SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
หน่ วยการเรียนรู้ ท่ี 7.11 เรื่อง การเขียนโครงร่ างและรายงานการวิจัย

11.1 การเขียนเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
          การเขียนเค้า โครงการวิจยเป็ นเสมือนพิมพ์ เขี ย วที่ ระบุ รายละเอี ยดของสิ่ งที่ ดาเนิ นการ
                                 ั
ว่าจะทาอะไร ทาไมต้องทา ทาอย่างไร ทาที่ไหน ทาเมื่อไร และทากับใครนันเอง                           ่
มี จุดมุ่งหมายให้ผวิจยหรื อผูอ่านทราบกรอบการดาเนิ นการว่าจะวิจยเรื่ องอะไร มีวตถุประสงค์
                   ู้ ั      ้                                        ั                 ั
อะไร จะใช้ระเบียบวิธีการศึกษาอะไร จะใช้รูปแบบการวิจยอย่างไร และการวิจยมีประโยชน์
                                                               ั                      ั
อย่างไร

        โดยทัวไปเค้าโครงการวิจยในชั้นเรี ยนจะมีองค์ประกอบดังนี้
             ่                ั

         1.ชื่อเรื่ อง
                           2. ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
                                                                  3.วัตถุประสงค์ของการวิจย
                                                                                         ั
   เค้าโครง                         4. สมมติฐานของการวิจย
                                                        ั
      5. ขอบเขตของการวิจย
                        ั
                          6. ข้อตกลงเบื้องต้น
                                                                   การวิจย
                                                                         ั
                                                    7. คาจากัดความที่ใช้ใน
                                                    การวิจย
                                                          ั
            ใน                                                  8. ประโยชน์ของการวิจย
                                                                                    ั
                              9. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจย
                                                             ั
                  10. วิธีดาเนินการวิจย
                                      ั
    11. ปฏิทินปฏิบติงาน
                  ั                                                  ชันเรียน
                                                                       ้
                               12. เอกสารอ้างอิง


                                           รายละเอียด
2

1. ชื่อเรื่อง
     ชื่ อ เรื่ อ งต้อ งสื่ อ ความหมายได้ดี ก ระทัด รั ด ชัด เจน เฉพาะเจาะจงสิ่ ง ที่ จ ะศึ ก ษาควรมี
องค์ประกอบที่สาคัญ 2 ส่ วนคือ ตัวแปรที่จะศึกษาและประชากรหรื อกลุ่มตัวอย่างที่จะแก้ปัญหา
หรื อพัฒนา สาหรับตัวแปรที่จะศึกษานั้นอย่างน้อยจะต้องมีตวแปรต้น หรื อนวัตกรรมที่ครู ได้
                                                                   ั
คิดค้นหรื อพัฒนาปรากฏอยูในชื่อของเค้าโครงการวิจยด้วยเสมอ ส่ วนตัวแปรตามจะมีหรื อไม่ก็
                                 ่                         ั
ได้ในการเขียนควรเร้าความสนใจให้ผอื่นอยากศึกษา ตัวอย่างเช่น
                                        ู้
 การพัฒ นาและพัฒนาชุ ดฝึ กทัก ษะการสัง เกตในรายวิชา ท 101 ส าหรั บนัก เรี ย น
     ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ร.ร. แจ่งหัวลินวิทยาคม
 การสร้างชุดการสอนเรื่ อง ระบบการย่อยอาหาร ในรายวิชา ว 043 สาหรับนักเรี ยนชั้น
     มัธยมศึกษาปี ที่ 4
 การสร้างบทเรี ยนสาเร็ จรู ป เรื่ อง วัฏจักรของน้ า ในรายวิชา ว 101 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
 การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ อง ปริ มาณสารสัมพันธ์ 1 ในรายวิชา ว 431 โดยใช้
     ชุดกิจกรรมรู ปแบบการเรี ยนรู้แบบสร้างสรรค์ความรู้ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา
     ปี ที่ 4

                             2. ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
        ในหัวข้อนี้ ควรเขียนให้กระชับตรงประเด็น เป็ นเหตุเป็ นผล ชี้ ให้เห็นประเด็นปั ญหาและ
  นาไปสู่ จุดประสงค์ที่จะทาวิจยในชั้นเรี ยนโดยการเขียนปั ญหาการวิจยในชั้นเรี ยนจากภาพกว้าง
                                 ั                                       ั
  มาสู่ ภาพเล็ก เปรี ยบเสมือนรู ปสามเหลี่ ยมซึ่ งเอาด้านที่เป็ นปลายแหลมอยู่ดานล่าง ดังรู ป
                                                                                 ้
        เพื่อเป็ นการขมวดลงให้เห็ นความเชื่ อมโยงของความคิ ดจากปั ญหาการวิจยในชั้นเรี ยน ั
  จนถึ งความสาคัญของปั ญหา โดยการเขียนอาจมี ส่วนประกอบที่สาคัญที่ เสนอประเด็นต่างๆ
  เป็ นลาดับต่อเนื่อง ดังนี้
      - สภาพปั จจุบนที่มีเหตุผลหรื อข้อมูล ที่เป็ นหลักฐานประกอบการจูงใจ ซึ่ งจะนาเข้า
                        ั
          สู่ ปัญหาหรื อประเด็นที่จะทาการวิจยในชั้นเรี ยน ซึ่ งจะทาให้มีน้ าหนักน่าเชื่ อถือและ
                                                ั
          เห็นความสาคัญว่าควรทาการวิจยในชั้นเรี ยน
                                             ั
      - ที่มาของปั ญหาที่จะทาวิจยในชั้นเรี ยน โดยอธิ บายถึงเบื้องหลัง หรื อสาเหตุสาคัญที่จะ
                                      ั
          ส่ งผลถึงปั ญหาดังกล่าว ซึ่ งจะชี้ให้เห็นถึงสาเหตุของปั ญหาที่แท้จริ งของเรื่ องที่จะทาวิจย
                                                                                                    ั
          ในชั้นเรี ยน
      - ความส าคัญ ของปั ญ หา เป็ นการระบุ ถึ ง ความส าคัญ หรื อ ความจ าเป็ นที่ จ ะต้อ ง
          ทาการศึกษาและผลการวิจยที่ได้จะเกิดประโยชน์ต่อการจัดการเรี ยนการสอนอย่างไร
                                        ั
3

 ( ดังนั้นในการเขียนหัวข้อนี้สามารถนาเอาข้อมูลจากการวิเคราะห์ปัญหาการเรี ยนการสอน
    และวิเคราะห์สาเหตุปัญหาจากผังก้างปลาในใบกิจกรรมที่ 2 มาประกอบ)


 3. วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
           การเขียนจะสื บเนื่ องมาจากความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหาและสอดรับกัน
    เป็ นเหตุเป็ นผลต่อกัน นอกจากนี้ การเขียนจึ งเป็ นการเขี ยนในลักษณะที่บ่งบอกถึ งว่า
    ผูวิจย “ต้องการรู้ อะไร” หรื อ “ต้องการจะทาอะไร” เกี่ ยวกับงานวิจยในชั้นเรี ยน มักจะ
       ้ ั                                                            ั
    ขึ้นต้นด้วยคาว่า “เพื่อ” และตามด้วยข้อความที่จะแสดงวิธีทาในการวิจย เช่น เพื่อศึกษา…
                                                                        ั
    เพื่อเปรี ยบเทียบ… เพื่อสร้าง… เพื่อทดลอง…เป็ นต้น ทั้งนี้ ตองสอดรับกับหัวข้อการวิจย
                                                                ้                      ั
    ในชั้นเรี ยนด้วย




4. สมมติฐานการวิจัย
         สมมติฐานการวิจย คือ สิ่ งที่ผวิจยสันนิ ฐาน หรื อคาดคิดว่าจะเป็ นคาตอบของปั ญหา
                          ั             ู้ ั
หรื อข้อสงสัยที่ทาการศึกษา ไม่ใช่ การคาดเดาแต่ตองมีเหตุผลหรื อผลการวิจยหรื อทฤษฎี
                                                        ้                     ั
รองรับสมมติฐานที่ต้ งขึ้น ดังนั้นการตั้งสมมติฐานจึงไม่ใช่การตั้งขึ้นมาลอยๆ แต่ต้ งขึ้นมาเพื่อ
                     ั                                                           ั
ใช้เป็ นทิศทางในการพิสูจน์หรื อทดสอบหรื อดาเนิ นการวิจยได้อย่างตรงประเด็น พร้อมทั้งช่วย
                                                          ั
จากัดขอบเขตและทาให้ปัญหาการวิจยชัดเจนขึ้น
                                    ั
         การเขียนสมมติฐานวิจยในชั้นเรี ยนควรคานึงถึงสิ่ งต่อไปนี้
                              ั
         1. ควรมีความชัดเจนและเฉพาะเจาะจง ซึ่ งจะง่ายต่อการพิสูจน์หรื อทดสอบ
         2. ต้องสามารถทดสอบได้ทางสถิติจากการวิจยในชั้นเรี ยนที่ทาอยู่
                                                      ั
                                                    ่
         3. ต้องสอดคล้องกับสภาพความจริ งที่เป็ นอยูในปั จจุบน ั
         4. ใช้ภาษาที่ง่ายๆ มีความหมายชัดเจน
         5. สอดรับกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
         6. ชี้ทิศทางของการวิจยและตัวแปรที่ตองการศึกษา
                                ั             ้
4

5. ขอบเขตของการวิจัย
        การกาหนดขอบเขตการวิจย เป็ นการขีดวงการวิจยให้ชดเจนว่าการวิจยครอบคลุ มสิ่ ง
                                   ั                      ั     ั          ั
   ใดบ้าง สาหรับการวิจยในชั้นเรี ยน การกาหนดขอบเขตของการวิจยมักกาหนดในส่ วนของ
                           ั                                      ั
    - ประชากร จะกล่าวถึงภาพรวม เช่น ชั้น ระดับการศึกษา เป็ นต้น
    - กลุ่มตัวอย่าง เช่น ชั้น ระดับการศึกษา ปี การศึกษา จานวน(คน หรื อ ห้อง) เป็ นต้น
    - ตัวแปรที่ศึกษา
        - ตัวแปรอิสระ (ชื่อนวัตกรรมที่ใช้)
        - ตัวแปรตาม (ผลที่ตองการให้เกิดขึ้นโดยตรงหลังการใช้นวัตกรรม
                                ้
    - ระยะเวลา / ช่วงเวลาที่ศึกษา (ช่วงที่มีการใช้นวัตกรรมจริ ง)
    - เครื่ องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล มีอะไรบ้าง
    - ขอบเขตเนื้อหาสาระ
    - สถานที่หรื อพื้นที่ศึกษา (โรงเรี ยน, สังกัด, เขตการศึกษา)




6. ข้ อตกลงเบืองต้ น
              ้
             เป็ นสถานการณ์หรื อเงื่อนไขที่ผวิจยจะไม่ได้ตรวจสอบหรื อไม่ได้ศึกษาในการวิจยครั้ง
                                            ู้ ั                                       ั
นี้ ซึ่ งเป็ นสถานการณ์ หรื อเงื่ อนไขที่ยอมรับอย่างมีเหตุผล โดยทัวไปจะตกลงเกี่ ยวกับการวัด
                                                                  ่
การวิเคราะห์ขอมูลและการแปลผล
                   ้



 7. คาจากัดความทีใช้ ในการวิจัย
                 ่
              เป็ นการให้นิยามแก่ คาศัพ ท์หรื อตัวแปรที่ ปรากฏในงานวิจย ที่ ทาหรื อเรี ยกว่า นิ ย าม
                                                                         ั
 ปฏิบติการ ซึ่ งการให้คานิยามไม่ใช่เป็ นการให้นิยามตามพจนานุกรมซึ่ งถือว่าเข้าใจตรงกันแล้ว
        ั
 แต่เป็ นคานิยามที่สร้างความเข้าใจตรงกันเมื่อผูอื่นได้อ่านงานวิจยเรื่ องนั้น เช่น
                                                  ้             ั
              ความสามารถในการสังเกต หมายถึง คะแนนที่นกเรี ยนสามารถทาได้จากแบบวัดการ
                                                             ั
 ปฏิบติทกษะการสังเกตที่ครู ผสอนสร้างขึ้น
          ั ั                   ู้
5



    8.ประโยชน์ ของการวิจัยหรือผลทีคาดว่าจะได้ รับ
                                   ่
        การเขี ยนประโยชน์ ของการวิจย เป็ นการย้ าให้เห็ นถึ งความสาคัญของการวิจย ที่จะ
                                         ั                                        ั
    ดาเนิ นการว่าเกิ ดประโยชน์อย่างไรบ้า งเมื่ อได้ทาวิจย เป็ นการเขี ยนเพื่อบ่งบอกถึ ง
                                                         ั
    ประโยชน์ของการนาไปใช้ในภาพกว้าง โดยคานึงถึงสิ่ งต่อไปนี้
        1) เขียนแยกรายข้อ ไม่ควรเขียนรวมไว้ดวยกันทั้งหมด
                                                   ้
        2) ต้องสอดรับกับวัตถุประสงค์และเกิดขึ้นจากผลการทาวิจยหรื อนาผลการวิจยไปใช้
                                                                 ั              ั
           แต่ไม่ใช่ในในลักษณะล้อเลียนวัตถุประสงค์การวิจย      ั
        3) คุ ณค่าของงานวิจยไม่ได้ข้ ึ นอยู่กบจานวนข้อของประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก
                             ั               ั
                  ั            ่ ั
           การวิจย แต่ข้ ึนอยูกบผลที่เกิดขึ้นจริ งจากการทาวิจย
                                                             ั




9. การศึกษาเอกสารทีเ่ กียวข้ องกับการวิจัย
                        ่
        ผูวิจยต้องทาการศึกษาเอกสารต่างๆ เช่น งานวิจย ตารา บทความวิชาการ ทฤษฎี
          ้ ั                                              ั
ต่างๆ เป็ นต้น ซึ่ งเกี่ยวข้องกับประเด็นปั ญหาที่ผวิจยกาลังทาวิจยอยู่ เพื่อให้ได้ความรู้มาเพื่อ
                                                  ู้ ั          ั
ใช้ในการวางแผนอ้างอิง และดาเนินการวิจยอย่างมีคุณภาพ
                                            ั
          การเขี ย นผลการศึ ก ษาจะต้องเขี ยนในลักษณะของการสังเคราะห์ ไ ม่ใ ช่ การย่อหรื อ
ตัดตอนมาปะติดปะต่อกัน โดยนาเสนอประเด็นที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุ นหรื อชี้ ประเด็นที่
โต้แย้ง เพื่อให้เห็นกรอบการวิจย หรื อประเด็นปั ญหาการวิจย นอกจากนี้ ควรเสนอผลการศึกษา
                               ั                        ั
ที่เป็ นเหตุผลของการกาหนดวิธีการศึกษา และในการเขียนควรระบุแหล่งอ้างอิงไว้ดวย   ้
6


10. วิธีดาเนินการวิจัย
       ให้ระบุถึงวิธีดาเนินการวิจย อาจเขียนเป็ นขั้นตอน ซึ่งประกอบด้วยดังนี้
                                  ั
       1. ขั้นเตรียมการ ควรระบุรายละเอียดเป็ นข้อๆ เกี่ยวกับ
           1.1 การรวบรวมข้อมูล การกาหนดปัญหา และการวิเคราะห์หาสาเหตุปัญหา
           1.2 การกาหนดหัวข้อที่จะจัดทาวิจยในชั้นเรี ยน
                                             ั
           1.3 การศึกษา หลักการ แนวคิด ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง
           1.4 การกาหนดกรอบโครงร่ างในการสร้ างหรื อพัฒนานวัตกรรมการเรี ยน
               การสอนที่จะใช้แก้ปัญหาหรื อพัฒนาผูเ้ รี ยน
       2. ขั้นดาเนินการ ควรระบุรายละเอียดเป็ นข้อๆ เกี่ยวกับ
           2.1 การสร้างหรื อพัฒนานวัตกรรมการเรี ยนการสอน โดยเขียนขยายกรอบ
               โครงร่ างของนวัตกรรมดังกล่าวว่ามีส่วนประกอบอะไรบ้าง มีรูปแบบ
               หรื อลักษณะอย่างไร อาจเขียนแสดงเป็ นแผนภูมิหรื อแผนภาพก็ได้ และ
               จะนาไปทดลองหาประสิ ทธิภาพโดยวิธีการใด กับใคร จานวนเท่าใด
                                               ่
           2.2 การสร้างเครื่ องมือวัด ให้ระบุวาจะสร้างเครื่ องมือชนิดใดบ้างจะมีการหา
               คุณภาพของเครื่ องมือวัด โดยวิธีการใด กับใครบ้าง
           2.3 การนานวัตกรรมไปทดลองใช้จริ งในรู ปแบบการทดลองแบบใด ใช้กบ           ั
               กลุ่มประชากรหรื อกลุ่มตัวอย่าง จานวนเท่าใด เมื่อใด
           2.4 การวิเคราะห์ขอมูลและสถิติที่ใช้ ให้ระบุว่าจะวิเคราะห์ขอมูลโดยใช้
                               ้                                           ้
               วิธีการใด และใช้สถิติอะไรในการรายงานผลการวิจยในชั้นเรี ยน
                                                                  ั
       3. ขั้นสรุ ปผลและการเผยแพร่ อาจระบุว่าจะนาเสนอรายงานการวิจยโดยการ     ั
           แบ่งหัวข้อหรื อหมวดหมู่อย่างไรบ้าง และจะมีการเผยแพร่ อย่างไร



11.ปฏิทนปฏิบัติงาน
       ิ
       เป็ นการวางแผนการทางาน ซึ่ งควรสอดรับกับขั้นตอนการทาวิจยและการกาหนด
                                                              ั
ระยะเวลาควรมีความเป็ นไปได้ในการปฏิบติ ในปฏิ ทินปฏิ บติงานควรจะประกอบไปด้วย
                                      ั              ั
กิจกรรม ขั้นตอนและระยะเวลาที่ปฏิบติ
                                 ั
7


  12. เอกสารอ้างอิง
                                    กรอบการวิจัย
           ระบุถึงเอกสารต่าง ๆ เช่น งานวิจย บทความ ตารา หรื อข้อมูลอื่นๆ ที่ผวิจยนามา
                                          ั                                  ู้ ั
  อ้างอิง สาหรับการเขียนจะยึดระบบการเขียนอ้างอิงหรื อบรรณานุกรมแบบหนึ่งแบบใดก็ได้




      ในกรณี ที่ผวิจยมีความชานาญในการทาวิจยแล้ว หรื อเป็ นการทาวิจยที่ไม่ได้ขอทุนวิจย
                 ู้ ั                          ั                   ั                  ั
จากหน่วยงานต่างๆ ก็ไม่จาเป็ นต้องเขียนเค้าโครงเต็มรู ป แต่อาจเขียนเป็ น กรอบการวิจย ั
(Research Framework) ซึ่ งเป็ นแผนการวิจยที่แสดงเค้าโครงอย่างสังเขปของการวิจย โดยมี
                                             ั                                ั
รายละเอียดไม่มาก นามาใช้ในกรณี ทาวิจยในชั้นเรี ยนได้ กรอบการวิจยมีส่วนประกอบดังนี้
                                           ั                    ั
      1. หัวข้อ (ชื่อเรื่ อง) ของการวิจย ั
      2. ปั ญหาและสาเหตุที่ตองการแก้ไขหรื อพัฒนา
                                  ้
      3. วัตถุประสงค์
      4. หลักการ ทฤษฎีอางอิงที่สาคัญและเกี่ยวข้องที่นามาแก้ปัญหา หรื อ สร้างนวัตกรรมที่
                              ้
         สอดคล้องกับปั ญหาการวิจย      ั
      5. แนวทางของวิธีการหรื อนวัตกรรมที่นามาแก้ปัญหา หรื อพัฒนารู ปแบบที่นาไปใช้
         วิธีวจย
              ิั
      6. ระยะเวลาในการวิจย      ั
      7. เอกสารอ้างอิง
8


                                ตัวอย่าง เค้ าโครงการวิจัยในชั้นเรียน


เรื่อง การสร้างและพัฒนาชุดฝึ กทักษะการสังเกต ในรายวิชา ว 101 สาหรับนักเรี ยนชั้น
       มัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนแจ่งหัวลินวิทยาคม

ผู้วจัย นายวีระศักดิ์ ชมภูคา
    ิ

ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา

         ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็ นทักษะที่ มีความสาคัญเป็ นอย่างยิ่งสาหรั บ
นักเรี ยน นอกจากทักษะดังกล่าวจะเป็ นพื้นฐานที่ มีความสาคัญต่อการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์
โดยตรงแล้ว ยังมีผลโดยอ้อมต่อการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนในรายวิชาอื่นๆ ตลอดจนถึงการนาเอา
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวตประจาวันอีกด้วย
                                                     ิ
         จากข้อมูลการวัดผลประเมินผลด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของ นักเรี ยน
                                            ่
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ในปี การศึกษาที่ผานมาพบว่านักเรี ยนร้อยละ 65 ยังมีทกษะการสังเกตอยูใน
                                                                                   ั              ่
เกณฑ์ต่า ซึ่ งทักษะการสังเกตเป็ นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ข้ นพื้นฐานที่จาเป็ น สาหรับ
                                                                            ั
การนาไปใช้ ในการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาที่สูงขึ้นต่อไป ซึ่ งจะมีผลต่อ
การเรี ยนรู้ การคิดเป็ น ทาเป็ น แก้ปัญหาเป็ น และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนโดยตรง
         สาเหตุ ส าคัญ ที่ ท าให้ นั ก เรี ยนมี ท ัก ษะการสั ง เกตอยู่ ใ นระดับ ต่ า น่ า จะมาจากครู มี
กิจกรรมให้นกเรี ยนได้ฝึกทักษะการสังเกตน้อย จึงได้จดสร้างและพัฒนาชุดฝึ กทักษะการสังเกตขึ้น
                ั                                          ั
              ั
สาหรับใช้กบนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ผูวิจยเห็ นว่าการใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกตนี้ มีความ
                                                       ้ ั
เหมาะสมที่จะทาให้นกเรี ยนมีความสามารถด้านทักษะการสังเกตเพิ่มขึ้น และทาให้ผลการเรี ยนรู้
                        ั
ในวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรี ยนบรรลุตามจุดประสงค์ของการเรี ยนการสอนได้เป็ นอย่างดี
9

วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
        1. เพื่อสร้างและพัฒนาชุดฝึ กทักษะการสังเกต สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
        2. เพื่อหาประสิ ทธิภาพของชุดฝึ กทักษะการสังเกต
        3. เพื่อพัฒนาความสามารถด้านทักษะการสังเกตของนักเรี ยน

สมมติฐานของการวิจัย
       นักเรี ยนมีทกษะการสังเกตสู งขึ้นหลังการใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกต
                   ั

ขอบเขตของการวิจัย
      1. ประชากรเป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนแจ่งหัวลินวิทยาคม
      2. กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนแจ่งหัวลินวิทยาคม
         ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2544 จานวน 3 ห้องเรี ยน
      3. ตัวแปรที่ศึกษาในการวิจยครั้งนี้
                                    ั
         3.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ชุดฝึ กทักษะการสังเกต
         3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความสามารถด้านทักษะการสังเกตของนักเรี ยน
      4. ระยะเวลาที่ใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกต สัปดาห์ที่ 3 - 4 ภาคเรี ยนที่ 1
         ปี การศึกษา 2542
      5. เครื่ องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสังเกต แบบประเมินผลการปฏิบติ        ั
         กิจกรรม แบบทดสอบ
      6. เนื้อหาสาระ การใช้ประสาทสัมผัสในการสังเกต ข้อมูลจากการสังเกต การฝึ กการ
         สังเกต

ข้ อตกลงเบืองต้ น
           ้
     การใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกตนี้จะต้องให้นกเรี ยนได้ปฏิบติจริ งตามขั้นตอนที่กาหนด
                                             ั             ั

คาจากัดความทีใช้ ในการวิจัย
               ่
     1. ชุดฝึ กทักษะการสังเกต หมายถึง กระบวนการฝึ กปฏิบติตามขั้นตอนโดยแบ่งทักษะ
                                                            ั
         การสังเกตเป็ น 3 หน่ วยย่อย ซึ่ งในแต่ละหน่ วยประกอบด้วยแนวคิด จุดประสงค์
         เนื้อหา กิจกรรม และแบบประเมิน
10

      2. ความสามารถด้านทักษะการสังเกต หมายถึง คะแนนที่นกเรี ยนสามารถทาได้จากแบบ
                                                               ั
         วัดปฏิบติทกษะการสังเกตที่ครู ผสอนสร้างขึ้นใช้ ทั้งก่อนและหลังการใช้ ชุ ดฝึ กทักษะ
                 ั ั                   ู้
         การสังเกต

ประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ
          ี่
    1. นักเรี ยนนาทักษะการสังเกตไปใช้ในชีวตประจาวัน
                                                 ิ
    2. นักเรี ยนมีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์
    3. นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์ สูงขึ้น

วิธีดาเนินการวิจัย

    1. ขั้นเตรียมการ
       1.1         ศึกษาข้อมู ลจากการวัดผลประเมินผลวิชาวิทยาศาสตร์ ในรายวิชา ว 101
               ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 แล้วสรุ ปถึงปั ญหาในการเรี ยนการสอน หรื อสิ่ งที่ตอง
                                                                                        ้
               ปรับปรุ งพัฒนา
       1.2 กาหนดหัวข้อที่จะจัดทาวิจยในชั้นเรี ยน เพื่อแก้ปัญหาหรื อพัฒนา
                                          ั
       1.3 ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่จะทา การวิจย ั
               ในชั้นเรี ยน
       1.4 กาหนดกรอบโครงร่ างในการสร้างและพัฒนาชุ ดฝึ กทักษะการสังเกต
    2. ขั้นดาเนินการ
          2.1 สร้างชุดฝึ กทักษะการสังเกต โดยแบ่งเป็ น 3 หน่วย ดังนี้
               หน่วยที่ 1 การใช้ประสาทสัมผัสในการสังเกต
               หน่วยที่ 2 ข้อมูลจากการสังเกต
               หน่วยที่ 3 การฝึ กการสังเกต
                   ในชุ ด ฝึ กฯ      แต่ ล ะหน่ ว ยจะมี รู ปแบบหรื อส่ วนประกอบคื อ แนวคิ ด
              จุดประสงค์ เนื้อหา กิจกรรม และแบบประเมิน
          2.2 จัดทาเครื่ องมือวัดทักษะการสังเกต โดยสร้ างเป็ นแบบวัดทักษะการปฏิบติจริ ง
                                                                                      ั
              ให้ สั ง เกตจากสถานการณ์ ที่ ก าหนดและประเมิ น ตามประเด็ น เป็ นรายบุ ค ล
              และรายกลุ่ม
11

    2.3 ให้ ผู ้เ ชี่ ย วชาญประเมิ น ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งเหมาะสมของเนื้ อหาสาระ
        กิจกรรมในชุ ดฝึ กฯ และตรวจสอบเครื่ องมือวัด แล้วรวบรวมผลการตรวจสอบเชิง
        เนื้อหาเพื่อการปรับปรุ งเบื้องต้น
    2.4 นาชุดฝึ กทักษะการสังเกตไปทดลองใช้กบนักเรี ยนกลุ่มเล็กจานวน 10 คน เพื่อหา
                                                   ั
        ประสิ ทธิภาพของชุดฝึ กฯ โดยใช้สูตรการหาประสิ ทธิภาพ E1 / E2
       สาหรับการหาประสิ ทธิภาพของชุดฝึ กทักษะการสังเกต โดยใช้สูตร
                         E1 / E2 ได้กาหนดเกณฑ์ไว้เป็ น 80/80
                          E1 คือ (คะแนนเฉลี่ยระหว่างการใช้ชุดฝึ ก / คะแนนเต็ม) คูณ 100
                          E2 คือ (คะแนนเฉลี่ยหลังการใช้ชุดฝึ ก / คะแนนเต็ม) คูณ 100
    2.5 จัดทาแผนการสอนในรายวิชาที่จะนาเอาชุดฝึ กฯ ไปใช้ในกระบวนการเรี ยนการ
        สอน รวมทั้งสิ้ นจานวนรวม 6 คาบ
    2.6 นาชุ ดฝึ กทักษะการสังเกตที่ผ่านการหาประสิ ทธิ ภาพ แล้วไปใช้สอนนักเรี ยนชั้น
        มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษาที่ 2544 จานวน 3 ห้อง โดยใช้รูปแบบ
        การทดลอง O1 X O2 ซึ่ งเป็ นการทดลองใช้กลุ่มตัวอย่างเดียวมีการวัดผล 2 ครั้ง คือ
        ก่อนและหลังการใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกต
    2.7 รวบรวมข้อมูลจากการวัดก่อนและหลังการใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกต
    2.8 การวิเคราะห์ขอมูลและสถิติที่ใช้ทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยก่อนและ
                             ้
        หลังการใช้ชุดฝึ กฯ โดยใช้สถิติ t – test

3.ขั้ นการสรุ ปผลและเผยแพร่
        3.1 เขียนรายงานการวิจยในชั้นเรี ยนเรื่ อง การสร้างและพัฒนาชุดฝึ กทักษะการสังเกต
                                 ั
            สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
        3.2 น าผลที่ ไ ด้ จ ากการวิ จ ัย ครั้ งนี้ ไปพัฒ นาการเรี ยนการสอนวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์
            และเผยแพร่ ให้ผสนใจต่อไป
                              ู้
12


                  ปฏิทนปฏิบัติงานการวิจัยในชั้นเรียน ปี การศึกษา …..............................
                      ิ



     ชื่องานวิจัย .......................................................................................................................
     วิชา .............................................. ชั้น ............. โรงเรียน .................................................

         ระยะเวลา                    เดือน
                                    สั ปดาห์ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
ขั้นตอนดาเนินการ
1. ตรวจสอบและวิเคราะห์ปัญหา
    การเรี ยนการสอน
2. ศึกษาแนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง
3. พัฒนานวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหา
4. การสร้างและพัฒนาเครื่ องมือ
    วิจยในชั้นเรี ยน
       ั
5. การดาเนิ นการวิจยในชั้นเรี ยน
                      ั
    5.1 ดาเนินการแก้ปัญหา
    5.2 เก็บรวบรวมข้อมูล
    5.3 วิเคราะห์ขอมูล
                    ้
6. เขียนรายงานผลการวิจย ั



                                                                          ลงชื่อ ..........................................................
                                                                                (...........................................................)
13

                             แบบประเมินการเขียนเค้ าโครงการวิจัย
ของนาย/นาง/ นางสาว.....................................................โรงเรียน.......................................

คาชี้แจง
       แบบตรวจผลงานการเขียนเค้าโครงการวิจยนี้ จะประเมินองค์ประกอบที่สาคัญ 12 หัวข้อ
                                             ั
โดยกาหนดระดับคุณภาพแต่ละองค์ประกอบเป็ น 3 ระดับ หมายถึงการให้คะแนนเป็ น 1 2 และ 3
ตามระดับคุณภาพ หากข้อใดมี 6 คะแนน จะให้น้ าหนักเป็ น 2 เท่าคูณกับคะแนนที่ได้ การตรวจ
ผลงานการเขียนเค้าโครงการวิจยนี้มีคะแนนรวมทั้งสิ้ น 45 คะแนน
                           ั

เกณฑ์ การให้ คะแนนแต่ ละองค์ ประกอบมีดังนี้

1. การเขียนชื่อเรื่ องเค้าโครงการวิจยในชั้นเรี ยน (3 คะแนน)
                                    ั
      1 หมายถึง เขียนชื่อเรื่ องที่สามารถสื่ อความกว้าง ๆ ไม่แสดงให้เห็นว่ามีตวแปรต้น
                                                                                ั
                       (นวัตกรรม) และตัวแปรตาม(ผลที่ตองการจากการใช้นวัตกรรม)
                                                           ้
      2 หมายถึง เขียนชื่อเรื่ องที่มีการสื่ อความชัดเจนพอสมควรมีตวแปรต้นหรื อตัวแปรตาม
                                                                   ั
                       อย่างใดอย่างหนึ่งปรากฏอยู่ มีความเฉพาะเจาะจงในสิ่ งที่จะศึกษา
                                                                                       ่ ้
      3 หมายถึง เขียนชื่อเรื่ องได้กระทัดรัดชัดเจนมีท้ งตัวแปรต้นและตัวแปรตามปรากฏอยูดวย
                                                         ั
                       อย่างชัดเจน

2. การเขียนความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา (6 คะแนน)

        1 หมายถึง  เขียนขยายความที่สื่อความได้พอสมควรแต่ไม่มีขอมูลสารสนเทศ
                                                                    ้
                   ประกอบการพิจารณาที่ชดเจน    ั
        2 หมายถึง เขียนได้ละเอียดมีความเป็ นเหตุเป็ นผล มีขอมูลสารสนเทศประกอบ ชัดเจน
                                                            ้
                   แต่ยงไม่มีจุดเน้นในการแก้ปัญหาหรื อพัฒนาอย่างชัดเจน
                         ั
        3 หมายถึง  เขี ย นได้ ล ะเอี ย ดชัด เจนตรงประเด็ น โดยเขี ย นจากกว้า งมาสู่ ภ าพเล็ ก
                   เปรี ยบเสมือนรู ปสามเหลี่ยมกลับหัวลง           โดยมี ข้ อ มู ล สารสนเทศ
                   ประกอบ มีการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุเชิงเหตุผลชัดเจนในการทาวิจย           ั
                   มีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีรองรับ            และมีจุดเน้นในการแก้ปัญหาหรื อ
                   พัฒนาอย่างชัดเจน
14

3. การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจยในชั้นเรี ยน (6 คะแนน)
                                ั

     1 หมายถึง      ข้อความที่เขียนยังไม่ค่อยจะสอดคล้องและครอบคลุมกับสิ่ งที่จะศึกษาหรื อ
                    ตัวแปรตาม
     2 หมายถึง       เขียนข้อความที่มีความครอบคลุมสอดคล้องกับสิ่ งที่จะศึกษา หรื อ ตัวแปร
                             ั                                  ่
                    ตามแต่ยงได้ไม่กระชับชัดเจนเท่าที่ควร แต่รู้วางานวิจยจะทาอะไรได้
                                                                       ั
     3 หมายถึง      เขียนข้อความได้กระทัดรัดชัดเจน ตรงประเด็นสอดคล้องกับสิ่ งที่จะศึกษา
                                                           ่
                    หรื อตัวแปรตามอย่างสมเหตุสมผล รู ้ได้วางานวิจยจะทาอะไรได้
                                                                    ั

3. การเขียนสมมติฐานการวิจย (3 คะแนน)
                         ั

     1 หมายถึง เขียนได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจยซึ่ งเป็ นตัวแปรตามที่ตองการศึกษา
                                                    ั                       ้
     2 หมายถึง เขียนได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจยซึ่ งเป็ นตัวแปรตามที่ตองการศึกษา
                                                      ั                       ้
                    และไม่ชดเจนเฉพาะเจาะจงเท่าที่ควร สามารถทดสอบหรื อพิสูจน์ได้
                            ั
     3 หมายถึง เขียนได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจยซึ่ งเป็ นตัวแปรตามที่ตองการศึกษา
                                                        ั                       ้
                    และชัดเจนเฉพาะเจาะจงแล้ว สามารถทดสอบหรื อพิสูจน์ได้โดยใช้สถิติ
                    อย่างเหมาะสม

5. การเขียนขอบเขตการวิจย (3 คะแนน)
                       ั

     1 หมายถึง   มีการเขียนขอบเขตในสิ่ งที่จะศึกษาค่อนข้างจะกว้างไม่เฉพาะเจาะจงและ
               ครอบคลุม
     2 หมายถึง มีการเขียนระบุสิ่งที่สาคัญไว้อย่างชัดเจน ในบางอย่างเช่น ตัวแปรที่ศึกษา
               ช่วงเวลาที่ศึกษา กลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เนื้อหาสาระ
     3 หมายถึง มีการเขียนรายละเอียดสิ่ งที่สาคัญๆได้แก่ ตัวแปรที่จะศึกษา ช่วงเวลา
               กลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่างไว้อย่างชัดเจน เนื้อหาสาระ
15

6. การเขียนข้อตกลงเบื้องต้น (3 คะแนน)

     1 หมายถึง มีการกาหนดเงื่อนไขที่ผวจยไม่ได้ตรวจสอบหรื อไม่ได้ศึกษาบางประเด็น
                                        ู้ ิ ั
     2 หมายถึง มีการกาหนดเงื่อนไขที่ผวจยไม่ได้ตรวจสอบหรื อไม่ได้ศึกษาครบ
                                     ู้ ิ ั
                ทุกประเด็นแต่การเขียนยังไม่ชดเจนพอ
                                                ั
     3 หมายถึง มี การกาหนดเงื่ อนไขที่ ผูวิจยไม่ได้ตรวจสอบหรื อไม่ได้ศึ กษาไว้ ครบทุ ก
                                            ้ ั
                ประเด็นแล้วยังสามารถเขียนได้อย่างชัดเจน

7. การเขียนคาจากัดความที่ใช้ในการวิจย (3 คะแนน)
                                    ั

     1 หมายถึง การเขียนคาจากัดความในเรื่ องที่จะทาวิจยของตนเองแต่ไม่ค่อย ชัดเจนและ
                                                       ั
                ยังไม่ครอบคลุมสาระในเรื่ อง
     2 หมายถึง มีการเขียนคาจากัดความในเรื่ องที่จะทาวิจยของตนเองอย่างชัดเจนแต่ยงไม่
                                                         ั                     ั
                ครอบคลุมสาระในเรื่ อง
     3 หมายถึง มีการเขียนคาจากัดความในเรื่ องที่จะทาวิจยของตนเองอย่างชัดเจนและ
                                                           ั
                ครอบคลุมสาระในเรื่ อง

8. การเขียนประโยชน์ของการวิจย (3 คะแนน)
                               ั
      1 หมายถึง เขียนประโยชน์ของการวิจยยังไม่ชดเจนเพียงพอ
                                           ั       ั
      2 หมายถึง เขียนประโยชน์ของการวิจยได้ชดเจนและสอดคล้องกับผลที่จะได้ตามมา
                                               ั     ั
                 หลังจากที่วตถุประสงค์น้ นบรรลุแล้ว
                             ั           ั
      3 หมายถึง เขียนประโยชน์ของการวิจยได้ชดเจนและสอดคล้องกับผลที่จะได้ตามมา
                                                 ั     ั
                 หลังจากที่ วตถุ ประสงค์น้ นบรรลุ แล้วยังเขียนได้สะท้อนผลที่จะได้รับเป็ น
                                 ั           ั
                 ข้อ ๆ อย่างชัดเจนไม่ปนกัน
16

9. การเขียนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจย (3 คะแนน)
                                       ั
      1 หมายถึง เขียนผลการศึกษาเอกสารต่างๆ เช่น งานวิจย ตารา บทความ ทฤษฎีโดยเขียน
                                                            ั
                  เป็ นตอนไม่ได้วเิ คราะห์
      2 หมายถึง เขียนผลการศึกษาเอกสารต่างๆ โดยมีการสังเคราะห์ขอความเป็ นของตนเอง
                                                                  ้
                  บ้าง และมีแหล่งอ้างอิงบ้างเป็ นบางเรื่ อง
      3 หมายถึง เขียนผลการศึกษาเอกสารต่างๆ โดยมีการสังเคราะห์ขอความสรุ ปเป็ นของ
                                                                    ้
                  ตนเองและได้อางอิงระบุแหล่งที่มาไว้อย่างชัดเจนครบถ้วน
                                   ้
10. การเขียนวิธีดาเนินการวิจย (6 คะแนน)
                            ั
     1 หมายถึง เขียนในส่ วนที่เป็ นขั้นตอนเริ่ มต้นที่สาคัญ ๆ ให้เห็นภาพการเตรี ยมการและ
                    มีการขยายความอย่างชัดเจน
     2 หมายถึง เขียนในส่ วนที่เป็ นขั้นตอนเริ่ มต้นที่สาคัญ ๆ ให้เห็นภาพการเตรี ยมการและมี
                    การขยายความอย่า งชัด เจนแล้วยัง มี ก ารเขี ย นให้ เห็ น ภาพการด าเนิ น งาน
                    ขั้นตอนสาคัญๆ ในระหว่างดาเนินการอย่างชัดเจน เช่น ขั้นสร้างและพัฒนา
                    นวัตกรรมการเรี ยนการสอน ขั้นสร้าง และพัฒ นา เครื่ อ งมื อวัด ขั้นการ
                    นาไปใช้ทดลองและใช้จริ ง ขั้นการวิเคราะห์และเสนอข้อมูล เป็ นต้น
     3 หมายถึง นอกจากเกณฑ์ขอ 2 แล้ว ยังเขียนให้เห็นว่ามีข้ นตอนการจัดทาสรุ ปรายงาน
                                    ้                                     ั
                    และเผยแพร่ งานวิจย  ั
11. การเขียนปฏิทินปฏิบติงาน (3 คะแนน)
                         ั
     1 หมายถึง เขียนสิ่ งที่จะปฏิบติไว้เป็ นข้อ ๆ แต่ไม่ได้ระบุช่วงเวลาที่จะปฏิบติ
                                      ั                                                ั
     2 หมายถึง เขียนสิ่ งที่ จะปฏิ บติไว้เป็ นขั้นเป็ นตอน พร้ อมระบุ ช่วงเวลาที่จะปฏิ บติ
                                             ั                                                  ั
                    แต่ไม่ครบถ้วน
     3 หมายถึง เขี ย นสิ่ ง ที่ จ ะปฏิ บ ัติ ไ ว้อ ย่ า งเป็ นขั้น เป็ นตอนตามล าดับ แสดงเป็ นแบบ
                    ตารางพร้อมระบุช่วงเวลาที่จะปฏิบติไว้ครบถ้วน
                                                              ั
12. การเขียนเอกสารอ้างอิง ( 3 คะแนน)
     1 หมายถึง เขี ย นเอกสารอ้า งอิ ง ไว้เพี ย งบางเรื่ องแต่ ไ ม่ เป็ นไปตามหลัก ของการเขี ย น
                     บรรณานุกรม
     2 หมายถึง เขี ยนเอกสารอ้างอิงไว้ค่อนข้างครบถ้วน แต่ไม่เป็ นไปตามหลักของการ
                     เขียนบรรณานุกรม
17

      3 หมายถึง เขียนเอกสารอ้างอิงไว้ครบถ้วน       และเป็ นไปตามหลักการของการเขียน
                     บรรณานุกรมโดยใช้รูปแบบการเขียนระบบใดระบบหนึ่ง
เกณฑ์ การสรุ ปการประเมินผล
      ได้ 40 – 45 คะแนน       หมายถึง ดีมาก
      ได้ 31 – 39 คะแนน       หมายถึง ดี
      ได้ 23 – 30 คะแนน       หมายถึง พอใช้
      ได้ น้อยกว่า 22 คะแนน หมายถึง ปรับปรุ ง

เอกสารอ้างอิง
ชุดฝึ กปฏิบติการวิจยในชั้นเรี ยนสาหรับครู วิทยาศาสตร์ . ( 8 เมษายน 2550).
           ั       ั
          http://www.nitesonline.net/
18




                                      ใบกิจกรรม 7.11
                       เรื่อง การเขียนเค้ าโครงร่ างการวิจัยในชั้นเรียน



กิจกรรมที่ปฏิบัติ ให้ผเู้ ข้าอบรมดาเนินการตามลาดับดังนี้
       1. ศึกษาใบงาน เรื่ องการเขียนเค้าโครงร่ างการวิจยในชั้นเรี ยน
                                                         ั
       2. นาเอาข้อมูลจากใบกิจกรรมก่อนหน้านี้ มาเขียนเค้าโครงการวิจยในชั้นเรี ยนของกลุ่ม
                                                                       ั
       3. แลกเปลี่ยนเค้าโครงการวิจยในชั้นเรี ยนกับกลุ่มอื่น เพื่อช่วยกันให้ขอคิดเห็น
                                       ั                                      ้
           และข้อเสนอแนะ
       4. เลือกตัวแทนผูเ้ ข้ารับการอบรม 1 – 2 กลุ่ม นาเสนอเค้าโครงการวิจยในชั้นเรี ยน
                                                                            ั
           เพื่อเป็ นการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์Anusara Sensai
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4mrtv3mrtv4
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4
 
Ast.c2560.5tp
Ast.c2560.5tpAst.c2560.5tp
Ast.c2560.5tp
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 

Similar to เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน

Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้skiats
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicepyopyo
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการkrupornpana55
 

Similar to เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน (20)

Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 

More from nang_phy29

รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับรายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับnang_phy29
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามnang_phy29
 
วิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotวิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotnang_phy29
 
เอกสารแนบ
เอกสารแนบเอกสารแนบ
เอกสารแนบnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvnang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2nang_phy29
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์nang_phy29
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53nang_phy29
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทานnang_phy29
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคมnang_phy29
 
โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรnang_phy29
 

More from nang_phy29 (20)

รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับรายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
Swot analysis
Swot analysisSwot analysis
Swot analysis
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
 
วิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotวิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swot
 
เอกสารแนบ
เอกสารแนบเอกสารแนบ
เอกสารแนบ
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
 
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม
 
โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร
 

เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน

  • 1. หน่ วยการเรียนรู้ ท่ี 7.11 เรื่อง การเขียนโครงร่ างและรายงานการวิจัย 11.1 การเขียนเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน การเขียนเค้า โครงการวิจยเป็ นเสมือนพิมพ์ เขี ย วที่ ระบุ รายละเอี ยดของสิ่ งที่ ดาเนิ นการ ั ว่าจะทาอะไร ทาไมต้องทา ทาอย่างไร ทาที่ไหน ทาเมื่อไร และทากับใครนันเอง ่ มี จุดมุ่งหมายให้ผวิจยหรื อผูอ่านทราบกรอบการดาเนิ นการว่าจะวิจยเรื่ องอะไร มีวตถุประสงค์ ู้ ั ้ ั ั อะไร จะใช้ระเบียบวิธีการศึกษาอะไร จะใช้รูปแบบการวิจยอย่างไร และการวิจยมีประโยชน์ ั ั อย่างไร โดยทัวไปเค้าโครงการวิจยในชั้นเรี ยนจะมีองค์ประกอบดังนี้ ่ ั 1.ชื่อเรื่ อง 2. ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา 3.วัตถุประสงค์ของการวิจย ั เค้าโครง 4. สมมติฐานของการวิจย ั 5. ขอบเขตของการวิจย ั 6. ข้อตกลงเบื้องต้น การวิจย ั 7. คาจากัดความที่ใช้ใน การวิจย ั ใน 8. ประโยชน์ของการวิจย ั 9. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจย ั 10. วิธีดาเนินการวิจย ั 11. ปฏิทินปฏิบติงาน ั ชันเรียน ้ 12. เอกสารอ้างอิง รายละเอียด
  • 2. 2 1. ชื่อเรื่อง ชื่ อ เรื่ อ งต้อ งสื่ อ ความหมายได้ดี ก ระทัด รั ด ชัด เจน เฉพาะเจาะจงสิ่ ง ที่ จ ะศึ ก ษาควรมี องค์ประกอบที่สาคัญ 2 ส่ วนคือ ตัวแปรที่จะศึกษาและประชากรหรื อกลุ่มตัวอย่างที่จะแก้ปัญหา หรื อพัฒนา สาหรับตัวแปรที่จะศึกษานั้นอย่างน้อยจะต้องมีตวแปรต้น หรื อนวัตกรรมที่ครู ได้ ั คิดค้นหรื อพัฒนาปรากฏอยูในชื่อของเค้าโครงการวิจยด้วยเสมอ ส่ วนตัวแปรตามจะมีหรื อไม่ก็ ่ ั ได้ในการเขียนควรเร้าความสนใจให้ผอื่นอยากศึกษา ตัวอย่างเช่น ู้  การพัฒ นาและพัฒนาชุ ดฝึ กทัก ษะการสัง เกตในรายวิชา ท 101 ส าหรั บนัก เรี ย น ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ร.ร. แจ่งหัวลินวิทยาคม  การสร้างชุดการสอนเรื่ อง ระบบการย่อยอาหาร ในรายวิชา ว 043 สาหรับนักเรี ยนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 4  การสร้างบทเรี ยนสาเร็ จรู ป เรื่ อง วัฏจักรของน้ า ในรายวิชา ว 101 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1  การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ อง ปริ มาณสารสัมพันธ์ 1 ในรายวิชา ว 431 โดยใช้ ชุดกิจกรรมรู ปแบบการเรี ยนรู้แบบสร้างสรรค์ความรู้ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 4 2. ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา ในหัวข้อนี้ ควรเขียนให้กระชับตรงประเด็น เป็ นเหตุเป็ นผล ชี้ ให้เห็นประเด็นปั ญหาและ นาไปสู่ จุดประสงค์ที่จะทาวิจยในชั้นเรี ยนโดยการเขียนปั ญหาการวิจยในชั้นเรี ยนจากภาพกว้าง ั ั มาสู่ ภาพเล็ก เปรี ยบเสมือนรู ปสามเหลี่ ยมซึ่ งเอาด้านที่เป็ นปลายแหลมอยู่ดานล่าง ดังรู ป ้ เพื่อเป็ นการขมวดลงให้เห็ นความเชื่ อมโยงของความคิ ดจากปั ญหาการวิจยในชั้นเรี ยน ั จนถึ งความสาคัญของปั ญหา โดยการเขียนอาจมี ส่วนประกอบที่สาคัญที่ เสนอประเด็นต่างๆ เป็ นลาดับต่อเนื่อง ดังนี้ - สภาพปั จจุบนที่มีเหตุผลหรื อข้อมูล ที่เป็ นหลักฐานประกอบการจูงใจ ซึ่ งจะนาเข้า ั สู่ ปัญหาหรื อประเด็นที่จะทาการวิจยในชั้นเรี ยน ซึ่ งจะทาให้มีน้ าหนักน่าเชื่ อถือและ ั เห็นความสาคัญว่าควรทาการวิจยในชั้นเรี ยน ั - ที่มาของปั ญหาที่จะทาวิจยในชั้นเรี ยน โดยอธิ บายถึงเบื้องหลัง หรื อสาเหตุสาคัญที่จะ ั ส่ งผลถึงปั ญหาดังกล่าว ซึ่ งจะชี้ให้เห็นถึงสาเหตุของปั ญหาที่แท้จริ งของเรื่ องที่จะทาวิจย ั ในชั้นเรี ยน - ความส าคัญ ของปั ญ หา เป็ นการระบุ ถึ ง ความส าคัญ หรื อ ความจ าเป็ นที่ จ ะต้อ ง ทาการศึกษาและผลการวิจยที่ได้จะเกิดประโยชน์ต่อการจัดการเรี ยนการสอนอย่างไร ั
  • 3. 3 ( ดังนั้นในการเขียนหัวข้อนี้สามารถนาเอาข้อมูลจากการวิเคราะห์ปัญหาการเรี ยนการสอน และวิเคราะห์สาเหตุปัญหาจากผังก้างปลาในใบกิจกรรมที่ 2 มาประกอบ) 3. วัตถุประสงค์ ของการวิจัย การเขียนจะสื บเนื่ องมาจากความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหาและสอดรับกัน เป็ นเหตุเป็ นผลต่อกัน นอกจากนี้ การเขียนจึ งเป็ นการเขี ยนในลักษณะที่บ่งบอกถึ งว่า ผูวิจย “ต้องการรู้ อะไร” หรื อ “ต้องการจะทาอะไร” เกี่ ยวกับงานวิจยในชั้นเรี ยน มักจะ ้ ั ั ขึ้นต้นด้วยคาว่า “เพื่อ” และตามด้วยข้อความที่จะแสดงวิธีทาในการวิจย เช่น เพื่อศึกษา… ั เพื่อเปรี ยบเทียบ… เพื่อสร้าง… เพื่อทดลอง…เป็ นต้น ทั้งนี้ ตองสอดรับกับหัวข้อการวิจย ้ ั ในชั้นเรี ยนด้วย 4. สมมติฐานการวิจัย สมมติฐานการวิจย คือ สิ่ งที่ผวิจยสันนิ ฐาน หรื อคาดคิดว่าจะเป็ นคาตอบของปั ญหา ั ู้ ั หรื อข้อสงสัยที่ทาการศึกษา ไม่ใช่ การคาดเดาแต่ตองมีเหตุผลหรื อผลการวิจยหรื อทฤษฎี ้ ั รองรับสมมติฐานที่ต้ งขึ้น ดังนั้นการตั้งสมมติฐานจึงไม่ใช่การตั้งขึ้นมาลอยๆ แต่ต้ งขึ้นมาเพื่อ ั ั ใช้เป็ นทิศทางในการพิสูจน์หรื อทดสอบหรื อดาเนิ นการวิจยได้อย่างตรงประเด็น พร้อมทั้งช่วย ั จากัดขอบเขตและทาให้ปัญหาการวิจยชัดเจนขึ้น ั การเขียนสมมติฐานวิจยในชั้นเรี ยนควรคานึงถึงสิ่ งต่อไปนี้ ั 1. ควรมีความชัดเจนและเฉพาะเจาะจง ซึ่ งจะง่ายต่อการพิสูจน์หรื อทดสอบ 2. ต้องสามารถทดสอบได้ทางสถิติจากการวิจยในชั้นเรี ยนที่ทาอยู่ ั ่ 3. ต้องสอดคล้องกับสภาพความจริ งที่เป็ นอยูในปั จจุบน ั 4. ใช้ภาษาที่ง่ายๆ มีความหมายชัดเจน 5. สอดรับกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ 6. ชี้ทิศทางของการวิจยและตัวแปรที่ตองการศึกษา ั ้
  • 4. 4 5. ขอบเขตของการวิจัย การกาหนดขอบเขตการวิจย เป็ นการขีดวงการวิจยให้ชดเจนว่าการวิจยครอบคลุ มสิ่ ง ั ั ั ั ใดบ้าง สาหรับการวิจยในชั้นเรี ยน การกาหนดขอบเขตของการวิจยมักกาหนดในส่ วนของ ั ั - ประชากร จะกล่าวถึงภาพรวม เช่น ชั้น ระดับการศึกษา เป็ นต้น - กลุ่มตัวอย่าง เช่น ชั้น ระดับการศึกษา ปี การศึกษา จานวน(คน หรื อ ห้อง) เป็ นต้น - ตัวแปรที่ศึกษา - ตัวแปรอิสระ (ชื่อนวัตกรรมที่ใช้) - ตัวแปรตาม (ผลที่ตองการให้เกิดขึ้นโดยตรงหลังการใช้นวัตกรรม ้ - ระยะเวลา / ช่วงเวลาที่ศึกษา (ช่วงที่มีการใช้นวัตกรรมจริ ง) - เครื่ องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล มีอะไรบ้าง - ขอบเขตเนื้อหาสาระ - สถานที่หรื อพื้นที่ศึกษา (โรงเรี ยน, สังกัด, เขตการศึกษา) 6. ข้ อตกลงเบืองต้ น ้ เป็ นสถานการณ์หรื อเงื่อนไขที่ผวิจยจะไม่ได้ตรวจสอบหรื อไม่ได้ศึกษาในการวิจยครั้ง ู้ ั ั นี้ ซึ่ งเป็ นสถานการณ์ หรื อเงื่ อนไขที่ยอมรับอย่างมีเหตุผล โดยทัวไปจะตกลงเกี่ ยวกับการวัด ่ การวิเคราะห์ขอมูลและการแปลผล ้ 7. คาจากัดความทีใช้ ในการวิจัย ่ เป็ นการให้นิยามแก่ คาศัพ ท์หรื อตัวแปรที่ ปรากฏในงานวิจย ที่ ทาหรื อเรี ยกว่า นิ ย าม ั ปฏิบติการ ซึ่ งการให้คานิยามไม่ใช่เป็ นการให้นิยามตามพจนานุกรมซึ่ งถือว่าเข้าใจตรงกันแล้ว ั แต่เป็ นคานิยามที่สร้างความเข้าใจตรงกันเมื่อผูอื่นได้อ่านงานวิจยเรื่ องนั้น เช่น ้ ั ความสามารถในการสังเกต หมายถึง คะแนนที่นกเรี ยนสามารถทาได้จากแบบวัดการ ั ปฏิบติทกษะการสังเกตที่ครู ผสอนสร้างขึ้น ั ั ู้
  • 5. 5 8.ประโยชน์ ของการวิจัยหรือผลทีคาดว่าจะได้ รับ ่ การเขี ยนประโยชน์ ของการวิจย เป็ นการย้ าให้เห็ นถึ งความสาคัญของการวิจย ที่จะ ั ั ดาเนิ นการว่าเกิ ดประโยชน์อย่างไรบ้า งเมื่ อได้ทาวิจย เป็ นการเขี ยนเพื่อบ่งบอกถึ ง ั ประโยชน์ของการนาไปใช้ในภาพกว้าง โดยคานึงถึงสิ่ งต่อไปนี้ 1) เขียนแยกรายข้อ ไม่ควรเขียนรวมไว้ดวยกันทั้งหมด ้ 2) ต้องสอดรับกับวัตถุประสงค์และเกิดขึ้นจากผลการทาวิจยหรื อนาผลการวิจยไปใช้ ั ั แต่ไม่ใช่ในในลักษณะล้อเลียนวัตถุประสงค์การวิจย ั 3) คุ ณค่าของงานวิจยไม่ได้ข้ ึ นอยู่กบจานวนข้อของประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก ั ั ั ่ ั การวิจย แต่ข้ ึนอยูกบผลที่เกิดขึ้นจริ งจากการทาวิจย ั 9. การศึกษาเอกสารทีเ่ กียวข้ องกับการวิจัย ่ ผูวิจยต้องทาการศึกษาเอกสารต่างๆ เช่น งานวิจย ตารา บทความวิชาการ ทฤษฎี ้ ั ั ต่างๆ เป็ นต้น ซึ่ งเกี่ยวข้องกับประเด็นปั ญหาที่ผวิจยกาลังทาวิจยอยู่ เพื่อให้ได้ความรู้มาเพื่อ ู้ ั ั ใช้ในการวางแผนอ้างอิง และดาเนินการวิจยอย่างมีคุณภาพ ั การเขี ย นผลการศึ ก ษาจะต้องเขี ยนในลักษณะของการสังเคราะห์ ไ ม่ใ ช่ การย่อหรื อ ตัดตอนมาปะติดปะต่อกัน โดยนาเสนอประเด็นที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุ นหรื อชี้ ประเด็นที่ โต้แย้ง เพื่อให้เห็นกรอบการวิจย หรื อประเด็นปั ญหาการวิจย นอกจากนี้ ควรเสนอผลการศึกษา ั ั ที่เป็ นเหตุผลของการกาหนดวิธีการศึกษา และในการเขียนควรระบุแหล่งอ้างอิงไว้ดวย ้
  • 6. 6 10. วิธีดาเนินการวิจัย ให้ระบุถึงวิธีดาเนินการวิจย อาจเขียนเป็ นขั้นตอน ซึ่งประกอบด้วยดังนี้ ั 1. ขั้นเตรียมการ ควรระบุรายละเอียดเป็ นข้อๆ เกี่ยวกับ 1.1 การรวบรวมข้อมูล การกาหนดปัญหา และการวิเคราะห์หาสาเหตุปัญหา 1.2 การกาหนดหัวข้อที่จะจัดทาวิจยในชั้นเรี ยน ั 1.3 การศึกษา หลักการ แนวคิด ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง 1.4 การกาหนดกรอบโครงร่ างในการสร้ างหรื อพัฒนานวัตกรรมการเรี ยน การสอนที่จะใช้แก้ปัญหาหรื อพัฒนาผูเ้ รี ยน 2. ขั้นดาเนินการ ควรระบุรายละเอียดเป็ นข้อๆ เกี่ยวกับ 2.1 การสร้างหรื อพัฒนานวัตกรรมการเรี ยนการสอน โดยเขียนขยายกรอบ โครงร่ างของนวัตกรรมดังกล่าวว่ามีส่วนประกอบอะไรบ้าง มีรูปแบบ หรื อลักษณะอย่างไร อาจเขียนแสดงเป็ นแผนภูมิหรื อแผนภาพก็ได้ และ จะนาไปทดลองหาประสิ ทธิภาพโดยวิธีการใด กับใคร จานวนเท่าใด ่ 2.2 การสร้างเครื่ องมือวัด ให้ระบุวาจะสร้างเครื่ องมือชนิดใดบ้างจะมีการหา คุณภาพของเครื่ องมือวัด โดยวิธีการใด กับใครบ้าง 2.3 การนานวัตกรรมไปทดลองใช้จริ งในรู ปแบบการทดลองแบบใด ใช้กบ ั กลุ่มประชากรหรื อกลุ่มตัวอย่าง จานวนเท่าใด เมื่อใด 2.4 การวิเคราะห์ขอมูลและสถิติที่ใช้ ให้ระบุว่าจะวิเคราะห์ขอมูลโดยใช้ ้ ้ วิธีการใด และใช้สถิติอะไรในการรายงานผลการวิจยในชั้นเรี ยน ั 3. ขั้นสรุ ปผลและการเผยแพร่ อาจระบุว่าจะนาเสนอรายงานการวิจยโดยการ ั แบ่งหัวข้อหรื อหมวดหมู่อย่างไรบ้าง และจะมีการเผยแพร่ อย่างไร 11.ปฏิทนปฏิบัติงาน ิ เป็ นการวางแผนการทางาน ซึ่ งควรสอดรับกับขั้นตอนการทาวิจยและการกาหนด ั ระยะเวลาควรมีความเป็ นไปได้ในการปฏิบติ ในปฏิ ทินปฏิ บติงานควรจะประกอบไปด้วย ั ั กิจกรรม ขั้นตอนและระยะเวลาที่ปฏิบติ ั
  • 7. 7 12. เอกสารอ้างอิง กรอบการวิจัย ระบุถึงเอกสารต่าง ๆ เช่น งานวิจย บทความ ตารา หรื อข้อมูลอื่นๆ ที่ผวิจยนามา ั ู้ ั อ้างอิง สาหรับการเขียนจะยึดระบบการเขียนอ้างอิงหรื อบรรณานุกรมแบบหนึ่งแบบใดก็ได้ ในกรณี ที่ผวิจยมีความชานาญในการทาวิจยแล้ว หรื อเป็ นการทาวิจยที่ไม่ได้ขอทุนวิจย ู้ ั ั ั ั จากหน่วยงานต่างๆ ก็ไม่จาเป็ นต้องเขียนเค้าโครงเต็มรู ป แต่อาจเขียนเป็ น กรอบการวิจย ั (Research Framework) ซึ่ งเป็ นแผนการวิจยที่แสดงเค้าโครงอย่างสังเขปของการวิจย โดยมี ั ั รายละเอียดไม่มาก นามาใช้ในกรณี ทาวิจยในชั้นเรี ยนได้ กรอบการวิจยมีส่วนประกอบดังนี้ ั ั 1. หัวข้อ (ชื่อเรื่ อง) ของการวิจย ั 2. ปั ญหาและสาเหตุที่ตองการแก้ไขหรื อพัฒนา ้ 3. วัตถุประสงค์ 4. หลักการ ทฤษฎีอางอิงที่สาคัญและเกี่ยวข้องที่นามาแก้ปัญหา หรื อ สร้างนวัตกรรมที่ ้ สอดคล้องกับปั ญหาการวิจย ั 5. แนวทางของวิธีการหรื อนวัตกรรมที่นามาแก้ปัญหา หรื อพัฒนารู ปแบบที่นาไปใช้ วิธีวจย ิั 6. ระยะเวลาในการวิจย ั 7. เอกสารอ้างอิง
  • 8. 8 ตัวอย่าง เค้ าโครงการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การสร้างและพัฒนาชุดฝึ กทักษะการสังเกต ในรายวิชา ว 101 สาหรับนักเรี ยนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนแจ่งหัวลินวิทยาคม ผู้วจัย นายวีระศักดิ์ ชมภูคา ิ ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็ นทักษะที่ มีความสาคัญเป็ นอย่างยิ่งสาหรั บ นักเรี ยน นอกจากทักษะดังกล่าวจะเป็ นพื้นฐานที่ มีความสาคัญต่อการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์ โดยตรงแล้ว ยังมีผลโดยอ้อมต่อการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนในรายวิชาอื่นๆ ตลอดจนถึงการนาเอา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวตประจาวันอีกด้วย ิ จากข้อมูลการวัดผลประเมินผลด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของ นักเรี ยน ่ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ในปี การศึกษาที่ผานมาพบว่านักเรี ยนร้อยละ 65 ยังมีทกษะการสังเกตอยูใน ั ่ เกณฑ์ต่า ซึ่ งทักษะการสังเกตเป็ นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ข้ นพื้นฐานที่จาเป็ น สาหรับ ั การนาไปใช้ ในการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาที่สูงขึ้นต่อไป ซึ่ งจะมีผลต่อ การเรี ยนรู้ การคิดเป็ น ทาเป็ น แก้ปัญหาเป็ น และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนโดยตรง สาเหตุ ส าคัญ ที่ ท าให้ นั ก เรี ยนมี ท ัก ษะการสั ง เกตอยู่ ใ นระดับ ต่ า น่ า จะมาจากครู มี กิจกรรมให้นกเรี ยนได้ฝึกทักษะการสังเกตน้อย จึงได้จดสร้างและพัฒนาชุดฝึ กทักษะการสังเกตขึ้น ั ั ั สาหรับใช้กบนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ผูวิจยเห็ นว่าการใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกตนี้ มีความ ้ ั เหมาะสมที่จะทาให้นกเรี ยนมีความสามารถด้านทักษะการสังเกตเพิ่มขึ้น และทาให้ผลการเรี ยนรู้ ั ในวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรี ยนบรรลุตามจุดประสงค์ของการเรี ยนการสอนได้เป็ นอย่างดี
  • 9. 9 วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 1. เพื่อสร้างและพัฒนาชุดฝึ กทักษะการสังเกต สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 2. เพื่อหาประสิ ทธิภาพของชุดฝึ กทักษะการสังเกต 3. เพื่อพัฒนาความสามารถด้านทักษะการสังเกตของนักเรี ยน สมมติฐานของการวิจัย นักเรี ยนมีทกษะการสังเกตสู งขึ้นหลังการใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกต ั ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรเป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนแจ่งหัวลินวิทยาคม 2. กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนแจ่งหัวลินวิทยาคม ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2544 จานวน 3 ห้องเรี ยน 3. ตัวแปรที่ศึกษาในการวิจยครั้งนี้ ั 3.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ชุดฝึ กทักษะการสังเกต 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความสามารถด้านทักษะการสังเกตของนักเรี ยน 4. ระยะเวลาที่ใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกต สัปดาห์ที่ 3 - 4 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2542 5. เครื่ องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสังเกต แบบประเมินผลการปฏิบติ ั กิจกรรม แบบทดสอบ 6. เนื้อหาสาระ การใช้ประสาทสัมผัสในการสังเกต ข้อมูลจากการสังเกต การฝึ กการ สังเกต ข้ อตกลงเบืองต้ น ้ การใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกตนี้จะต้องให้นกเรี ยนได้ปฏิบติจริ งตามขั้นตอนที่กาหนด ั ั คาจากัดความทีใช้ ในการวิจัย ่ 1. ชุดฝึ กทักษะการสังเกต หมายถึง กระบวนการฝึ กปฏิบติตามขั้นตอนโดยแบ่งทักษะ ั การสังเกตเป็ น 3 หน่ วยย่อย ซึ่ งในแต่ละหน่ วยประกอบด้วยแนวคิด จุดประสงค์ เนื้อหา กิจกรรม และแบบประเมิน
  • 10. 10 2. ความสามารถด้านทักษะการสังเกต หมายถึง คะแนนที่นกเรี ยนสามารถทาได้จากแบบ ั วัดปฏิบติทกษะการสังเกตที่ครู ผสอนสร้างขึ้นใช้ ทั้งก่อนและหลังการใช้ ชุ ดฝึ กทักษะ ั ั ู้ การสังเกต ประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ ี่ 1. นักเรี ยนนาทักษะการสังเกตไปใช้ในชีวตประจาวัน ิ 2. นักเรี ยนมีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์ 3. นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์ สูงขึ้น วิธีดาเนินการวิจัย 1. ขั้นเตรียมการ 1.1 ศึกษาข้อมู ลจากการวัดผลประเมินผลวิชาวิทยาศาสตร์ ในรายวิชา ว 101 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 แล้วสรุ ปถึงปั ญหาในการเรี ยนการสอน หรื อสิ่ งที่ตอง ้ ปรับปรุ งพัฒนา 1.2 กาหนดหัวข้อที่จะจัดทาวิจยในชั้นเรี ยน เพื่อแก้ปัญหาหรื อพัฒนา ั 1.3 ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่จะทา การวิจย ั ในชั้นเรี ยน 1.4 กาหนดกรอบโครงร่ างในการสร้างและพัฒนาชุ ดฝึ กทักษะการสังเกต 2. ขั้นดาเนินการ 2.1 สร้างชุดฝึ กทักษะการสังเกต โดยแบ่งเป็ น 3 หน่วย ดังนี้ หน่วยที่ 1 การใช้ประสาทสัมผัสในการสังเกต หน่วยที่ 2 ข้อมูลจากการสังเกต หน่วยที่ 3 การฝึ กการสังเกต ในชุ ด ฝึ กฯ แต่ ล ะหน่ ว ยจะมี รู ปแบบหรื อส่ วนประกอบคื อ แนวคิ ด จุดประสงค์ เนื้อหา กิจกรรม และแบบประเมิน 2.2 จัดทาเครื่ องมือวัดทักษะการสังเกต โดยสร้ างเป็ นแบบวัดทักษะการปฏิบติจริ ง ั ให้ สั ง เกตจากสถานการณ์ ที่ ก าหนดและประเมิ น ตามประเด็ น เป็ นรายบุ ค ล และรายกลุ่ม
  • 11. 11 2.3 ให้ ผู ้เ ชี่ ย วชาญประเมิ น ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งเหมาะสมของเนื้ อหาสาระ กิจกรรมในชุ ดฝึ กฯ และตรวจสอบเครื่ องมือวัด แล้วรวบรวมผลการตรวจสอบเชิง เนื้อหาเพื่อการปรับปรุ งเบื้องต้น 2.4 นาชุดฝึ กทักษะการสังเกตไปทดลองใช้กบนักเรี ยนกลุ่มเล็กจานวน 10 คน เพื่อหา ั ประสิ ทธิภาพของชุดฝึ กฯ โดยใช้สูตรการหาประสิ ทธิภาพ E1 / E2 สาหรับการหาประสิ ทธิภาพของชุดฝึ กทักษะการสังเกต โดยใช้สูตร E1 / E2 ได้กาหนดเกณฑ์ไว้เป็ น 80/80 E1 คือ (คะแนนเฉลี่ยระหว่างการใช้ชุดฝึ ก / คะแนนเต็ม) คูณ 100 E2 คือ (คะแนนเฉลี่ยหลังการใช้ชุดฝึ ก / คะแนนเต็ม) คูณ 100 2.5 จัดทาแผนการสอนในรายวิชาที่จะนาเอาชุดฝึ กฯ ไปใช้ในกระบวนการเรี ยนการ สอน รวมทั้งสิ้ นจานวนรวม 6 คาบ 2.6 นาชุ ดฝึ กทักษะการสังเกตที่ผ่านการหาประสิ ทธิ ภาพ แล้วไปใช้สอนนักเรี ยนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษาที่ 2544 จานวน 3 ห้อง โดยใช้รูปแบบ การทดลอง O1 X O2 ซึ่ งเป็ นการทดลองใช้กลุ่มตัวอย่างเดียวมีการวัดผล 2 ครั้ง คือ ก่อนและหลังการใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกต 2.7 รวบรวมข้อมูลจากการวัดก่อนและหลังการใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกต 2.8 การวิเคราะห์ขอมูลและสถิติที่ใช้ทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยก่อนและ ้ หลังการใช้ชุดฝึ กฯ โดยใช้สถิติ t – test 3.ขั้ นการสรุ ปผลและเผยแพร่ 3.1 เขียนรายงานการวิจยในชั้นเรี ยนเรื่ อง การสร้างและพัฒนาชุดฝึ กทักษะการสังเกต ั สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 3.2 น าผลที่ ไ ด้ จ ากการวิ จ ัย ครั้ งนี้ ไปพัฒ นาการเรี ยนการสอนวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ และเผยแพร่ ให้ผสนใจต่อไป ู้
  • 12. 12 ปฏิทนปฏิบัติงานการวิจัยในชั้นเรียน ปี การศึกษา ….............................. ิ ชื่องานวิจัย ....................................................................................................................... วิชา .............................................. ชั้น ............. โรงเรียน ................................................. ระยะเวลา เดือน สั ปดาห์ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 ขั้นตอนดาเนินการ 1. ตรวจสอบและวิเคราะห์ปัญหา การเรี ยนการสอน 2. ศึกษาแนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง 3. พัฒนานวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหา 4. การสร้างและพัฒนาเครื่ องมือ วิจยในชั้นเรี ยน ั 5. การดาเนิ นการวิจยในชั้นเรี ยน ั 5.1 ดาเนินการแก้ปัญหา 5.2 เก็บรวบรวมข้อมูล 5.3 วิเคราะห์ขอมูล ้ 6. เขียนรายงานผลการวิจย ั ลงชื่อ .......................................................... (...........................................................)
  • 13. 13 แบบประเมินการเขียนเค้ าโครงการวิจัย ของนาย/นาง/ นางสาว.....................................................โรงเรียน....................................... คาชี้แจง แบบตรวจผลงานการเขียนเค้าโครงการวิจยนี้ จะประเมินองค์ประกอบที่สาคัญ 12 หัวข้อ ั โดยกาหนดระดับคุณภาพแต่ละองค์ประกอบเป็ น 3 ระดับ หมายถึงการให้คะแนนเป็ น 1 2 และ 3 ตามระดับคุณภาพ หากข้อใดมี 6 คะแนน จะให้น้ าหนักเป็ น 2 เท่าคูณกับคะแนนที่ได้ การตรวจ ผลงานการเขียนเค้าโครงการวิจยนี้มีคะแนนรวมทั้งสิ้ น 45 คะแนน ั เกณฑ์ การให้ คะแนนแต่ ละองค์ ประกอบมีดังนี้ 1. การเขียนชื่อเรื่ องเค้าโครงการวิจยในชั้นเรี ยน (3 คะแนน) ั 1 หมายถึง เขียนชื่อเรื่ องที่สามารถสื่ อความกว้าง ๆ ไม่แสดงให้เห็นว่ามีตวแปรต้น ั (นวัตกรรม) และตัวแปรตาม(ผลที่ตองการจากการใช้นวัตกรรม) ้ 2 หมายถึง เขียนชื่อเรื่ องที่มีการสื่ อความชัดเจนพอสมควรมีตวแปรต้นหรื อตัวแปรตาม ั อย่างใดอย่างหนึ่งปรากฏอยู่ มีความเฉพาะเจาะจงในสิ่ งที่จะศึกษา ่ ้ 3 หมายถึง เขียนชื่อเรื่ องได้กระทัดรัดชัดเจนมีท้ งตัวแปรต้นและตัวแปรตามปรากฏอยูดวย ั อย่างชัดเจน 2. การเขียนความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา (6 คะแนน) 1 หมายถึง เขียนขยายความที่สื่อความได้พอสมควรแต่ไม่มีขอมูลสารสนเทศ ้ ประกอบการพิจารณาที่ชดเจน ั 2 หมายถึง เขียนได้ละเอียดมีความเป็ นเหตุเป็ นผล มีขอมูลสารสนเทศประกอบ ชัดเจน ้ แต่ยงไม่มีจุดเน้นในการแก้ปัญหาหรื อพัฒนาอย่างชัดเจน ั 3 หมายถึง เขี ย นได้ ล ะเอี ย ดชัด เจนตรงประเด็ น โดยเขี ย นจากกว้า งมาสู่ ภ าพเล็ ก เปรี ยบเสมือนรู ปสามเหลี่ยมกลับหัวลง โดยมี ข้ อ มู ล สารสนเทศ ประกอบ มีการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุเชิงเหตุผลชัดเจนในการทาวิจย ั มีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีรองรับ และมีจุดเน้นในการแก้ปัญหาหรื อ พัฒนาอย่างชัดเจน
  • 14. 14 3. การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจยในชั้นเรี ยน (6 คะแนน) ั 1 หมายถึง ข้อความที่เขียนยังไม่ค่อยจะสอดคล้องและครอบคลุมกับสิ่ งที่จะศึกษาหรื อ ตัวแปรตาม 2 หมายถึง เขียนข้อความที่มีความครอบคลุมสอดคล้องกับสิ่ งที่จะศึกษา หรื อ ตัวแปร ั ่ ตามแต่ยงได้ไม่กระชับชัดเจนเท่าที่ควร แต่รู้วางานวิจยจะทาอะไรได้ ั 3 หมายถึง เขียนข้อความได้กระทัดรัดชัดเจน ตรงประเด็นสอดคล้องกับสิ่ งที่จะศึกษา ่ หรื อตัวแปรตามอย่างสมเหตุสมผล รู ้ได้วางานวิจยจะทาอะไรได้ ั 3. การเขียนสมมติฐานการวิจย (3 คะแนน) ั 1 หมายถึง เขียนได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจยซึ่ งเป็ นตัวแปรตามที่ตองการศึกษา ั ้ 2 หมายถึง เขียนได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจยซึ่ งเป็ นตัวแปรตามที่ตองการศึกษา ั ้ และไม่ชดเจนเฉพาะเจาะจงเท่าที่ควร สามารถทดสอบหรื อพิสูจน์ได้ ั 3 หมายถึง เขียนได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจยซึ่ งเป็ นตัวแปรตามที่ตองการศึกษา ั ้ และชัดเจนเฉพาะเจาะจงแล้ว สามารถทดสอบหรื อพิสูจน์ได้โดยใช้สถิติ อย่างเหมาะสม 5. การเขียนขอบเขตการวิจย (3 คะแนน) ั 1 หมายถึง มีการเขียนขอบเขตในสิ่ งที่จะศึกษาค่อนข้างจะกว้างไม่เฉพาะเจาะจงและ ครอบคลุม 2 หมายถึง มีการเขียนระบุสิ่งที่สาคัญไว้อย่างชัดเจน ในบางอย่างเช่น ตัวแปรที่ศึกษา ช่วงเวลาที่ศึกษา กลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เนื้อหาสาระ 3 หมายถึง มีการเขียนรายละเอียดสิ่ งที่สาคัญๆได้แก่ ตัวแปรที่จะศึกษา ช่วงเวลา กลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่างไว้อย่างชัดเจน เนื้อหาสาระ
  • 15. 15 6. การเขียนข้อตกลงเบื้องต้น (3 คะแนน) 1 หมายถึง มีการกาหนดเงื่อนไขที่ผวจยไม่ได้ตรวจสอบหรื อไม่ได้ศึกษาบางประเด็น ู้ ิ ั 2 หมายถึง มีการกาหนดเงื่อนไขที่ผวจยไม่ได้ตรวจสอบหรื อไม่ได้ศึกษาครบ ู้ ิ ั ทุกประเด็นแต่การเขียนยังไม่ชดเจนพอ ั 3 หมายถึง มี การกาหนดเงื่ อนไขที่ ผูวิจยไม่ได้ตรวจสอบหรื อไม่ได้ศึ กษาไว้ ครบทุ ก ้ ั ประเด็นแล้วยังสามารถเขียนได้อย่างชัดเจน 7. การเขียนคาจากัดความที่ใช้ในการวิจย (3 คะแนน) ั 1 หมายถึง การเขียนคาจากัดความในเรื่ องที่จะทาวิจยของตนเองแต่ไม่ค่อย ชัดเจนและ ั ยังไม่ครอบคลุมสาระในเรื่ อง 2 หมายถึง มีการเขียนคาจากัดความในเรื่ องที่จะทาวิจยของตนเองอย่างชัดเจนแต่ยงไม่ ั ั ครอบคลุมสาระในเรื่ อง 3 หมายถึง มีการเขียนคาจากัดความในเรื่ องที่จะทาวิจยของตนเองอย่างชัดเจนและ ั ครอบคลุมสาระในเรื่ อง 8. การเขียนประโยชน์ของการวิจย (3 คะแนน) ั 1 หมายถึง เขียนประโยชน์ของการวิจยยังไม่ชดเจนเพียงพอ ั ั 2 หมายถึง เขียนประโยชน์ของการวิจยได้ชดเจนและสอดคล้องกับผลที่จะได้ตามมา ั ั หลังจากที่วตถุประสงค์น้ นบรรลุแล้ว ั ั 3 หมายถึง เขียนประโยชน์ของการวิจยได้ชดเจนและสอดคล้องกับผลที่จะได้ตามมา ั ั หลังจากที่ วตถุ ประสงค์น้ นบรรลุ แล้วยังเขียนได้สะท้อนผลที่จะได้รับเป็ น ั ั ข้อ ๆ อย่างชัดเจนไม่ปนกัน
  • 16. 16 9. การเขียนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจย (3 คะแนน) ั 1 หมายถึง เขียนผลการศึกษาเอกสารต่างๆ เช่น งานวิจย ตารา บทความ ทฤษฎีโดยเขียน ั เป็ นตอนไม่ได้วเิ คราะห์ 2 หมายถึง เขียนผลการศึกษาเอกสารต่างๆ โดยมีการสังเคราะห์ขอความเป็ นของตนเอง ้ บ้าง และมีแหล่งอ้างอิงบ้างเป็ นบางเรื่ อง 3 หมายถึง เขียนผลการศึกษาเอกสารต่างๆ โดยมีการสังเคราะห์ขอความสรุ ปเป็ นของ ้ ตนเองและได้อางอิงระบุแหล่งที่มาไว้อย่างชัดเจนครบถ้วน ้ 10. การเขียนวิธีดาเนินการวิจย (6 คะแนน) ั 1 หมายถึง เขียนในส่ วนที่เป็ นขั้นตอนเริ่ มต้นที่สาคัญ ๆ ให้เห็นภาพการเตรี ยมการและ มีการขยายความอย่างชัดเจน 2 หมายถึง เขียนในส่ วนที่เป็ นขั้นตอนเริ่ มต้นที่สาคัญ ๆ ให้เห็นภาพการเตรี ยมการและมี การขยายความอย่า งชัด เจนแล้วยัง มี ก ารเขี ย นให้ เห็ น ภาพการด าเนิ น งาน ขั้นตอนสาคัญๆ ในระหว่างดาเนินการอย่างชัดเจน เช่น ขั้นสร้างและพัฒนา นวัตกรรมการเรี ยนการสอน ขั้นสร้าง และพัฒ นา เครื่ อ งมื อวัด ขั้นการ นาไปใช้ทดลองและใช้จริ ง ขั้นการวิเคราะห์และเสนอข้อมูล เป็ นต้น 3 หมายถึง นอกจากเกณฑ์ขอ 2 แล้ว ยังเขียนให้เห็นว่ามีข้ นตอนการจัดทาสรุ ปรายงาน ้ ั และเผยแพร่ งานวิจย ั 11. การเขียนปฏิทินปฏิบติงาน (3 คะแนน) ั 1 หมายถึง เขียนสิ่ งที่จะปฏิบติไว้เป็ นข้อ ๆ แต่ไม่ได้ระบุช่วงเวลาที่จะปฏิบติ ั ั 2 หมายถึง เขียนสิ่ งที่ จะปฏิ บติไว้เป็ นขั้นเป็ นตอน พร้ อมระบุ ช่วงเวลาที่จะปฏิ บติ ั ั แต่ไม่ครบถ้วน 3 หมายถึง เขี ย นสิ่ ง ที่ จ ะปฏิ บ ัติ ไ ว้อ ย่ า งเป็ นขั้น เป็ นตอนตามล าดับ แสดงเป็ นแบบ ตารางพร้อมระบุช่วงเวลาที่จะปฏิบติไว้ครบถ้วน ั 12. การเขียนเอกสารอ้างอิง ( 3 คะแนน) 1 หมายถึง เขี ย นเอกสารอ้า งอิ ง ไว้เพี ย งบางเรื่ องแต่ ไ ม่ เป็ นไปตามหลัก ของการเขี ย น บรรณานุกรม 2 หมายถึง เขี ยนเอกสารอ้างอิงไว้ค่อนข้างครบถ้วน แต่ไม่เป็ นไปตามหลักของการ เขียนบรรณานุกรม
  • 17. 17 3 หมายถึง เขียนเอกสารอ้างอิงไว้ครบถ้วน และเป็ นไปตามหลักการของการเขียน บรรณานุกรมโดยใช้รูปแบบการเขียนระบบใดระบบหนึ่ง เกณฑ์ การสรุ ปการประเมินผล ได้ 40 – 45 คะแนน หมายถึง ดีมาก ได้ 31 – 39 คะแนน หมายถึง ดี ได้ 23 – 30 คะแนน หมายถึง พอใช้ ได้ น้อยกว่า 22 คะแนน หมายถึง ปรับปรุ ง เอกสารอ้างอิง ชุดฝึ กปฏิบติการวิจยในชั้นเรี ยนสาหรับครู วิทยาศาสตร์ . ( 8 เมษายน 2550). ั ั http://www.nitesonline.net/
  • 18. 18 ใบกิจกรรม 7.11 เรื่อง การเขียนเค้ าโครงร่ างการวิจัยในชั้นเรียน กิจกรรมที่ปฏิบัติ ให้ผเู้ ข้าอบรมดาเนินการตามลาดับดังนี้ 1. ศึกษาใบงาน เรื่ องการเขียนเค้าโครงร่ างการวิจยในชั้นเรี ยน ั 2. นาเอาข้อมูลจากใบกิจกรรมก่อนหน้านี้ มาเขียนเค้าโครงการวิจยในชั้นเรี ยนของกลุ่ม ั 3. แลกเปลี่ยนเค้าโครงการวิจยในชั้นเรี ยนกับกลุ่มอื่น เพื่อช่วยกันให้ขอคิดเห็น ั ้ และข้อเสนอแนะ 4. เลือกตัวแทนผูเ้ ข้ารับการอบรม 1 – 2 กลุ่ม นาเสนอเค้าโครงการวิจยในชั้นเรี ยน ั เพื่อเป็ นการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน