษาค้นคว้า เป็นผู้ถามคาถามต่าง ๆ ที่จะช่วยนาทางให้นักเรียนค้นหาความรู้ต่าง ๆ
เทคนิคการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ว่ามี ๓ แนวทาง คือ แนวทางการใช้เหตุผล แนว
ทางการใช้การค้นพบ และแนวทางการใช้การทดลองการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แนวทางการใช้
เหตุผล ครูต้องชี้นานักเรียนให้สรุปเป็นหลักการทั่วไปได้โดยการใช้เหตุผล ซึ่งครูต้องใช้คาถามที่เหมาะสม
และต้องเลือกแรงจูงใจที่เหมาะสมการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แนวทางการใช้การค้นพบ มี ๒
แนวทาง คือ
๑) การสอนโดยใช้แนวทางการค้นพบที่ไม่แนะแนวทาง ครูเป็นผู้จัดหาวัสดุอุปกรณ์ให้
นักเรียนแล้วให้นักเรียนได้จัดกระทากับวัสดุอุปกรณ์ โดยไม่ต้องแนะแนวทางอะไรในการใช้วัสดุอุปกรณ์
นักเรียนอาจสืบเสาะหาความรู้ในปัญหาที่ต่างกัน ครูทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาและเสนอแนะให้นักเรียนคิด
๒) การสอนโดยใช้แนวทางการค้นพบที่แนะแนวทาง เป็นการสอนที่ครูแนะแนวทางการ
สืบเสาะหาความรู้ให้นักเรียน เพื่อให้นักเรียนค้นพบปัญหาที่คล้ายคลึงกัน มีประสบการณ์ที่เหมือนกันการ
สอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แนวทางการทดลอง เป็นการสอนโดยใช้การทดลองในการพิสูจน์
ข้อความหรือสมมติฐานว่าเป็นจริง และหาแนวทางที่จะใช้ในการทดลองเพื่อทดสอบข้อความนั้นโดยมี
ขั้นตอนคือ เลือกและตั้งปัญหา ตั้งสมมติฐาน และวางแผนการทดสอบ
๓.๒ การสอนแบบค้นพบ (Discovery method)
การค้นพบ และการสืบเสาะหาความรู้ ว่านักการศึกษาจานวนมากใช้คาสองคานี้ใน
ความหมายเดียวกัน คาริน และซันด์ ได้ให้ความหมายของการค้นพบว่า การค้นพบจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ
บุคคลได้ใช้กระบวนการคิดอย่างมากกระบวนการที่ใช้ความรู้ความคิดในการค้นพบ เช่น การสังเกต การ
จาแนกประเภท การวัด การพยากรณ์การอธิบาย การลงความคิดเห็น เป็นต้น ในการสอนแบบค้นพบเป็น
การสอนที่เน้นกระบวนการตอบสนองของนักเรียนต่อสถานการณ์ต่างๆ ด้วยตนเอง บทบาทของครูเป็นผู้
ช่วยเหลือ และเป็นที่ปรึกษาของนักเรียน ทักษะและความชานาญในการจัดกิจกรรมการสอนของครูเป็น
สิ่งที่ช่วยให้การสอนแบบค้นพบประสบความสาเร็จ
๓.๓ การสอนแบบสาธิต (Demonstration)
การสาธิตว่าเป็นการจัดแสดงประสบการณ์การกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งหน้าชั้น โดยครู
นักเรียนคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มนักเรียนก็ได้ เป็นการทดลองซึ่งให้ผลการทดลองที่ไม่ทราบมาก่อนหรือเป็น
การทดสอบเพื่อยืนยันสิ่งที่ทราบมาแล้ว มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงการทดลองเทคนิควิธีการแลกระบวนการ
ต่างๆให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในเนื้อหาวิชาและกระบวนการไปพร้อม ๆ กัน ในการสอนครูต้อง
พิจารณาว่าจะสอนแบบสาธิตแบบบอกความรู้ ที่ครูพยายามแนะนาบอกความรู้ให้นักเรียน หรือสอนแบบ
สาธิตแบบการค้นพบ ที่ครูพยายามให้นักเรียนค้นพบคาตอบด้วยตนเอง
๓.๔ การสอนแบบทดลอง (Experimental method)
การทดลองกับการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการว่ามีความหมายใกล้เคียงกัน การทดลอง
ส่วนใหญ่ที่นักเรียนทาเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการ
ทดลอง เป็นการจัดประสบการณ์ในการทางานให้นักเรียนตามขั้นตอนของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑๔
ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอน คือขั้นกาหนดปัญหา ขั้นตั้งสมมติฐาน ขั้นทดลองและสังเกต และขั้นสรุปผลการ
ทดลอง
๓.๕ การสอนแบบบรรยาย (Lecture method)
การสอนแบบบรรยายว่า เป็นวิธีสอนที่ครูถ่ายทอดความรู้จานวนมากแก่นักเรียนโดยตรง
เป็นวิธีการหนึ่งที่นาเสนอความรู้วิทยาศาสตร์ในลักษณะองค์ความรู้ที่เลือกสรรและจัดลาดับไว้อย่างดี การ
ดาเนินการอาจแบ่งได้เป็น ๔ ตอน คือ การกล่าวนา ตัวเนื้อเรื่อง การสรุปย่อระหว่างนาเสนอ และการ
สรุปการบรรยาย
๓.๖ การสอนแบบอภิปราย (Discussion method)
การสอนแบบอภิปรายว่า เป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เกี่ยวกับ
เนื้อหาวิชาความรู้จากความคิดเห็นในแง่มุมต่าง ๆ ของนักเรียนอาจเป็นการอภิปรายระหว่างนักเรียน
ด้วยกัน หรือการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียน นักเรียนทุกคนมีอิสระที่จะแสดงความคิดเห็นของตน ซึ่ง
นักเรียนจะต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องนั้นก่อนโดยครูทาหน้าที่เป็นผู้นาอภิปราย ต้องไม่สั่งหรือ
ครอบงาความคิดเห็นของนักเรียน การอภิปรายต้องมีความชัดเจน เข้าใจง่าย เน้นหรือขยายความรู้ที่ได้
เรียนมาแล้วให้กว้างขวางออกไป ดังนั้นการอภิปรายจึงเป็นสิ่งจาเป็นในการสอนวิทยาศาสตร์ เป็นการ
กระตุ้นให้นักเรียนต้องคิดแก้ปัญหาหรือหาข้อยุติ การอภิปรายอาจสอดแทรกอยู่ในวิธีการสอนอื่น ๆ ได้
เช่น การสอนแบบบรรยายการสอนแบบสาธิต การสอนแบบทดลอง การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ และ
การสอนแบบค้นพบ
๓.๗ การสอนแบบพูดถามตอบ (Recitation method)
การสอนแบบพูดถามตอบ เป็นการสอนที่ใช้คาถามคาตอบ โดยครูเป็นผู้ถามคาถามและ
นักเรียนเป็นผู้ตอบคาถามตามพื้นฐานความรู้ที่นักเรียนได้อ่านจากหนังสือเรียน หรือหนังสืออื่นที่ได้รับ
มอบหมายให้อ่าน หรือสิ่งที่ครูได้นาเสนอในระหว่างการบรรยาย การสาธิต หรือกิจกรรมอื่นในการสอน
แบบพูดถามตอบ ครูควรอธิบายให้นักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ของการสอนแบบนี้ว่าเป็นการให้ข้อมูล
ป้อนกลับแก่ครู ซึ่งครูจะได้ใช้ข้อมูลเหล่านี้ในการขยายความและอธิบายเพิ่มเติมแก่นักเรียน สิ่งที่สาคัญ
ที่สุดในการสอนแบบพูดถามตอบเพื่อให้ได้ผลดีที่ควรคานึงถึงคือชนิดของคาถาม โครงสร้างของคาถาม
และขั้นตอนที่จะถามในระหว่างการสอน (ภพ เลาหไพบูลย์, ๒๕๔๒:๑๘๑)
จากการศึกษาเกี่ยวกับวิธีสอนวิทยาศาสตร์พบว่ามีอยู่หลายวิธี ในการจัดการเรียน
การสอนครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ควรเลือกวิธีสอน หรือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีประสบการณ์ด้วยตนเอง
มากที่สุด อาจเลือกใช้วิธีสอนใดวิธีหนึ่ง หรือนาหลายวิธีมาผสมผสานกัน เพื่อให้เหมาะสมกับเนื้อหาและ
สภาพการณ์โดยทั่วไปในชั้นเรียน
๑๕
บทที่ ๓
วิธีดาเนินการวิจัย
วิธีดาเนินการวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) มี
๕ ขั้นตอนดังนี้
๑. ศึกษาค้นคว้าเอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
๒. กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
๓. สร้างเครื่องมือในการวิจัย
๔. ดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
๕. วิเคราะห์ข้อมูล
มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
๑. การศึกษาค้นคว้าเอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สมบัติ
ของวัสดุ ได้แก่ ศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ และการตรวจสอบคุณภาพของ
ข้อสอบ จากหนังสือ วารสาร วิทยานิพนธ์ และฐานข้อมูลในอินเทอร์เน็ต
๒. การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
ประชากร
นักเรียนในระดับชั้น ป.๕ โรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญ ภาคเรียนที่ ๒ ในปีการศึกษา ๒๕๕๘
กลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนชั้น ป.๕/๔ โรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘
การกาหนดกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
กาหนดจากกลุ่มที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดของแต่ละปีการศึกษา โดยกลุ่มทดลอง คือ นักเรียน
ป.๕/๔ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘
๓. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
๓.๑ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
- แบบสอบถามพฤติกรรมนักเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ (ปรากฏในภาคผนวก)
- ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘
๓.๒ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
- แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕-๙
๑๖
๔. การเก็บรวบรวมข้อมูล
- ดาเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ ป.๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ใช้แบบสอบถาม
พฤติกรรมนักเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์หลังสอนจบตามหลักสูตร โดยใช้แบบสอบถาม
นี้กับนักเรียนจานวน ๑๗๖ คน
- นาผลการสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ มาวิเคราะห์ตรวจสอบคุณภาพ
- เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ ที่เน้น
การทดลองกับนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสาธิตและทดลอง
๕. การวิเคราะห์ข้อมูล
๕.๑ หาค่าคะแนนสอบปลายภาคเฉลี่ยเป็นรายหน่วยการเรียนรู้
๕.๒ วัดเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ตามหลักการของลิเคอร์ท ( Likert’ s Scale) โดยนา
คะแนนที่ได้จากการวัดเจตคติแบบสเกลนี้จัดแบ่งออกเป็นช่วงๆ โดยแต่ละช่วงจะมีขนาดเท่ากันสามารถที่
จะนามาเปรียบเทียบความมากน้อยของเจตคติได้ สาหรับวิธีการของตรวจสอบคุณภาพข้อสอบตาม
หลักการของลิเคอร์ท ( Likert’ s Scale) ได้แบ่งสเกลเป็น ๕ ช่วง ผู้วิจัย จึงได้ทาแบบสอบถามความ
คิดเห็นต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ โดยแบ่งสเกลระดับความคิดเห็นเป็น ๕ ระดับ และคานวณหาค่าเฉลี่ย
ต่างๆ โดยคานวณจากโปรแกรม Excel
๑๗
บทที่ ๔
ผลการวิจัย
ตอนที่ ๑ วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เป็นรายหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ ที่ คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์
เฉลี่ย เฉลี่ย (ร้อยละ)
๕ และ ๖ เรื่อง แรงต่างๆ ๙ (เต็ม ๑๖) ๕๕.๙
๗. เรื่อง เสียงกับการได้ยินเสียง ๕.๒ (เต็ม ๘) ๖๔.๔
๘. เรื่อง ลมฟ้าอากาศ ๗.๖ (เต็ม ๑๕) ๕๐.๕
๙. ปรากฎการณ์บนท้องฟ้า ๓.๔ (เต็ม ๖) ๕๖.๓
จากตาราง พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ พิจารณาจากคะแนนร้อยละของ
การสอบปลายภาค หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง เสียงกับการได้ยินเสียง มากที่สุด ( ๖๔.๔) รองลงไป ได้แก่
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้า (๕๖.๓) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง แรงลัพธ์และแรง
เสียดทาน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ความดัน แรงต่างๆ (แรงต่างๆ) (๕๕.๙) และหน่วยการเรียนรู้ที่ ๘
เรื่อง ลมฟ้าอากาศ (๕๖.๓) ตามลาดับ
ตอนที่ ๒ วิเคราะห์เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์
ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นหรือความรู้สึกระหว่าง ความหมาย
๓.๒๖-๔.๐๐ มากที่สุด (๔)
๒.๕๑-๓.๒๕ มาก (๓)
๑.๗๖-๒.๕๐ น้อย (๒)
๑.๐๐-๑.๗๕ น้อยที่สุด (๑)
๑๘
จากการสารวจความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้น ป.๕/๔ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ปรากฏผลดังนี้
จากตาราง พบว่า ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด ได้แก่ นักเรียนรู้สึกชอบสื่อการ
สอน ชอบการทดลองที่ครูสาธิต ชอบการทดลอง วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ควรศึกษา ช่วยให้นักเรียนรู้จักคิด
อ่าน และทางานอย่างมีแบบแผน ความรู้ที่ได้จากวิชาวิทยาศาสตร์สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้จริง
ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับมาก ได้แก่ นักเรียนชอบตอบคาถามด้วยตนเอง ชอบเรียนรู้จาก
รายการประเมิน ค่าเฉลี่ยระดับความ
คิดเห็นหรือความรู้สึก
ระหว่าง
ความหมาย
๑. นักเรียนคิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เข้าใจได้ง่าย ๓.๑๓ มาก
๒. นักเรียนเบื่อหน่ายเมื่อถึงเวลาเรียนวิทยาศาสตร์ ๑.๖๓ น้อย
๓. นักเรียนชอบการทดลองวิทยาศาสตร์ ๓.๘๕ มากที่สุด
๔. นักเรียนชอบตอบคาถามด้วยตนเอง ๒.๖๘ มาก
๕. นักเรียนชอบอ่าน ค้นคว้าความรู้ด้วยตนเองประจา ๑.๗๘ น้อย
๖. นักเรียนชอบอ่านเองมากกว่าฟังครูบรรยาย ๑.๘๕ น้อย
๗. นักเรียนเบื่อวิธีการสอนวิทยาศาสตร์ ๑.๖๕ น้อยที่สุด
๘. นักเรียนรักษาระเบียบวินัย และปฏิบัติตามหน้าที่ของ
ตนเองเสมอ ๒.๔๐
น้อย
๙. นักเรียนชอบตามกระแสแฟชั่น ๒.๕๘ มาก
๑๐. นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองเสมอ ๑.๘๕ น้อย
๑๑. นักเรียนอยากเล่นมากกว่าอ่านหนังสือ ๒.๗๓ มาก
๑๒. นักเรียนคิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ควรศึกษา ๓.๘๓ มากที่สุด
๑๓. นักเรียนรู้สึกกระตือรือร้นเมื่อได้เรียนวิทยาศาสตร์ ๒.๗๓ มาก
๑๔. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ช่วยให้นักเรียนรู้จักคิด อ่าน
และทางานอย่างมีแบบแผน ๓.๔๕
มากที่สุด
๑๕. วิชาวิทยาศาสตร์มีประโยชน์น้อยที่สุดเมื่อเทียบกับวิชา
อื่นๆ ๑.๔๕
น้อยที่สุด
๑๖. ถ้าเลือกได้นักเรียนจะไม่เลือกเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ๑.๖๕ น้อยที่สุด
๑๗. นักเรียนรู้สึกง่วงนอนเมื่อได้เรียนวิทยาศาสตร์ ๒.๒๐ น้อย
๑๘. รู้สึกชอบสื่อการสอน และการทดลองที่ครูสาธิต ๓.๖๕ มากที่สุด
๑๙. ความรู้ที่ได้จากวิชาวิทยาศาสตร์สามารถนามาใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้จริง ๓.๗๓
มากที่สุด
๒๐. การเรียนรู้จากแผนภาพเข้าใจง่ายกว่าเนื้อหา
เรียงความ ๒.๔๕
น้อย
๑๙
แผนภาพซึ่งเข้าใจง่าย และ คิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เข้าใจได้ง่าย ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับ
น้อย ได้แก่ นักเรียนชอบการเรียนรู้จากแผนภาพเข้าใจง่ายกว่าเนื้อหาเรียงความ ชอบอ่าน ค้นคว้าความรู้
ด้วยตนเองประจา ชอบอ่านเองมากกว่าฟังครูบรรยาย รักษาระเบียบวินัย และปฏิบัติตามหน้าที่ของ
ตนเองเสม ทบทวนความรู้ด้วยตนเองเสมอ รู้สึกง่วงนอนเมื่อได้เรียนวิทยาศาสตร์ เบื่อหน่ายเมื่อถึงเวลา
เรียนวิทยาศาสตร์ ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับน้อยที่สุด ได้แก่ ถ้าเลือกได้นักเรียนจะไม่เลือกเรียน
วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์มีประโยชน์น้อยที่สุดเมื่อเทียบกับวิชาอื่นๆ นักเรียนเบื่อวิธีการสอน
วิทยาศาสตร์
๒๐
บทที่ ๕
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
จากผลการวิจัยสรุป ได้ดังนี้
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง เสียงกับการได้ยินเสียง มากที่สุด
รองลงไป ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้า หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง แรงลัพธ์
และแรงเสียดทาน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ความดัน แรงต่างๆ (แรงต่างๆ) และหน่วยการเรียนรู้ที่ ๘
เรื่อง ลมฟ้าอากาศ ตามลาดับ
ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด ได้แก่ นักเรียนรู้สึกชอบสื่อการสอน ชอบการ
ทดลองที่ครูสาธิต ชอบการทดลอง วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ควรศึกษา ช่วยให้นักเรียนรู้จักคิด อ่าน และ
ทางานอย่างมีแบบแผน ความรู้ที่ได้จากวิชาวิทยาศาสตร์สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้จริง ประเด็น
ที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับมาก ได้แก่ นักเรียนชอบตอบคาถามด้วยตนเอง ชอบเรียนรู้จากแผนภาพซึ่ง
เข้าใจง่าย และคิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เข้าใจได้ง่าย ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับน้อย ได้แก่
นักเรียนชอบการเรียนรู้จากแผนภาพเข้าใจง่ายกว่าเนื้อหาเรียงความ ชอบอ่าน ค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง
ประจา ชอบอ่านเองมากกว่าฟังครูบรรยาย รักษาระเบียบวินัย และปฏิบัติตามหน้าที่ของตนเองเสม
ทบทวนความรู้ด้วยตนเองเสมอ รู้สึกง่วงนอนเมื่อได้เรียนวิทยาศาสตร์ เบื่อหน่ายเมื่อถึงเวลาเรียน
วิทยาศาสตร์ ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับน้อยที่สุด ได้แก่ ถ้าเลือกได้นักเรียนจะไม่เลือกเรียนวิชา
วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์มีประโยชน์น้อยที่สุดเมื่อเทียบกับวิชาอื่นๆ นักเรียนเบื่อวิธีการสอน
วิทยาศาสตร์
อภิปรายผล
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง เสียงกับการได้ยินเสียง มากที่สุด
เนื่องจากในเรื่องนี้เน้นสอนตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ทุกหัวเรื่อง รองลงไป ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙
เรื่อง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้า เนื่องจากได้ให้นักเรียนฝึกคิดหาทิศทาง จาลองสถานการณ์หาตาแหน่งกลุ่ม
ดาว หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ความดัน แรง
ต่างๆ (แรงต่างๆ) และหน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ ตามลาดับ
ในหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ เป็นเรื่องที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์อยู่ระดับน้อยกว่าหน่วย
การเรียนรู้อื่นๆ
ข้อเสนอแนะ
ในหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ เป็นเรื่องที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์อยู่ระดับน้อยกว่าหน่วย
การเรียนรู้อื่นๆ ดังนั้น ควรสร้างนวัตกรรม เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในหน่วยการเรียนรู้นี้
๒๑
บรรณานุกรม
ทิศนา แขมมณี (๒๕๔๖ : ๕๔) ดารกา วรรณวนิช (๒๕๔๙ : ๑๕๕). (๒๕๕๔). วิธีการสอนแบบสตอรี่ไลน์.
[อ้างถึงใน http://pay๒๐๑๑.wordpress.com, ๒๕๕๖]
Bell, S. and Fifield, K. (๑๙๙๘). An Introduction to the Storyline Method. Glassgow
Scotland: Jordanhill College.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (๒๕๔๒). การเรียนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาด้วยวิธีสตอรี่ไลน์. กรุงเทพมหานคร:
(ม.ท.ป.).
http://palroject.blogspot.com/p/blog-page_๑๘.html
๒๒
ภาคผนวก
๒๓
วิจัยในชั้นเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เป็น
รายหน่วยการเรียนรู้ และเจตคติทางการเรียนวิทยาศาสตร์
หลังจากจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
จัดทาโดย
นางอนุสรา เสนไสย
ตาแหน่ง ครูชานาญการ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘
โรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญ
สานักงานเขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร
๒๔
การจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน
๒๕
การจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ ความดัน และแรงต่างๆ
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
ssuser21a057
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพKamolthip Boonpo
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
jammaree samanchat
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
sarawut chaicharoen
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
Wichai Likitponrak
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
Joy Kularbam
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
Wichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนsmellangel
 
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัยงานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
pornwalaipuli
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านNi Aslan
 

What's hot (20)

วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัยงานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 

Similar to วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อJeeraJaree Srithai
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
โรงเรียนเดชอุดม
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ppisoot07
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
Niraporn Pousiri
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
Salisa Khonkhayan
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
Salisa Khonkhayan
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.Kaisorn Sripuwong
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Pitsiri Lumphaopun
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์
พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
Chirinee Deeraksa
 

Similar to วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 (20)

01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อการพัฒนากิจกรมวิทยาศาสตร์
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 

วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

  • 1. ชื่องานวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เป็นรายหน่วยการเรียนรู้ และเจตคติ ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังจากจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ชื่อผู้วิจัย ครูอนุสรา เสนไสย กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑ ) เพื่อศึกษาแนวโน้มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เป็น รายหน่วยการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ๒) เพื่อศึกษาเจตคติทางการเรียน วิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ซึ่งได้รับการสอนด้วยวิธีที่หลากหลาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยให้สารวจ หรือทดลอง การสังเกต การบันทึก ผล และสรุปผลการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสารวจความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ร้อย ละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลวิจัยสรุปได้ดังนี้ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง เสียงกับการได้ยินเสียง มากที่สุด รองลงไป ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้า หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง แรงลัพธ์ และแรงเสียดทาน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ความดัน แรงต่างๆ (แรงต่างๆ) และหน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ ตามลาดับ ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด ได้แก่ นักเรียนรู้สึกชอบสื่อการสอน ชอบ การทดลองที่ครูสาธิต ชอบการทดลองวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ควรศึกษา ช่วยให้นักเรียนรู้จัก คิด อ่าน และทางานอย่างมีแบบแผน ความรู้ที่ได้จากวิชาวิทยาศาสตร์สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ จริง ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับมาก ได้แก่ นักเรียนชอบตอบคาถามด้วยตนเอง ชอบเรียนรู้ จากแผนภาพซึ่งเข้าใจง่าย และคิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เข้าใจได้ง่าย ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับน้อย ได้แก่ นักเรียนชอบ การเรียนรู้จากแผนภาพเข้าใจง่าย กว่าเนื้อหาเรียงความ ชอบอ่าน ค้นคว้าความรู้ด้วยตนเองประจา ชอบอ่านเองมากกว่าฟังครูบรรยาย รักษาระเบียบวินัย และปฏิบัติตามหน้าที่ของตนเองเสม อ ทบทวนความรู้ด้วยตนเองเสมอ รู้สึกง่วงนอน เมื่อได้เรียนวิทยาศาสตร์ เบื่อหน่ายเมื่อถึงเวลาเรียนวิทยาศาสตร์ ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับน้อยที่สุด ได้แก่ ถ้าเลือกได้นักเรียนจะไม่เลือกเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์มีประโยชน์น้อยที่สุดเมื่อเทียบกับวิชาอื่นๆ นักเรียนเบื่อวิธีการสอน วิทยาศาสตร์
  • 2. ๒ ชื่องานวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เป็นรายหน่วยการเรียนรู้ และเจตคติ ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังจากจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ชื่อผู้วิจัย ครูอนุสรา เสนไสย กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เนื้อหา ๑. ความเป็นมาและความสาคัญของงานวิจัย ๒. เอกสารและงานวิจัยอ้างอิง ๓. วิธีดาเนินการวิจัย ๔. ผลการวิจัย ๕. สรุปผลการวิจัย
  • 3. ๓ คานา แบบการวิจัยฉบับนี้เป็นการทาการวิจัยเพื่อพัฒนาวิธีการสอนวิทยาศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ แบบทดสอบวัดผลปลายภาคเรียน อีกทั้งยังหาสาเหตุที่ส่งผลให้นักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น โดยการวิจัยครั้งนี้ได้ออกแบบ กิจกรรม การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาวิธีการสอนในรายหน่วยการเรียนรู้ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า นอกจากนี้ผู้วิจัยยังคานึงถึงคุณภาพของข้อสอบที่ใช้ในการวัดผลการเรียนรู้ปลายภาคเรียน จึงทา การหาคุณภาพข้อสอบเพื่อคัดเลือกข้อสอบที่มีคุณภาพไว้ทดสอบในปีการศึกษาต่อไป ผู้ทาการวิจัย อนุสรา เสนไสย
  • 4. ๔ บทที่ ๑ บทนา ๑. ความเป็นมาและความสาคัญของงานวิจัย จากการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ พบว่า สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น ได้แก่ นักเรียนบางส่วนไม่มี สมาธิ หรือไม่จดจ่อกับกิจกรรมที่ให้ทา ส่งผลให้นักเรียนกลุ่มนั้นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนน้อย ประกอบ กับแนวข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีการเปลี่ยนแปลง ค่าคะแนนเฉลี่ยโอเน็ต วิชาวิทยาศาสตร์ จึง ไม่คงที่ ค่าคะแนนขึ้นลงตามความยากง่ายของข้อสอบในแต่ละปี สาหรับข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ที่ใช้ในโรงเรียน มีค่าความยากง่ายคงที่ เนื่องจากใช้ฉบับเดิมจากปีการศึกษาก่อน พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยในการทาข้อสอบ แต่ละหน่วย มีแนวโน้มคะแนนสูงขึ้นทุกปี เนื่องจาก ครูพยายามพัฒนาเทคนิคการจัดการเรียนรู้ทุกปี อย่างไรก็ตาม ยังคงมีนักเรียนบางส่วนที่เกิดการเรียนรู้ไม่ทันเพื่อนๆ ในห้อง ครูจึงพยายามจัดทา สื่อการเรียนรู้ พัฒนาสื่อการเรียนรู้ทุกปี เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนกลุ่มนี้ได้ใช้ความคิด ครูได้ศึกษาวิจัยค้นคว้าและหาวิธีปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และพัฒนา แบบทดสอบให้ได้คุณภาพยิ่งขึ้น โดยครูควรศึกษาถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริม ให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น การจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษายังไม่บรรลุผลเท่าที่ควร ทั้งที่ นักเรียนโรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญในปีการศึกษา ๒๕๕๘ ได้รับการสอนหลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับ ความสอดคล้องกับเนื้อหาบทเรียน ใน ภาคเรียนที่ ๒ นี้ผู้วิจัยได้สารวจเจตคติ ต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ เพื่อจะได้นาไปปรับปรุงวิธีการสอน นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เป็นราย หน่วยการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ๒. วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๑) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เป็นรายหน่วยการเรียนรู้ ในภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๘ ๒) เพื่อศึกษาเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเรียนชั้น ป.๕ ๓. ขอบเขตการวิจัย ๓.๑ ขอบเขตของเนื้อหา ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน หน่วย การเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ความดัน แรงต่างๆ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง เสียงกับการได้ยินเสียง หน่วยการ เรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ และหน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้า ๓.๒ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๓.๓ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น ได้แก่ วิธีการจัดการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และเจตคติทางการเรียนวิทยาศาสตร์
  • 5. ๕ ๔. คาจากัดความที่ใช้ในการวิจัย ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการอธิบายความรู้ใน เนื้อหาวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย ข้อเท็จจริง แนวคิด หลักการ ทฤษฎี และแบบจาลองต่าง ๆ ใน ระดับลึกและมีทักษะต่าง ๆ ในการปฏิบัติการตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น ตั้งคาถาม ออกแบบ และวางแผน ตั้งสมมติฐาน เก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล อ่านและตีความหมายผลที่ระดับ พัฒนาการต่าง ๆ ของนักเรียน ๒. เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ หลังจากมีประสบการณ์ในการเรียนตามกิจกรรมการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์ที่จัดขึ้น และเป็น พฤติกรรมที่นักเรียนสนองตอบต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ ไปในทางใดทางหนึ่งหรือลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วย ความพอใจ ศรัทธา และซาบซึ้ง เห็นคุณค่าและประโยชน์ รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทางวิทยาศาสตร์ โดยวัดได้จากแบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่ง กาหนดมาตรวัดของคาตอบในแต่ละข้อเป็น ๔ ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างมากที่สุด มาก น้อย และน้อยที่สุด ผู้ตอบได้คะแนนสูงสุด หมายความว่าเป็นผู้ที่เห็นด้วยอย่างมากเกี่ยวกับรายการที่ประเมิน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้ข้อมูลเกี่ยวกับเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ และเจตคติต่อรายบทเรียนเพื่อนาข้อมูลไป ปรับปรุงเทคนิคการสอนเป็นรายบทเรียน อีกทั้งได้ตรวจหาคุณภาพข้อสอบปลายภาคเพื่อใช้พัฒนา ข้อสอบในภาคเรียนต่อไป
  • 6. ๖ บทที่ ๒ เอกสารและงานวิจัยอ้างอิง จากการศึกษา เรื่อง ผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมการทดลองที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิทยาศาสตร์ และ เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๕ ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ ค้นคว้าจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ๒. เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ ๓. วิธีสอนวิทยาศาสตร์ ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ นักวิจัยทางการศึกษา ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ไว้แตกต่างกัน ดังนี้ Van and Frances (๒๐๐๑) ได้ให้ความหมาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ไว้ว่า หมายถึง ความสามารถในการอธิบาย มีทักษะในการปฏิบัติการ มีลักษณะเป็น แบบแผน และมีความรู้ เชิงกลยุทธ์ (Science achievement defined as declarative, procedural, schematic and strategic knowledge) Third International Mathematics and Science Study (TIMSS) ที่รายงานโดย Rice and Islas (๒๐๐๑) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนไว้ว่า เป็นความรู้ ความสามารถในระดับลึกที่แน่นอนสาหรับนักเรียนทุกคน และที่ระดับพัฒนาการต่าง ๆ (The documents defined science achievement at certain depths of knowledge and ability for all students and at different developmental levels) ในด้านเนื้อหาวิทยาศาสตร์นั้น National Science Education Standards (๒๐๐๗) ได้ กาหนดมาตรฐานเนื้อหาของวิชาวิทยาศาสตร์อยู่ที่ข้อเท็จจริง แนวคิด หลักการ ทฤษฎีและแบบจาลอง ซึ่ง เป็นสิ่งสาคัญสาหรับนักเรียนทุกคนควรเรียนรู้ เข้าใจ และนาไปใช้ ส่วนด้านทักษะกระบวนการทา ง วิทยาศาสตร์ได้จากวิธีการศึกษาค้นคว้า เพราะการศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์เป็นหัวใจของ วิทยาศาสตร์และการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ และพบว่า “การวางพื้นฐานที่ดีทางวิทยาศาสตร์ให้เข้มแข็ง ต้อง ใช้ทักษะหลาย ๆ อย่างซึ่งประชาชนใช้อยู่ทุก ๆ วัน ” (A sound grounding in science strengthens many of the skills that people use every day) Lee and Paik (๒๐๐๐) พบว่า ทักษะที่นักเรียนต้องใช้ คือ ตั้งคาถาม ออกแบบและวางแผน เพื่ออธิบายคาถามให้กระจ่าง ตั้งและปรับเปลี่ยนสมมติฐาน เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล อ่านและ ตีความหมายผล สร้างแบบการอภิปรายผลและวางแผนการสรุป และนักเรียนต้องสามารถใช้อุปกรณ์และ เครื่องมือเพื่อควบคุมดูแลการสืบเสาะหา ความรู้ได้อย่างเหมาะสม
  • 7. ๗ จากการทบทวนวรรณกรรมดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการอธิบายความรู้ในเนื้อหาวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย ข้อเท็จจริง แนวคิด หลักการ ทฤษฎี และแบบจาลองต่าง ๆ ในระดับลึกและมีทักษะต่าง ๆ ในการปฏิบัติการตามกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ เช่น ตั้งคาถาม ออกแบบและวางแผน ตั้งสมมติฐาน เก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ ข้อมูล อ่านและตีความหมายผลที่ระดับพัฒนาการต่าง ๆ ของนักเรียน ประโยชน์ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ สามารถนาไปใช้ได้หลายทาง ดังต่อไปนี้ การศึกษาของ Muller, Stage, and Kinzie (๒๐๐๑) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ใน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถใช้ยืนยันการก้าวสู่มหาวิทยาลัยและอาชีพทางด้านวิทยาศาสตร์ใน อนาคต ดังนั้น ขณะที่กาลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงเป็นช่วงเวลาที่จะเร้าใจให้นักเรียนเข้า สู่และคงอยู่ในด้านวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ ระดับของการเตรียมการทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ใน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นตัวพยากรณ์ที่ดีในเรื่องความสนใจของนักเรียนในด้านวิทยาศาสตร์ Rhoton (๒๐๐๑) ใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ในการพยากรณ์การศึกษา วิทยาศาสตร์ของ ประเทศ โดยพบว่า เมื่อใดที่นักเรียนไม่สามารถทาการทดสอบผลสัมฤทธิ์มาตรฐานทาง วิทยาศาสตร์ได้ ดีและไม่ติดตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ การศึกษา วิทยาศาสตร์ในประเทศนั้นน่าจะประสบความล้มเหลว การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่สามารถวัดได้โดยตรง แต่สามารถใช้คะแนนสอบ (test score) หรือระดับคะแนน เฉลี่ยสะสม (grade) แทนผลสัมฤทธิ์ได้ งานวิจัยที่ใช้คะแนนสอบมาตรฐานหรือ คะแนนสอบปลายภาคเรียนแทนผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียน เช่น งานวิจัยของ Yuan and Keeves (๒๐๐๑), Anderman (๑๙๙๘) และ House (๒๐๐๐c) ส่วนงานวิจัยที่ใช้ระดับคะแนนเฉลี่ย สะสมหรือเกรดแทนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน เช่น งานวิจัยของ House (๒๐๐๐b; ๒๐๐๒a) และ Hurley (๒๐๐๑) (รายละเอียดดูได้จากการสร้างมาตรวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนัก เรียน หน้า ๑๐๐-๑๐๑) นอกจากนี้ จากการศึกษาของ Ransdell, Hawkins, and Adams (๒๐๐๑) ได้ศึกษา การให้ ระดับคะแนนของครูพบว่า ครูให้ระดับคะแนนแก่นักเรียนแต่ละคนขึ้นอยู่กับปัจจัยทางสติปัญญาและ ความ สามารถ ประมาณร้อยละ ๕๐ -๖๐ ประสิทธิภาพและนิสัยทางการเรียนที่ดี ประมาณร้อยละ ๓๐- ๔๐ และขึ้นอยู่กับโอกาสและสภาพแวดล้อมประมาณร้อยละ ๑๐-๑๕ Van and Frances (๒๐๐๑) ศึกษาพบว่า นักเรียนที่มีร้อยละของการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย สูงกว่า มีแนวโน้มได้รับระดับคะแนนสูงกว่าในวิชาวิทยาศาสตร์
  • 8. ๘ Rich and Walker (๒๐๐๒) ศึกษาพบว่า ร้อยละ ๗๑ ของระดับคะแนนขึ้นอยู่กับผลสัมฤทธิ์ และร้อยละ ๑๖ ขึ้นอยู่กับความพยายามในการเรียน จากงานวิจัยดังกล่าวข้างต้น ที่ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมหรือคะแนนสอบมีความสัมพันธ์สูงกับ ผลสัมฤทธิ์ ๒. เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ ๒.๑ ความหมายของเจตคติ คาว่าเจตคติ แปลว่า ความโน้มเอียง บางครั้งก็เรียกว่า “ทัศนคติ” ซึ่งในที่นี้จะถือว่าเป็นการ กล่าวถึงในที่นี้จะถือว่าเป็นการกล่าวถึงในสิ่งเดียวกัน มีนักการศึกษาได้ให้ความหมาย หรือให้คาจากัด ความ ดังนี้ เทอร์สโตน (Thurstone อ้างถึงใน สมปอง ม้ายนอุเทศ, ๒๕๔๒, หน้า ๑๑) ได้กล่าวว่าเจตคติเป็น ระดับความมากน้อยของความรู้สึกในด้านบวกและลบที่มีต่อสิ่งหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นอะไรก็ได้ เช่น สิ่งของ บทความ บุคคล องค์การ ความคิด ฯลฯ ความรู้สึกเหล่านี้ผู้รู้สึกสามารถบอกความแตกต่างได้ว่าเห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วย เคนเลอร์ (Kendler อ้างถึงใน อุษณีย์ วรรณจิยี, ๒๕๓๖, หน้า ๗๔) ได้กล่าวว่าเจตคติ คือ ความ พร้อมของบุคคลที่จะแสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าในสังคมแวดล้อม หรือเป็นความโน้มเอียงที่จะ แสดงพฤติกรรมที่จะสนับสนุน หรือคัดค้านประสบการณ์บางอย่าง บุคคล สถาบัน ตลอดจนแนวความคิด บางอย่าง การแสดงออกของเจตคติโดยอาศัยพฤติกรรม แบ่งออกเป็นสองลักษณะ คือ แสดงออกใน ลักษณะที่เห็นด้วย พึงพอใจหรือชอบกับไม่เห็นด้วย ไม่พึงพอใจ ไม่ชอบ อัลพอร์ท (Allport อ้างถึงใน จินตนา กุลทัพ, ๒๕๔๐, หน้า ๘) ได้กล่าวว่า เจตคติ หมายถึง สภาวะความพร้อมของจิตและประสาท อันเกิดจากประสบการณ์เป็นตัวกาหนดทิศทางปฏิกิริยาการ แสดงออก โบการ์ดัส (Bogaudus อ้างถึงใน วันชัย มีกลาง, ๒๕๓๐, หน้า ๓๕) ได้กล่าวว่าเจตคติ คือ แนวโน้ม ของการกระทาที่แสดงต่อหรือต้านบางสิ่งบางอย่างในสภาพแวดล้อม ซึ่งในที่สุดจะกลายเป็นค่านิยม ทางบวกหรือทางลบต่อสิ่งนั้น ฟิชบายน์ และไอเซ็น (Fishbein & Ajzen อ้างถึงใน ฉัตรชัย มุระดา, ๒๕๔๐, หน้า ๔๐) ให้คา นิยามว่า เจตคติต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หมายถึง ผลรวมของการประเมินความเชื่อที่บุคคลมีต่อสิ่งนั้นและเขียน เป็นแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ทานายพฤติกรรมความตั้งใจของบุคคลได้ สมจิตรา เรืองศรี (๒๕๒๗, หน้า ๙) กล่าวว่า เจตคติ หมายถึง ความรู้สึก เป็นสภาพความพร้อม ทางจิตใจที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆ ซึ่งจะแสดงออกมาในลักษณะชอบ ไม่ชอบหรือไม่พอใจ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยเป็นพฤติกรรมทางจิตใจที่ไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง สามารถสรุปพาดพิงจากพฤติกรรม ภายนอกที่แสดงออก เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ์ (๒๕๒๗, หน้า ๖๖) ได้กล่าวว่า เจตคติ หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อ สิ่งต่างๆ อันเป็นผลเนื่องมาจากการเรียนรู้และประสบการณ์ และเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรม หรือแนวโน้มที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้นๆ ไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง
  • 9. ๙ จากทั้งหมดที่กล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า เจตคติ หมายถึง ความรู้สึกในการตอบสนองต่อสิ่งใดสิ่ง หนึ่งตามความโน้มเอียงภายในตัวบุคคล ๒.๒ ความหมายของเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้สึกพอใจ ชอบ หรือความเบื่อหน่ายเกี่ยวกับ ประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ (อนันต์ จันทร์กวี, ๒๕๒๓: ๖๑) เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้สึกหรือพฤติกรรมที่แสดงออกต่อวิทยาศาสตร์ ทางด้านต่างๆ ซึ่งจะแสดงออกมา ๒ ทาง คือ (นวลจิตต์ โชตินันท์, ๒๕๒๔: ๙) ๑) เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์เชิงนิรนาม (Positive attitudes toward science) เป็น พฤติกรรมที่แสดงออกในลักษณะพอใจ ชอบ อยากเรียน อยากเรียน อยากเข้าใกล้สิ่งต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ ๒) เจตคติเชิงนิเสธ (Negative attitudes toward science) เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกใน ลักษณะไม่พอใจ ไม่ชอบ ไม่อยากเข้าใกล้เบื่อหน่ายสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ ๒.๓ องค์ประกอบของเจตคติ เจตคติเป็นระบบที่มีลักษณะมั่นคงอันหนึ่ง ซึ่งประกอบไปด้วยองค์ประกอบ ๓ ประการ ฟรีแมน (Freeman อ้างถึงใน ศักดิ์ สุนทรเสณี, ๒๕๓๑, หน้า ๔-๕) คือ ๑) องค์ประกอบทางด้านการรู้ (Cognitive Component) เป็นเรื่องของการรู้ของบุคคลในเรื่อง ใดเรื่องหนึ่ง อาจเป็นการรับรู้เกี่ยวกับวัตถุ สิ่งของ บุคคล หรือเหตุการณ์ต่างๆ ว่ารู้สิ่งต่างๆ ดังกล่าวนั้นได้ อย่างไร รู้ในทางที่ดีหรือไม่ดี ทางบวกหรือทางลบ ซึ่งจะก่อให้เกิดเจตคติขึ้น ถ้าเรารู้สิ่งใดสิ่งหนึ่งในทางที่ดี เราก็จะมีเจตคติต่อสิ่งนั้นในทางที่ดี และถ้ารู้สิ่งหนึ่งสิ่งใดในทางไม่ดี เราก็จะมีเจตคติไม่ดีต่อสิ่งนั้นด้วย ถ้า เราไม่รู้จักสิ่งใดเลยเจตคติก็จะไม่เกิดขึ้น หรือไม่มีสิ่งใดในโลก เราก็จะไม่เกิดเจตคติต่อสิ่งใดๆ เลย ๒) องค์ประกอบทางด้านความรู้สึก (Affective Component or Feeling Component) เป็น องค์ประกอบทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ซึ่งถูกเร้าขึ้นจากการรู้นั้น เมื่อเราเกิดการรู้สิ่งหนึ่งสิ่งใดแล้ว จะ ทาให้เราเกิดความรู้สึกในทางดีหรือไม่ดี ถ้าเรารู้สึกต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดในทางที่ไม่ดี เราก็จะไม่ชอบหรือไม่ พอใจในสิ่งนั้น ซึ่งความรู้สึกนี้จะทาให้เกิดเจตคติในทางในทางหนึ่ง คือชอบหรือไม่ชอบ ความรู้สิ่งนี้เมื่อ เกิดขึ้นแล้วจะเปลี่ยนแปลงได้ยากมาก ไม่เหมือนกับความจริง (Fact) ต่างๆ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงได้ยากกว่า ถ้ามีเหตุผลเพียงพอ ๓) องค์ประกอบทางด้านแนวโน้มในเชิงพฤติกรรมหรือการกระทา (Action Tendency Component or Behavioral Component) เป็นความพร้อมที่จะตอบสนองต่าสิ่งนั้นๆ ในทางใดทาง นึ่ง คือพร้อมที่จะสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ หรือในทางทาลายขัดขวาง ต่อสู้ เป็นต้น ๒.๔ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดเจตคติ การเกิดเจตคตินี้จาเป็นจะต้องพิจารณาถึงส่วนประกอบต่างๆ ด้วยว่า แต่ละส่วนประกอบนั้น เกิดขึ้นได้อย่างไร เจตคติอาจเกิดได้จาก (อดุลย์ นันท์บัญชา, ๒๕๓๒, หน้า ๒๑-๒๒) ๑) ประสบการณ์ที่บุคคลพบเห็น เกิดอาการประทับใจ ๒) กระบวนกรเรียนรู้ จากการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ ครอบครัว ประเพณี วัฒนธรรม และ ความเชื่อต่างๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม
  • 10. ๑๐ ๓) การเลียนแบบ ๔) อิทธิพลของกลุ่มสังคม ๕) การสรุปตีความจากคุณลักษณะที่ปรากฏว่าน่าจะเป็นอย่างนั้น หรือ น่าจะเป็นอย่างนี้ ๖) ความผิดปกติในเรื่องการปรับตัวของคนที่มีสุขภาพจิตไม่สมบูรณ์ สุวิรัช รัตนมณีโชติ (๒๕๓๖, หน้า ๑๓-๑๔) กล่าวว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดเจตคติ ได้แก่ ๑) องค์ประกอบด้านตัวบุคคล ( Individual) อายุ ความเจ็บป่วย การศึกษาแล ะบุคลิกภาพที่ ต่างกันย่อมมีผลทาให้เจตคติของบุคคลต่างกันออกไป โดยที่ผู้ที่อายุมากมักจะอนุรักษ์นิยมเมื่อพบกับ เจตคติใหม่ ผู้ที่มีระดับการศึกษาสูงสามารถพิจารณาสิ่งที่มาชักจูงให้เปลี่ยนเจตคติได้มากกว่าผู้ที่มี การศึกษาต่ากว่า ผู้ที่มีบุคลิกภาพแบบต่างๆ มีอิทธิพลต่อการชักจูงให้เกิดและยอมรับเจตคติใหม่ได้ต่างกัน ๒) สัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Communication from Others) บุคคลจะเกิดเจตคติเมื่อได้ ติดต่อสื่อความหมายกับผู้อื่น เจตคติของบุคคลมักจะเปลี่ยนไปตามเจตคติของหมู่คณะ เช่น กลุ่มนักเรียน กลุ่มเพื่อน กลุ่มสังคม กลุ่มอ้างอิง เนื่องจากบุคคลที่มีเจตคติที่เหมือนกันมีโอกาสที่จะทากิจกรรมร่วมกัน เป็นสาเหตุให้บุคคลมีความคิด ความรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมือนกัน ๓) การได้รับประสบการณ์เฉพาะด้าน (Specific Experience) บุคคลจะเกิดเจตคติต่อสิ่งหนึ่ง เมื่อได้รับประสบการณ์สิ่งนั้นด้วยตนเอง และรู้สึกประทับใจต่อประสบการณ์นั้นอย่างคงที่และเป็น เวลานาน ซึ่งอาจจะเป็นความประทับใจในทางบวกหรือทางลบก็ได้ ๔) องค์ประกอบของสถาบัน (Institutional Factors) สถาบันทุกสถาบันย่อมมีกฎข้อบังคับ ระเบียบแบบแผนแนวทางให้บุคคลยึดถือปฏิบัติ บุคคลอาจเกิดเจตคติ เนื่องมาจากอิทธิพลของสถาบันที่ เกี่ยวข้องได้ การที่จะรู้ว่าบุคคลมีเจตคติต่อสิ่งต่างๆ ในทางบวกหรือลบเราสามารถวัดได้โดยการให้บุคคล ได้แสดงความคิดเห็น ความรู้สึกและพฤติกรรมต่อสิ่งนั้นๆ ๒.๕ เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ ๒.๕.๑ ลักษณะเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ไม่เหมือนกับเจตคติของบุคคล ที่แสดงพฤติกรรมต่อสิ่งต่างๆ โดยทั่วไป เจตคติทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการ (Process) ที่นักวิทยาศาสตร์ได้กระทา เพื่อค้นหาความรู้และให้ ได้มาซึ่งความรู้ที่ถูกต้อง เป็นจริง และเป็นที่ยอมรับ ดังนั้น บุคคลที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์จะต้องเป็น บุคคลที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ ๒.๕.๒ คุณลักษณะของบุคคลที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ๑. เป็นคนที่มีเหตุผล ๑) จะต้องเป็นคนที่ยอมรับ และเชื่อในความสาคัญของเหตุผล ๒) ไม่เชื่อโชคลาง คาทานาย หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ๓) ค้นหาสาเหตุของปัญหาหรือเหตุการณ์ และหาความสัมพันธ์ของสาเหตุกับผลที่ เกิดขึ้น ๔) ต้องเป็นบุคคลที่สนใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และจะต้องเป็นบุคคลที่ พยายามค้นหาคาตอบว่า ปรากฏการณ์ต่าง ๆ นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร และทาไมจึง เกิดเหตุการณ์เช่นนั้น
  • 11. ๑๑ ๒. เป็นคนที่มีความอยากรู้อยากเห็น ๑) มีความพยายามที่จะเสาะแสวงหาความรู้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ อยู่เสมอ ๒) ตระหนักถึงความสาคัญของการแสวงหาข้อมูลเพิ่มเติมเสมอ ๓) จะต้องเป็นบุคคลที่ชอบซักถาม ค้นหาความรู้โดยวิธีการต่าง ๆ อยู่เสมอ ๓. เป็นบุคคลที่มีใจกว้าง ๑) เป็นบุคคลที่กล้ายอมรับการวิพากษ์วิจารณ์จากบุคคลอื่น ๒) เป็นบุคคลที่จะรับรู้และยอมรับความคิดเห็นใหม่ ๆ อยู่เสมอ ๓) เป็นบุคคลที่เต็มใจที่จะเผยแพร่ความรู้และความคิดให้แก่บุคคลอื่น ๔) ตระหนักและยอมรับข้อจากัดของความรู้ที่ค้นพบในปัจจุบัน ๔. เป็นบุคคลที่มีความซื่อสัตย์ และมีใจเป็นกลาง ๑) เป็นบุคคลที่มีความซื่อตรง อดทน ยุติธรรม และละเอียดรอบคอบ ๒) เป็นบุคคลที่มีความมั่นคง หนักแน่นต่อผลที่ได้จากการพิสูจน์ ๓) สังเกตและบันทึกผลต่าง ๆ อย่างตรงไปตรงมา ไม่ลาเอียง และมีอคติ ๕. มีความเพียรพยายาม ๑) ทากิจกรรมที่ได้รับมอบหมายให้เสร็จสมบูรณ์ ๒) ไม่ท้อถอยเมื่อผลการทดลองล้มเหลว หรือมีอุปสรรค ๓) มีความตั้งใจแน่วแน่ต่อการค้นหาความรู้ ๖. มีความละเอียดรอบคอบ ๑) รู้จักใช้วิจารณญาณก่อนที่จะตัดสินใจใด ๆ ๒) ไม่ยอมรับสิ่งหนึ่งสิ่งใดจนกว่าจะมีการพิสูจน์ที่เชื่อถือได้ ๓) หลีกเลี่ยงการตัดสินใจ และการสรุปผลที่ยังไม่มีการวิเคราะห์แล้วเป็นอย่างดี ๒.๖ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ กับจุดมุ่งหมายของการสอนวิทยาศาสตร์ ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ทุกสาขาวิชา ทุกระดับชั้นก็ต้องยึดถือหลักการ ดังกล่าวเช่นเดียวกัน คือ จะต้องสอนให้ผู้เรียนเจริญงอกงามไปพร้อมกันทั้ง ๓ ด้าน โดยในแต่ละระดับชั้น หรือแต่ละหลักสูตอาจมีการเน้นหรือกาหนดสัดส่วนที่แตกต่างกันไปบ้างเท่านั้นซึ่งเจตคติที่สาคัญทาง วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์นั้นประกอบไปด้วย ๑) ด้านความรู้ความคิดหรือพุทธิพิสัย (C) เป็นจุดมุ่งหมายที่ต้องการพัฒนา ทางด้านสติปัญญา ความคิด หรือพัฒนาสมองของผู้เรียนให้เจริญงอกงาม ซึ่งก็คือการสอนให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์ทั้งหลายในส่วนที่เป็น ตัวองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ( Body of scientific knowledges ) อันได้แก่ ข้อเท็จจริง (Fact) แนวความคิด หรือสังกัป ( Concept ) หลักการหรือกฎ ( Principle & Law ) และ ทฤษฎี (Theory ) ซึ่งจะมีความลึกซึ้ง กว้างขวาง แตกต่างกันไปตามระดับชั้นหรือหลักสูตร ๒) ด้านความรู้สึก หรือ จิตพิสัย ( A ) เป็นจุดมุ่งหมายที่ต้องการทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาเจริญ งอกงามในส่วนที่เป็นเรื่องของจิตใจและความรู้สึก ที่สาคัญได้แก่ ความสนใจ ( Interests ) ความ ซาบซึ้ง (Appreciations ) ค่านิยมและความเชื่อ (Values & Beliefs ) และ เจตคติ ( Attitudes ) ๓) ด้านทักษะปฏิบัติ หรือ ปฏิบัติพิสัย ( P ) เป็นจุดมุ่งหมายที่ต้องการพัฒนาให้ผู้เรียนได้ เจริญงอกงาม มีทักษะ ความชานาญในการปฏิบัติ หรือ ทาเป็น
  • 12. ๑๒ ๒.๗ การวัดเจตคติ เจตคติเป็นพฤติกรรมภายในที่มีลักษณะเป็นนามธรรมซึ่งตัวเองเท่านั้นที่ทราบวิธีการวัดเจตคติ โดยตรงจึงทาไม่ได้ การศึกษาเจตคติทาได้ ๓ วิธี (ศักดิ์ สุนทรเสนณี, ๒๕๓๑, หน้า ๑๖-๑๘) คือ ๑) การสังเกต (Observation) เป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ศึกษาเจตคติโดยใช้ประสาทหูและตาเป็น สาคัญ การสังเกตเป็นวิธีการศึกษาพฤติกรรมที่แสดงออกของบุคคลที่มีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดแล้วนาข้อมูลที่ สังเกตนั้นไปอนุมานว่าบุคคลนั้นมีเจตคติต่อสิ่งนั้นเป็นอย่างไร ปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้สังเกตได้รับผลดี ผู้สังเกตต้องมีคุณสมบัติ ๔ ประการดูเรน (Duren อ้างถึงใน ศักดิ์ สุนทรเสณี, ๒๕๓๑, หน้า ๑๖) คือ 1) มีความใส่ใจต่อสิ่งที่สังเกต (Attention) 2) มีประสาทสัมผัสที่ดี (Sensation) 3) มีการรับรู้ที่ดี (Perception) 4) มีความคิดรวบยอดที่ดี (Conception) สามารถสรุปเรื่องราวได้ถูกต้องและเชื่อถือได้ ๒) การให้รายงานตัวเอง (Self-Report) เป็นวิธีศึกษาเจตคติของบุคคลโดยให้บุคคลนั้นเล่า ความรู้สึกที่มีต่อสิ่งนั้นออกมา เช่น อาจรู้สึกชอบหรือไม่ชอบเห็นว่าดีหรือไม่ดี ซึ่งผู้รายงานตนเอง จะเล่า หรือบรรยายความรู้สึกนึกคิดของเขาออกมาตามประสบการณ์ และความสามารถที่เขามีอยู่ ซึ่งจะแตกต่าง กันออกไปในแต่ละบุคคล จากการฟังสิ่งที่เขาบอกเล่าเหล่านี้ก็สามารถที่จะกาหนดค่าคะแนนของเจตคติ ได้ วิธีการศึกษาเจตคติแบบนี้เป็นวิธีการของเทอร์สโตน ชลิเคอร์ท กัทท์แมน และออสกูดที่ได้พยายาม สร้างสเกลการวัดเจตคติขึ้น คะแนนที่ได้จากการวัดเจตคติแบบสเกลนี้จัดแบ่งออกเป็นช่วงๆ โดยแต่ละช่วง จะมีขนาดเท่ากันสามารถที่จะนามาเปรียบเทียบความมากน้อยของเจตคติได้ วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมใช้วัดเจต คติกันมาก โดยเฉพาะงานวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์ ๓) เทคนิคการฉายออก (Projective Techniques) เป็นวิธีวัดเจตคติโดยการให้สร้าง จินตนาการจากภาพ โดยใช้ภาพเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลนั้นแสดงความคิดเห็นออกมาจะได้สังเกตและวัด ได้ว่าบุคคลนั้นมีความรู้สึกอย่างไร ซึ่งบุคคลย่อมแสดงออกตามประสบการณ์ที่เขาเคยได้รับมาแต่ละคนจะ มีการแสดงออกไม่เหมือนกัน ๓. วิธีสอนวิทยาศาสตร์ ภพ เลาหไพบูลย์ (๒๕๔๒: ๑๒๓) กล่าวว่าวิธีสอนหรือกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ที่นิยมใช้มีหลายวิธี แต่ไม่มีข้อมูลยืนยันว่ามีวิธีสอนหรือกิจกรรมใดที่ดีที่สุด เหมาะสมกับทุก สถานการณ์ ดังนั้นครูวิทยาศาสตร์จึงต้องใช้ดุลยพินิจในการเลือกใช้วิธีสอนที่เหมาะสมกับความสามารถ ของนักเรียน เนื้อหาวิชา ตลอดจนอุปกรณ์การสอนที่มีอยู่ วิธีสอนวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับว่ามี ความเหมาะสมกับธรรมชาติของวิชามีดังนี้ ๓.๑ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ( Inquiry method) เป็นการสอนที่เน้นกระบวนการ แสวงหาความรู้ที่จะช่วยให้นักเรียนได้ค้นพบความจริงต่าง ๆ ด้วยตนเอง ให้นักเรียนมีประสบการณ์ตรงใน การเรียนรู้เนื้อหาวิชา ได้กล่าวถึงกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ว่าแบ่งออกเป็น ๕ ขั้นตอน ดังนี้ ๓.๑.๑ สร้างสถานการณ์หรือปัญหา ๓.๑.๒ ตั้งสมมติฐาน
  • 13. ๑๓ ๓.๑.๓ ออกแบบการทดลอง ๓.๑.๔ ทดสอบสมมติฐานโดยการทดลอง ๓.๑.๕ ได้ข้อสรุปหรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ บทบาทหน้าที่ของครูในการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ คือเป็นผู้สร้างสถานการณ์ที่เปิด โอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตัวนักเรียนเอง เป็นผู้จัดหาวัสดุ อุปกรณ์เพื่ออานวย ความสะดวกในการศึกษาค้นคว้า เป็นผู้ถามคาถามต่าง ๆ ที่จะช่วยนาทางให้นักเรียนค้นหาความรู้ต่าง ๆ เทคนิคการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ว่ามี ๓ แนวทาง คือ แนวทางการใช้เหตุผล แนว ทางการใช้การค้นพบ และแนวทางการใช้การทดลองการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แนวทางการใช้ เหตุผล ครูต้องชี้นานักเรียนให้สรุปเป็นหลักการทั่วไปได้โดยการใช้เหตุผล ซึ่งครูต้องใช้คาถามที่เหมาะสม และต้องเลือกแรงจูงใจที่เหมาะสมการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แนวทางการใช้การค้นพบ มี ๒ แนวทาง คือ ๑) การสอนโดยใช้แนวทางการค้นพบที่ไม่แนะแนวทาง ครูเป็นผู้จัดหาวัสดุอุปกรณ์ให้ นักเรียนแล้วให้นักเรียนได้จัดกระทากับวัสดุอุปกรณ์ โดยไม่ต้องแนะแนวทางอะไรในการใช้วัสดุอุปกรณ์ นักเรียนอาจสืบเสาะหาความรู้ในปัญหาที่ต่างกัน ครูทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาและเสนอแนะให้นักเรียนคิด ๒) การสอนโดยใช้แนวทางการค้นพบที่แนะแนวทาง เป็นการสอนที่ครูแนะแนวทางการ สืบเสาะหาความรู้ให้นักเรียน เพื่อให้นักเรียนค้นพบปัญหาที่คล้ายคลึงกัน มีประสบการณ์ที่เหมือนกันการ สอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แนวทางการทดลอง เป็นการสอนโดยใช้การทดลองในการพิสูจน์ ข้อความหรือสมมติฐานว่าเป็นจริง และหาแนวทางที่จะใช้ในการทดลองเพื่อทดสอบข้อความนั้นโดยมี ขั้นตอนคือ เลือกและตั้งปัญหา ตั้งสมมติฐาน และวางแผนการทดสอบ ๓.๒ การสอนแบบค้นพบ (Discovery method) การค้นพบ และการสืบเสาะหาความรู้ ว่านักการศึกษาจานวนมากใช้คาสองคานี้ใน ความหมายเดียวกัน คาริน และซันด์ ได้ให้ความหมายของการค้นพบว่า การค้นพบจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ บุคคลได้ใช้กระบวนการคิดอย่างมากกระบวนการที่ใช้ความรู้ความคิดในการค้นพบ เช่น การสังเกต การ จาแนกประเภท การวัด การพยากรณ์การอธิบาย การลงความคิดเห็น เป็นต้น ในการสอนแบบค้นพบเป็น การสอนที่เน้นกระบวนการตอบสนองของนักเรียนต่อสถานการณ์ต่างๆ ด้วยตนเอง บทบาทของครูเป็นผู้ ช่วยเหลือ และเป็นที่ปรึกษาของนักเรียน ทักษะและความชานาญในการจัดกิจกรรมการสอนของครูเป็น สิ่งที่ช่วยให้การสอนแบบค้นพบประสบความสาเร็จ ๓.๓ การสอนแบบสาธิต (Demonstration) การสาธิตว่าเป็นการจัดแสดงประสบการณ์การกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งหน้าชั้น โดยครู นักเรียนคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มนักเรียนก็ได้ เป็นการทดลองซึ่งให้ผลการทดลองที่ไม่ทราบมาก่อนหรือเป็น การทดสอบเพื่อยืนยันสิ่งที่ทราบมาแล้ว มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงการทดลองเทคนิควิธีการแลกระบวนการ ต่างๆให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในเนื้อหาวิชาและกระบวนการไปพร้อม ๆ กัน ในการสอนครูต้อง พิจารณาว่าจะสอนแบบสาธิตแบบบอกความรู้ ที่ครูพยายามแนะนาบอกความรู้ให้นักเรียน หรือสอนแบบ สาธิตแบบการค้นพบ ที่ครูพยายามให้นักเรียนค้นพบคาตอบด้วยตนเอง ๓.๔ การสอนแบบทดลอง (Experimental method) การทดลองกับการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการว่ามีความหมายใกล้เคียงกัน การทดลอง ส่วนใหญ่ที่นักเรียนทาเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการ ทดลอง เป็นการจัดประสบการณ์ในการทางานให้นักเรียนตามขั้นตอนของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  • 14. ๑๔ ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอน คือขั้นกาหนดปัญหา ขั้นตั้งสมมติฐาน ขั้นทดลองและสังเกต และขั้นสรุปผลการ ทดลอง ๓.๕ การสอนแบบบรรยาย (Lecture method) การสอนแบบบรรยายว่า เป็นวิธีสอนที่ครูถ่ายทอดความรู้จานวนมากแก่นักเรียนโดยตรง เป็นวิธีการหนึ่งที่นาเสนอความรู้วิทยาศาสตร์ในลักษณะองค์ความรู้ที่เลือกสรรและจัดลาดับไว้อย่างดี การ ดาเนินการอาจแบ่งได้เป็น ๔ ตอน คือ การกล่าวนา ตัวเนื้อเรื่อง การสรุปย่อระหว่างนาเสนอ และการ สรุปการบรรยาย ๓.๖ การสอนแบบอภิปราย (Discussion method) การสอนแบบอภิปรายว่า เป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เกี่ยวกับ เนื้อหาวิชาความรู้จากความคิดเห็นในแง่มุมต่าง ๆ ของนักเรียนอาจเป็นการอภิปรายระหว่างนักเรียน ด้วยกัน หรือการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียน นักเรียนทุกคนมีอิสระที่จะแสดงความคิดเห็นของตน ซึ่ง นักเรียนจะต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องนั้นก่อนโดยครูทาหน้าที่เป็นผู้นาอภิปราย ต้องไม่สั่งหรือ ครอบงาความคิดเห็นของนักเรียน การอภิปรายต้องมีความชัดเจน เข้าใจง่าย เน้นหรือขยายความรู้ที่ได้ เรียนมาแล้วให้กว้างขวางออกไป ดังนั้นการอภิปรายจึงเป็นสิ่งจาเป็นในการสอนวิทยาศาสตร์ เป็นการ กระตุ้นให้นักเรียนต้องคิดแก้ปัญหาหรือหาข้อยุติ การอภิปรายอาจสอดแทรกอยู่ในวิธีการสอนอื่น ๆ ได้ เช่น การสอนแบบบรรยายการสอนแบบสาธิต การสอนแบบทดลอง การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ และ การสอนแบบค้นพบ ๓.๗ การสอนแบบพูดถามตอบ (Recitation method) การสอนแบบพูดถามตอบ เป็นการสอนที่ใช้คาถามคาตอบ โดยครูเป็นผู้ถามคาถามและ นักเรียนเป็นผู้ตอบคาถามตามพื้นฐานความรู้ที่นักเรียนได้อ่านจากหนังสือเรียน หรือหนังสืออื่นที่ได้รับ มอบหมายให้อ่าน หรือสิ่งที่ครูได้นาเสนอในระหว่างการบรรยาย การสาธิต หรือกิจกรรมอื่นในการสอน แบบพูดถามตอบ ครูควรอธิบายให้นักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ของการสอนแบบนี้ว่าเป็นการให้ข้อมูล ป้อนกลับแก่ครู ซึ่งครูจะได้ใช้ข้อมูลเหล่านี้ในการขยายความและอธิบายเพิ่มเติมแก่นักเรียน สิ่งที่สาคัญ ที่สุดในการสอนแบบพูดถามตอบเพื่อให้ได้ผลดีที่ควรคานึงถึงคือชนิดของคาถาม โครงสร้างของคาถาม และขั้นตอนที่จะถามในระหว่างการสอน (ภพ เลาหไพบูลย์, ๒๕๔๒:๑๘๑) จากการศึกษาเกี่ยวกับวิธีสอนวิทยาศาสตร์พบว่ามีอยู่หลายวิธี ในการจัดการเรียน การสอนครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ควรเลือกวิธีสอน หรือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีประสบการณ์ด้วยตนเอง มากที่สุด อาจเลือกใช้วิธีสอนใดวิธีหนึ่ง หรือนาหลายวิธีมาผสมผสานกัน เพื่อให้เหมาะสมกับเนื้อหาและ สภาพการณ์โดยทั่วไปในชั้นเรียน
  • 15. ๑๕ บทที่ ๓ วิธีดาเนินการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) มี ๕ ขั้นตอนดังนี้ ๑. ศึกษาค้นคว้าเอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๒. กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ๓. สร้างเครื่องมือในการวิจัย ๔. ดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล ๕. วิเคราะห์ข้อมูล มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ๑. การศึกษาค้นคว้าเอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สมบัติ ของวัสดุ ได้แก่ ศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ และการตรวจสอบคุณภาพของ ข้อสอบ จากหนังสือ วารสาร วิทยานิพนธ์ และฐานข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ๒. การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประชากร นักเรียนในระดับชั้น ป.๕ โรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญ ภาคเรียนที่ ๒ ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้น ป.๕/๔ โรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ การกาหนดกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กาหนดจากกลุ่มที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดของแต่ละปีการศึกษา โดยกลุ่มทดลอง คือ นักเรียน ป.๕/๔ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๓. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ๓.๑ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล - แบบสอบถามพฤติกรรมนักเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ (ปรากฏในภาคผนวก) - ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๓.๒ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง - แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕-๙
  • 16. ๑๖ ๔. การเก็บรวบรวมข้อมูล - ดาเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ ป.๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ใช้แบบสอบถาม พฤติกรรมนักเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์หลังสอนจบตามหลักสูตร โดยใช้แบบสอบถาม นี้กับนักเรียนจานวน ๑๗๖ คน - นาผลการสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ มาวิเคราะห์ตรวจสอบคุณภาพ - เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ ที่เน้น การทดลองกับนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสาธิตและทดลอง ๕. การวิเคราะห์ข้อมูล ๕.๑ หาค่าคะแนนสอบปลายภาคเฉลี่ยเป็นรายหน่วยการเรียนรู้ ๕.๒ วัดเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ตามหลักการของลิเคอร์ท ( Likert’ s Scale) โดยนา คะแนนที่ได้จากการวัดเจตคติแบบสเกลนี้จัดแบ่งออกเป็นช่วงๆ โดยแต่ละช่วงจะมีขนาดเท่ากันสามารถที่ จะนามาเปรียบเทียบความมากน้อยของเจตคติได้ สาหรับวิธีการของตรวจสอบคุณภาพข้อสอบตาม หลักการของลิเคอร์ท ( Likert’ s Scale) ได้แบ่งสเกลเป็น ๕ ช่วง ผู้วิจัย จึงได้ทาแบบสอบถามความ คิดเห็นต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ โดยแบ่งสเกลระดับความคิดเห็นเป็น ๕ ระดับ และคานวณหาค่าเฉลี่ย ต่างๆ โดยคานวณจากโปรแกรม Excel
  • 17. ๑๗ บทที่ ๔ ผลการวิจัย ตอนที่ ๑ วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เป็นรายหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ ที่ คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เฉลี่ย เฉลี่ย (ร้อยละ) ๕ และ ๖ เรื่อง แรงต่างๆ ๙ (เต็ม ๑๖) ๕๕.๙ ๗. เรื่อง เสียงกับการได้ยินเสียง ๕.๒ (เต็ม ๘) ๖๔.๔ ๘. เรื่อง ลมฟ้าอากาศ ๗.๖ (เต็ม ๑๕) ๕๐.๕ ๙. ปรากฎการณ์บนท้องฟ้า ๓.๔ (เต็ม ๖) ๕๖.๓ จากตาราง พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ พิจารณาจากคะแนนร้อยละของ การสอบปลายภาค หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง เสียงกับการได้ยินเสียง มากที่สุด ( ๖๔.๔) รองลงไป ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้า (๕๖.๓) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง แรงลัพธ์และแรง เสียดทาน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ความดัน แรงต่างๆ (แรงต่างๆ) (๕๕.๙) และหน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ (๕๖.๓) ตามลาดับ ตอนที่ ๒ วิเคราะห์เจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นหรือความรู้สึกระหว่าง ความหมาย ๓.๒๖-๔.๐๐ มากที่สุด (๔) ๒.๕๑-๓.๒๕ มาก (๓) ๑.๗๖-๒.๕๐ น้อย (๒) ๑.๐๐-๑.๗๕ น้อยที่สุด (๑)
  • 18. ๑๘ จากการสารวจความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้น ป.๕/๔ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ปรากฏผลดังนี้ จากตาราง พบว่า ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด ได้แก่ นักเรียนรู้สึกชอบสื่อการ สอน ชอบการทดลองที่ครูสาธิต ชอบการทดลอง วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ควรศึกษา ช่วยให้นักเรียนรู้จักคิด อ่าน และทางานอย่างมีแบบแผน ความรู้ที่ได้จากวิชาวิทยาศาสตร์สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้จริง ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับมาก ได้แก่ นักเรียนชอบตอบคาถามด้วยตนเอง ชอบเรียนรู้จาก รายการประเมิน ค่าเฉลี่ยระดับความ คิดเห็นหรือความรู้สึก ระหว่าง ความหมาย ๑. นักเรียนคิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เข้าใจได้ง่าย ๓.๑๓ มาก ๒. นักเรียนเบื่อหน่ายเมื่อถึงเวลาเรียนวิทยาศาสตร์ ๑.๖๓ น้อย ๓. นักเรียนชอบการทดลองวิทยาศาสตร์ ๓.๘๕ มากที่สุด ๔. นักเรียนชอบตอบคาถามด้วยตนเอง ๒.๖๘ มาก ๕. นักเรียนชอบอ่าน ค้นคว้าความรู้ด้วยตนเองประจา ๑.๗๘ น้อย ๖. นักเรียนชอบอ่านเองมากกว่าฟังครูบรรยาย ๑.๘๕ น้อย ๗. นักเรียนเบื่อวิธีการสอนวิทยาศาสตร์ ๑.๖๕ น้อยที่สุด ๘. นักเรียนรักษาระเบียบวินัย และปฏิบัติตามหน้าที่ของ ตนเองเสมอ ๒.๔๐ น้อย ๙. นักเรียนชอบตามกระแสแฟชั่น ๒.๕๘ มาก ๑๐. นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองเสมอ ๑.๘๕ น้อย ๑๑. นักเรียนอยากเล่นมากกว่าอ่านหนังสือ ๒.๗๓ มาก ๑๒. นักเรียนคิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ควรศึกษา ๓.๘๓ มากที่สุด ๑๓. นักเรียนรู้สึกกระตือรือร้นเมื่อได้เรียนวิทยาศาสตร์ ๒.๗๓ มาก ๑๔. วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ช่วยให้นักเรียนรู้จักคิด อ่าน และทางานอย่างมีแบบแผน ๓.๔๕ มากที่สุด ๑๕. วิชาวิทยาศาสตร์มีประโยชน์น้อยที่สุดเมื่อเทียบกับวิชา อื่นๆ ๑.๔๕ น้อยที่สุด ๑๖. ถ้าเลือกได้นักเรียนจะไม่เลือกเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ๑.๖๕ น้อยที่สุด ๑๗. นักเรียนรู้สึกง่วงนอนเมื่อได้เรียนวิทยาศาสตร์ ๒.๒๐ น้อย ๑๘. รู้สึกชอบสื่อการสอน และการทดลองที่ครูสาธิต ๓.๖๕ มากที่สุด ๑๙. ความรู้ที่ได้จากวิชาวิทยาศาสตร์สามารถนามาใช้ใน ชีวิตประจาวันได้จริง ๓.๗๓ มากที่สุด ๒๐. การเรียนรู้จากแผนภาพเข้าใจง่ายกว่าเนื้อหา เรียงความ ๒.๔๕ น้อย
  • 19. ๑๙ แผนภาพซึ่งเข้าใจง่าย และ คิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เข้าใจได้ง่าย ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับ น้อย ได้แก่ นักเรียนชอบการเรียนรู้จากแผนภาพเข้าใจง่ายกว่าเนื้อหาเรียงความ ชอบอ่าน ค้นคว้าความรู้ ด้วยตนเองประจา ชอบอ่านเองมากกว่าฟังครูบรรยาย รักษาระเบียบวินัย และปฏิบัติตามหน้าที่ของ ตนเองเสม ทบทวนความรู้ด้วยตนเองเสมอ รู้สึกง่วงนอนเมื่อได้เรียนวิทยาศาสตร์ เบื่อหน่ายเมื่อถึงเวลา เรียนวิทยาศาสตร์ ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับน้อยที่สุด ได้แก่ ถ้าเลือกได้นักเรียนจะไม่เลือกเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์มีประโยชน์น้อยที่สุดเมื่อเทียบกับวิชาอื่นๆ นักเรียนเบื่อวิธีการสอน วิทยาศาสตร์
  • 20. ๒๐ บทที่ ๕ สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ จากผลการวิจัยสรุป ได้ดังนี้ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง เสียงกับการได้ยินเสียง มากที่สุด รองลงไป ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้า หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง แรงลัพธ์ และแรงเสียดทาน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ความดัน แรงต่างๆ (แรงต่างๆ) และหน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ ตามลาดับ ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด ได้แก่ นักเรียนรู้สึกชอบสื่อการสอน ชอบการ ทดลองที่ครูสาธิต ชอบการทดลอง วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ควรศึกษา ช่วยให้นักเรียนรู้จักคิด อ่าน และ ทางานอย่างมีแบบแผน ความรู้ที่ได้จากวิชาวิทยาศาสตร์สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้จริง ประเด็น ที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับมาก ได้แก่ นักเรียนชอบตอบคาถามด้วยตนเอง ชอบเรียนรู้จากแผนภาพซึ่ง เข้าใจง่าย และคิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เข้าใจได้ง่าย ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับน้อย ได้แก่ นักเรียนชอบการเรียนรู้จากแผนภาพเข้าใจง่ายกว่าเนื้อหาเรียงความ ชอบอ่าน ค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง ประจา ชอบอ่านเองมากกว่าฟังครูบรรยาย รักษาระเบียบวินัย และปฏิบัติตามหน้าที่ของตนเองเสม ทบทวนความรู้ด้วยตนเองเสมอ รู้สึกง่วงนอนเมื่อได้เรียนวิทยาศาสตร์ เบื่อหน่ายเมื่อถึงเวลาเรียน วิทยาศาสตร์ ประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยในระดับน้อยที่สุด ได้แก่ ถ้าเลือกได้นักเรียนจะไม่เลือกเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์มีประโยชน์น้อยที่สุดเมื่อเทียบกับวิชาอื่นๆ นักเรียนเบื่อวิธีการสอน วิทยาศาสตร์ อภิปรายผล นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง เสียงกับการได้ยินเสียง มากที่สุด เนื่องจากในเรื่องนี้เน้นสอนตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ทุกหัวเรื่อง รองลงไป ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้า เนื่องจากได้ให้นักเรียนฝึกคิดหาทิศทาง จาลองสถานการณ์หาตาแหน่งกลุ่ม ดาว หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง ความดัน แรง ต่างๆ (แรงต่างๆ) และหน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ ตามลาดับ ในหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ เป็นเรื่องที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์อยู่ระดับน้อยกว่าหน่วย การเรียนรู้อื่นๆ ข้อเสนอแนะ ในหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ เป็นเรื่องที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์อยู่ระดับน้อยกว่าหน่วย การเรียนรู้อื่นๆ ดังนั้น ควรสร้างนวัตกรรม เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในหน่วยการเรียนรู้นี้
  • 21. ๒๑ บรรณานุกรม ทิศนา แขมมณี (๒๕๔๖ : ๕๔) ดารกา วรรณวนิช (๒๕๔๙ : ๑๕๕). (๒๕๕๔). วิธีการสอนแบบสตอรี่ไลน์. [อ้างถึงใน http://pay๒๐๑๑.wordpress.com, ๒๕๕๖] Bell, S. and Fifield, K. (๑๙๙๘). An Introduction to the Storyline Method. Glassgow Scotland: Jordanhill College. พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (๒๕๔๒). การเรียนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาด้วยวิธีสตอรี่ไลน์. กรุงเทพมหานคร: (ม.ท.ป.). http://palroject.blogspot.com/p/blog-page_๑๘.html
  • 23. ๒๓ วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เป็น รายหน่วยการเรียนรู้ และเจตคติทางการเรียนวิทยาศาสตร์ หลังจากจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ จัดทาโดย นางอนุสรา เสนไสย ตาแหน่ง ครูชานาญการ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ โรงเรียนประชาราษฎร์บาเพ็ญ สานักงานเขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร