SlideShare a Scribd company logo
คู่อันดับ

          คู่อันดับ หมายถึง การนาสมาชิกของสองกลุ่มใด ๆ มาเข้าคู่กันสัญลักษณ์ (a , b) อ่านว่า
คู่อันดับเอบี โดยที่ a เป็นสมาชิกตัวที่ 1 หรือ ตัวหน้าและ b เป็นสมาชิกตัวที่ 2 หรือ ตัวหลัง
ตัวอย่างสิ่งของหรือสิ่งต่างๆ ที่เป็นคู่กันเสมอในชีวิตประจาวัน เช่นพ่อ คู่กับ แม่ ,ลุง คู่กับ ป้า ,
ดวงอาทิตย์ คู่กับ ดวงจันทร์ , ดอกไม้ คู่กับ ผีเสื้อ ซึ่งคู่อันดับสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของ
แผนภาพได้ดังนี้


                   พ่อ                                                      แม่
                    ลุง                                                     ป้า
                 ดวงอาทิตย์                                              ดวงจันทร์
                  ดอกไม้                                                   ผีเสื้อ




ตัวอย่างที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้สมุด 1 เล่ม ราคา 12 บาท , สมุด 2 เล่ม ราคา 24 บาท , สมุด 3
เล่ม ราคา 36 บาท , สมุด 4 เล่ม ราคา 48 บาท จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างจานวนสุมด (เล่ม) และ
ราคา (บาท) ในรูปของตาราง แผนภาพและคู่อันดับ

วิธีทา สามมารถเขียนในรูปตารางได้ดังนี้

                              จานวนสมุด (เล่ม)           ราคา (บาท)
                                    1                        12
                                    2                        24
                                    3                        36
                                    4                        48


       จากตาราง นาข้อมูลของจานวนสมุดและราคาสมุดมาเขียนแสดงความสัมพันธ์เป็นคู่ ๆ ใน
รูปแผนภาพ ได้ดังนี้
จานวนสมุด (เล่ม)                                  ราคา (บาท)

และสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของคู่อันดับได้คือ (1,12), (2,24), (3,36), (4,48)

ตัวอย่างที่ 2    จากแผนภาพดังรูป จงเขียนคู่อันดับทั้งหมด




วิธีทำ            คู่อันดับทั้งหมดได้แก่ ( a , 1 ) , ( a , 2 ) , ( a , 3 ) , ( b , 4 )

ตัวอย่างที่ 3 มีลูกเต๋า 2 ลูก คือ ลูกสีขาว และ ลูกสีดา ถ้าโยนลูกเต๋าทั้งสองลูก จงเขียนคู่อันดับ
แสดงการจับคู่ของจานวนที่ได้จากลูกเต๋าสีขาว กับจานวนที่ได้ จาก ลูกเต๋าสีดา เมื่อ
( 1 ) สมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่อันดับเป็นจานวนที่ได้จากลูกเต๋าสีขาว
 ( 2 ) สมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่อันดับเป็นจานวนที่ได้จากลูกเต๋าสีดา
การเท่ากันของคู่อันดับ
                  (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
เช่น การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนฟองกับราคาไข่
        ซื้อไข่ 1 ฟอง ราคา 2 บาท เขียนแทนด้วย ( 1 , 2 )        ซึ่งไม่เท่ากับ    (2,1)
         ซื้อไข่ 2 ฟอง ราคา 4 บาท เขียนแทนด้วย ( 2 , 4 )       ซึ่งไม่เท่ากับ    (4,2)
         ซื้อไข่ 3 ฟอง ราคา 6 บาท เขียนแทนด้วย ( 3 , 6 )       ซึ่งไม่เท่ากับ    (6,3)
        ซื้อไข่ 4 ฟอง ราคา 8 บาท เขียนแทนด้วย ( 4 , 8 )        ซึ่งไม่เท่ากับ    (8,4)
    การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคาไข่กับจานวนฟอง
         ไข่ราคา 2 บาท จานวน 1 ฟอง เขียนแทนด้วย ( 2 , 1 )      ดังนั้นจะได้ว่า
         ไข่ราคา 4 บาท จานวน 2 ฟอง เขียนแทนด้วย ( 2 , 4 )
         ไข่ราคา 6 บาท จานวน 3 ฟอง เขียนแทนด้วย ( 6 , 3 )
         ไข่ราคา 8 บาท จานวน 4 ฟอง เขียนแทนด้วย ( 8 , 4 )
สรุปคู่อันดับ


1 คู่อันดับหมายถึงความสัมพันธ์ของการจับคู่ระหว่างสมาชิกสองตัว จากกลุ่ม 2 กลุ่ม
2 ความสัมพันธ์ดังกล่าว สามารถเขียนได้ 2 แบบคือ
          แบบที่หนึ่ง : เขียนให้อยู่ในรูปของคู่อันดับโดยเขียนสัญลักษณ์แทนด้วยเครื่องหมายวงเล็บ
          แล้วคั่นสมาชิกสองตัวด้วยเครื่องหมายจุลภาค
          แบบที่สอง : เขียนให้อยู่ในรูปแผนภาพ
3 จานวนสมาชิกของกลุ่ม 2 กลุ่มที่นามาแสดงความสัมพันธ์ของคู่อันดับคู่อันดับไม่จาเป็นต้อง
เท่ากันก็ได้

                                                         แบบฝึกหัด

1. จากตารางจงเขียนเป็นแผนภาพแสดงการจับคู่ เขียนคู่อันดับแสดงการอ่าน และบอกความหมาย


                    จานวนวันที่ออมเงิน (วัน )                               1            2             3

                    จานวนเงินที่ออมได้ ( บาท )                              2            4             6




                           สมาชิกกลุ่มที่ 1                   สมาชิกกลุ่มที่ 2
 จานวนวัน         จานวนเงิน
      ( 1,2 ) อ่านว่า...............................................หมายความว่า...........................................
      ( 2,4 ) อ่านว่า...............................................หมายความว่า..........................................
      ( 3,6 ) อ่านว่า...............................................หมายความว่า...........................................

2. ให้นักเรียนหาความสัมพันธ์ของสิ่งใดๆ แล้วเขียนให้อยู่ในรูปแบบของตาราง แผนภาพและคู่
อันดับ
กราฟ

         กราฟ เป็นการเขียนคั่นดับอีกรูปแบบหนึ่งนอกเหนือจากการเขียนแบบวงเล็บ ( , ) และ
การเขียนแบบแผนภาพ กราฟประกอบด้วย แกนตั้ง ( แกน x) และแกนนอน (แกน y) ตัดกันเป็นมุม
ฉาก ณ จุดที่แกน x มีค่าเท่ากับศูนย์และแกน y ก็มีค่าเท่ากับศูนย์เช่นกัน ผลคือเกิดพื้นที่ 4 ส่วน
เรียกว่าจตุภาค คือ
         จตุภาคที่ 1 จะอยู่ตรงมุมขวาบน ค่าของ x และ y มีค่าเป็นจานวนบวกทั้งคู่
 จตุภาคที่         2 จะอยู่ตรงมุมซ้ายบน ค่าของ x มีค่าเป็นจานวนลบ และ y มีค่าเป็นจานวนบวก
 จตุภาคที่         3 จะอยู่ตรงมุมซ้ายล่าง ค่าของ x และ y มีค่าเป็นจานวนลบทั้งคู่
 จตุภาคที่         4 จะอยู่ตรงมุมขวาล่าง ค่าของ x มีค่าเป็นจานวนบวก และ y มีค่าเป็นจานวนลบ
และเมื่อมีจุดอยู่บนกราฟ สามารถเขียนให้อยู่ในรูปคู่อันดับได้โดยลากเส้นจากจุดนั้นไปตั้งกับแกน
ทั้งสอง ระยะจากจุดตัดของแกนถึงจุดที่เส้นตั้งฉากกับแกน x เป็น สมาชิกตัวแรกของคู่อันดับ และ
ระยะจากจุดตัดของแกนถึงจุดที่เส้นตั้งฉากกับแกน y เป็น สมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ ซึ่งเขียนแทน
ด้วย P(x , y) เรียก จุด P ว่ามีพิกัดเป็น (x , y)




หลักการเขียนกราฟของคู่อันดับ (a,b)
    1. นับจากจุดกาเนิดไปตามแนวแกนนอนให้มีระยะทาง a หน่วย แทนสมาชิกตัวหน้าของคู่
       อันดับ
    2. จากจุด a บนแกนนอนที่ได้ในข้อที่ 1 นับตามแนวแกนตั้งขึ้นไปเป็นระยะทาง b หน่วยแทน
       สมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ
3. จะได้จุดแทน (a,b) ตามต้องการ
หลักการอ่านกราฟของคู่อันดับ (a,b)
    1. นับจากจุดกาเนิดไปตามแนวแกนนอนให้มีระยะทาง a หน่วย แทนสมาชิกตัวหน้าของคู่
       อันดับ
    2. จากจุด a บนแกนนอนที่ได้ในข้อที่ 1 นับตามแนวแกนตั้งขึ้นไปเป็นระยะทาง b หน่วยแทน
       สมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ
    3. จะได้จุดแทน (a,b) ตามต้องการ จะอ่านว่า “คู่อันดับเอบี”
การขนานแกนของกราฟ
       กราฟที่ขนานแกน X คือกราฟที่มีค่า b คงที่แต่ค่า a มีการเปลี่ยนแปลง
       และกราฟที่ขนานแกน Y คือกราฟที่มีค่า a คงที่แต่ค่า b มีการเปลี่ยนแปลง

ตัวอย่างที่ 1 จากรูปที่กาหนดให้ จุด A เป็นกราฟของคู่อันดับใด




วิธีทา ตาแหน่งของจุด A อยู่ห่างจากแกนตั้ง 3 หน่วย และอยู่ห่างจากแกนนอน 2 หน่วย ดังนั้น
จุด A เป็นกราฟของคู่อันดับ ( 3 , 2 )

ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนกราฟคู่อันดับ (1,3) , (2,1) , (4,5) , (3,0) และ (0,4)
วิธีทา
แบบฝึกหัด

1.จงเขียนจุดของคู่อันดับต่อไปนี้ A(-5,0), B(-5,3),C(-3,3),D(-3,4),E(-2,2),F(-2,1),G(3,1),

H(6,3),I(6,2),J(4,0),K(4,-4),L(0,-4),M(2,-2), N(-2.-2),O(-2,-4),P(-5,-4),Q(-3,0) บนกราฟ

พร้อมทั้งลากเส้นเชื่อมจุด A-Q พร้อมทั้งอ่านจุดของคู่อันดับ




                จุดของคู่อันดับ                                  คาอ่าน / ความหมาย
                    A(-5,0)                                คู่อันดับ -5 , 0 / x = -5 , y = 0
                    C(-3,3)
                    E(-2,2)
                    G(3,1)
                   M(2,-2)
                   O(-2,-4)
                    Q(-3,0)
การนาคู่อันดับและกราฟไปใช้

ตัวอย่างที่ 1 จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้น้ามันของชาวจังหวัดเชียงใหม่ ใน
เดือนสิงหาคม ปี 2547 และราคาน้ามันเบนซินมีราคาลิตรละ 19 บาท จงตอบคาถามต่อไปนี้




                                                              (1) น้ามัน 9 ลิตร ราคาเท่าใด
                                                              (2) เงิน 209 บาท ซื้อน้ามันได้กี่ลิตร




วิธีทา สามารถเขียนกราฟใหม่ได้ดังนี้
(1) ตอบ จากตาแหน่งแสดงปริมาณน้ามัน 9 ลิตร ลากเส้นตรงให้ขนานกับแกนตั้งไป
ตัดกราฟและจากจุดที่ตัดกราฟลากเส้นตรงขนานแกนนอนไปตัดแกนที่แสดงราคาน้ามัน เป็นเงิน
171 บาทดังนั้น น้ามัน 9 ลิตร เป็นราคา 171 บาท
(2) ตอบ จากตาแหน่งแสดงราคาน้ามัน 209 ลิตร ลากเส้นตรงให้ขนานกับแกนนอนไปตัดกราฟและ
จากจุดที่ตัดกราฟลากเส้นตรงขนานแกนตั้งไปตัดที่แกนแสดงจานวนน้ามันเป็นปริมาณ 11 ลิตร
ดังนั้น เงิน 209 ลิตร จะซื้อน้ามันได้ 11 ลิตร

ตัวอย่างที่ 2 ปล่อยก้อนหินจากดาดฟ้าตึกแห่งหนึ่ง ระยะทางที่ก้อนหินตกจะเปลี่ยนไปตามเวลา
ดังแสดงด้วยตารางดังนี้

    เวลา (วินาที)         0         1          2         3         4         5         6
  ระยะทาง (เมตร)          0         5         20        45        80        125       180

ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับระยะทางเขียนเป็นคู่อันดับได้ดังนี้ (0,0), (1,5), (2,20), (3,45), (4,80),
(5,125), (6,180) เมื่อนาคู่อันดับมาเขียนกราฟจะพบว่า ทุกระยะเวลาที่เปลี่ยนไปจะมีระยะทางที่
ก้อนหินตกคู่กันเสมอจนกว่าก้อนหินจะตกถึงพื้น เขียนกราฟได้ดังนี้
จากกราฟจะพบว่า เมื่อทราบเวลาที่ก้อนหินตกผ่านไปจะหาระยะทางที่ก้อนหินตกได้เสมอหรือถ้า
ทราบระยะทางที่ก้อนหินตกจะหาเวลาที่ก้อนหินตกได้ เช่นกัน

1. เวลาตั้งแต่ก้อนหินเริ่มตกจนก้อนหินเคลื่อนที่ได้ทาง 60 เมตร ใช้เวลาเท่าไร
   ตอบ จะพบว่าถ้าลากเส้นตรงจากตาแหน่ง 60 เมตร ให้ขนานแกนเวลาให้มาตัดเส้นกราฟและ
   ลากเส้นตรงจากจุดที่ตัดกราฟให้ขนานกับแกนระยะทางจะไปตัดแกน
   เวลาที่ 3.5 วินาที
   ดังนั้น ก้อนหินตกเคลื่อนที่ได้ของ 60 เมตร เมื่อเวลาผ่านไป 3.5 วินาที
2. นับแต่ก้อนหินตกจนเวลาผ่านไป 5 วินาที ก้อนหินเคลื่อนที่ได้นานเท่าไร
   ตอบ ลากเส้นตรงจากตาแหน่ง 5 วินาที ให้ขนานแกนระยะทางให้มาตัดเส้นกราฟและลากเส้น
   ตรงจากจุดที่ตัดกราฟให้ขนานกับแกนเวลาจะไปตัดแกน
   ระยะทางที่ 125 เมตร
   ดังนั้น เมื่อเวลาผ่านไป 5 วินาที ก้อนหินจะเคลื่อนที่ได้ 125 เมตร

ตัวอย่างที่ 3 กราฟแสดงการเดินทางของรถยนต์ ก และรถยนต์ ข บนถนนสายเดียวกัน แสดงได้
ดังกราฟ




จากกราฟ จะพบว่า
(1) รถยนต์ ก ออกเดินทางเมื่อเวลา 6.00 น. ด้วยความเร็วคงที่ 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
(2) รถยนต์ ข ออกเดินทางเมื่อเวลา 7.00 น. ด้วยความเร็วคงที่ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
(3) รถยนต์ทั้งสองคันแล่นทันกันเมื่อรถยนต์ ก แล่นไปได้นาน 5 ชั่วโมง
(4) รถยนต์ทั้งสองคันแล่นทันกันเมื่อแล่นได้ทาง 400 กิโลเมตร

More Related Content

What's hot

โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
ทับทิม เจริญตา
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
Apirak Potpipit
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
ทับทิม เจริญตา
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
KruGift Girlz
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
Aon Narinchoti
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
KanlayaratKotaboot
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
พิทักษ์ ทวี
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
คุณครูพี่อั๋น
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
KanlayaratKotaboot
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความน่าจะเป็น
ใบงานที่  1  เรื่อง ความน่าจะเป็นใบงานที่  1  เรื่อง ความน่าจะเป็น
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความน่าจะเป็นศศิชา ทรัพย์ล้น
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
วรรณิภา ไกรสุข
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
ทับทิม เจริญตา
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
ทับทิม เจริญตา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
Inmylove Nupad
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความน่าจะเป็น
ใบงานที่  1  เรื่อง ความน่าจะเป็นใบงานที่  1  เรื่อง ความน่าจะเป็น
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความน่าจะเป็น
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 

Similar to คู่อันดับ

แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่Cha Rat
 
ใบความรู้ เรื่องคู่อันดับแลพกราฟ
ใบความรู้ เรื่องคู่อันดับแลพกราฟใบความรู้ เรื่องคู่อันดับแลพกราฟ
ใบความรู้ เรื่องคู่อันดับแลพกราฟ
kanjana2536
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
Khunnawang Khunnawang
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
รัชดาภรณ์ เขียวมณี
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typeTKAomerz
 
Pat1 มีค57
Pat1 มีค57 Pat1 มีค57
Pat1 มีค57
Angkana Potha
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
Manas Panjai
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1Tangkwa Dong
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3krookay2012
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Janova Kknd
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
9GATPAT1
 

Similar to คู่อันดับ (20)

แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
 
ใบความรู้ เรื่องคู่อันดับแลพกราฟ
ใบความรู้ เรื่องคู่อันดับแลพกราฟใบความรู้ เรื่องคู่อันดับแลพกราฟ
ใบความรู้ เรื่องคู่อันดับแลพกราฟ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
Set
SetSet
Set
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 type
 
Pat1 มีค57
Pat1 มีค57 Pat1 มีค57
Pat1 มีค57
 
Relations
RelationsRelations
Relations
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
Math (ศิลป์)
Math (ศิลป์)Math (ศิลป์)
Math (ศิลป์)
 

More from Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 

More from Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 

คู่อันดับ

  • 1. คู่อันดับ คู่อันดับ หมายถึง การนาสมาชิกของสองกลุ่มใด ๆ มาเข้าคู่กันสัญลักษณ์ (a , b) อ่านว่า คู่อันดับเอบี โดยที่ a เป็นสมาชิกตัวที่ 1 หรือ ตัวหน้าและ b เป็นสมาชิกตัวที่ 2 หรือ ตัวหลัง ตัวอย่างสิ่งของหรือสิ่งต่างๆ ที่เป็นคู่กันเสมอในชีวิตประจาวัน เช่นพ่อ คู่กับ แม่ ,ลุง คู่กับ ป้า , ดวงอาทิตย์ คู่กับ ดวงจันทร์ , ดอกไม้ คู่กับ ผีเสื้อ ซึ่งคู่อันดับสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของ แผนภาพได้ดังนี้ พ่อ แม่ ลุง ป้า ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดอกไม้ ผีเสื้อ ตัวอย่างที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้สมุด 1 เล่ม ราคา 12 บาท , สมุด 2 เล่ม ราคา 24 บาท , สมุด 3 เล่ม ราคา 36 บาท , สมุด 4 เล่ม ราคา 48 บาท จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างจานวนสุมด (เล่ม) และ ราคา (บาท) ในรูปของตาราง แผนภาพและคู่อันดับ วิธีทา สามมารถเขียนในรูปตารางได้ดังนี้ จานวนสมุด (เล่ม) ราคา (บาท) 1 12 2 24 3 36 4 48 จากตาราง นาข้อมูลของจานวนสมุดและราคาสมุดมาเขียนแสดงความสัมพันธ์เป็นคู่ ๆ ใน รูปแผนภาพ ได้ดังนี้
  • 2. จานวนสมุด (เล่ม) ราคา (บาท) และสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของคู่อันดับได้คือ (1,12), (2,24), (3,36), (4,48) ตัวอย่างที่ 2 จากแผนภาพดังรูป จงเขียนคู่อันดับทั้งหมด วิธีทำ คู่อันดับทั้งหมดได้แก่ ( a , 1 ) , ( a , 2 ) , ( a , 3 ) , ( b , 4 ) ตัวอย่างที่ 3 มีลูกเต๋า 2 ลูก คือ ลูกสีขาว และ ลูกสีดา ถ้าโยนลูกเต๋าทั้งสองลูก จงเขียนคู่อันดับ แสดงการจับคู่ของจานวนที่ได้จากลูกเต๋าสีขาว กับจานวนที่ได้ จาก ลูกเต๋าสีดา เมื่อ ( 1 ) สมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่อันดับเป็นจานวนที่ได้จากลูกเต๋าสีขาว ( 2 ) สมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่อันดับเป็นจานวนที่ได้จากลูกเต๋าสีดา
  • 3. การเท่ากันของคู่อันดับ (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d เช่น การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนฟองกับราคาไข่ ซื้อไข่ 1 ฟอง ราคา 2 บาท เขียนแทนด้วย ( 1 , 2 ) ซึ่งไม่เท่ากับ (2,1) ซื้อไข่ 2 ฟอง ราคา 4 บาท เขียนแทนด้วย ( 2 , 4 ) ซึ่งไม่เท่ากับ (4,2) ซื้อไข่ 3 ฟอง ราคา 6 บาท เขียนแทนด้วย ( 3 , 6 ) ซึ่งไม่เท่ากับ (6,3) ซื้อไข่ 4 ฟอง ราคา 8 บาท เขียนแทนด้วย ( 4 , 8 ) ซึ่งไม่เท่ากับ (8,4) การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคาไข่กับจานวนฟอง ไข่ราคา 2 บาท จานวน 1 ฟอง เขียนแทนด้วย ( 2 , 1 ) ดังนั้นจะได้ว่า ไข่ราคา 4 บาท จานวน 2 ฟอง เขียนแทนด้วย ( 2 , 4 ) ไข่ราคา 6 บาท จานวน 3 ฟอง เขียนแทนด้วย ( 6 , 3 ) ไข่ราคา 8 บาท จานวน 4 ฟอง เขียนแทนด้วย ( 8 , 4 )
  • 4. สรุปคู่อันดับ 1 คู่อันดับหมายถึงความสัมพันธ์ของการจับคู่ระหว่างสมาชิกสองตัว จากกลุ่ม 2 กลุ่ม 2 ความสัมพันธ์ดังกล่าว สามารถเขียนได้ 2 แบบคือ แบบที่หนึ่ง : เขียนให้อยู่ในรูปของคู่อันดับโดยเขียนสัญลักษณ์แทนด้วยเครื่องหมายวงเล็บ แล้วคั่นสมาชิกสองตัวด้วยเครื่องหมายจุลภาค แบบที่สอง : เขียนให้อยู่ในรูปแผนภาพ 3 จานวนสมาชิกของกลุ่ม 2 กลุ่มที่นามาแสดงความสัมพันธ์ของคู่อันดับคู่อันดับไม่จาเป็นต้อง เท่ากันก็ได้ แบบฝึกหัด 1. จากตารางจงเขียนเป็นแผนภาพแสดงการจับคู่ เขียนคู่อันดับแสดงการอ่าน และบอกความหมาย จานวนวันที่ออมเงิน (วัน ) 1 2 3 จานวนเงินที่ออมได้ ( บาท ) 2 4 6 สมาชิกกลุ่มที่ 1 สมาชิกกลุ่มที่ 2 จานวนวัน จานวนเงิน ( 1,2 ) อ่านว่า...............................................หมายความว่า........................................... ( 2,4 ) อ่านว่า...............................................หมายความว่า.......................................... ( 3,6 ) อ่านว่า...............................................หมายความว่า........................................... 2. ให้นักเรียนหาความสัมพันธ์ของสิ่งใดๆ แล้วเขียนให้อยู่ในรูปแบบของตาราง แผนภาพและคู่ อันดับ
  • 5. กราฟ กราฟ เป็นการเขียนคั่นดับอีกรูปแบบหนึ่งนอกเหนือจากการเขียนแบบวงเล็บ ( , ) และ การเขียนแบบแผนภาพ กราฟประกอบด้วย แกนตั้ง ( แกน x) และแกนนอน (แกน y) ตัดกันเป็นมุม ฉาก ณ จุดที่แกน x มีค่าเท่ากับศูนย์และแกน y ก็มีค่าเท่ากับศูนย์เช่นกัน ผลคือเกิดพื้นที่ 4 ส่วน เรียกว่าจตุภาค คือ จตุภาคที่ 1 จะอยู่ตรงมุมขวาบน ค่าของ x และ y มีค่าเป็นจานวนบวกทั้งคู่ จตุภาคที่ 2 จะอยู่ตรงมุมซ้ายบน ค่าของ x มีค่าเป็นจานวนลบ และ y มีค่าเป็นจานวนบวก จตุภาคที่ 3 จะอยู่ตรงมุมซ้ายล่าง ค่าของ x และ y มีค่าเป็นจานวนลบทั้งคู่ จตุภาคที่ 4 จะอยู่ตรงมุมขวาล่าง ค่าของ x มีค่าเป็นจานวนบวก และ y มีค่าเป็นจานวนลบ และเมื่อมีจุดอยู่บนกราฟ สามารถเขียนให้อยู่ในรูปคู่อันดับได้โดยลากเส้นจากจุดนั้นไปตั้งกับแกน ทั้งสอง ระยะจากจุดตัดของแกนถึงจุดที่เส้นตั้งฉากกับแกน x เป็น สมาชิกตัวแรกของคู่อันดับ และ ระยะจากจุดตัดของแกนถึงจุดที่เส้นตั้งฉากกับแกน y เป็น สมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ ซึ่งเขียนแทน ด้วย P(x , y) เรียก จุด P ว่ามีพิกัดเป็น (x , y) หลักการเขียนกราฟของคู่อันดับ (a,b) 1. นับจากจุดกาเนิดไปตามแนวแกนนอนให้มีระยะทาง a หน่วย แทนสมาชิกตัวหน้าของคู่ อันดับ 2. จากจุด a บนแกนนอนที่ได้ในข้อที่ 1 นับตามแนวแกนตั้งขึ้นไปเป็นระยะทาง b หน่วยแทน สมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ
  • 6. 3. จะได้จุดแทน (a,b) ตามต้องการ หลักการอ่านกราฟของคู่อันดับ (a,b) 1. นับจากจุดกาเนิดไปตามแนวแกนนอนให้มีระยะทาง a หน่วย แทนสมาชิกตัวหน้าของคู่ อันดับ 2. จากจุด a บนแกนนอนที่ได้ในข้อที่ 1 นับตามแนวแกนตั้งขึ้นไปเป็นระยะทาง b หน่วยแทน สมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ 3. จะได้จุดแทน (a,b) ตามต้องการ จะอ่านว่า “คู่อันดับเอบี” การขนานแกนของกราฟ กราฟที่ขนานแกน X คือกราฟที่มีค่า b คงที่แต่ค่า a มีการเปลี่ยนแปลง และกราฟที่ขนานแกน Y คือกราฟที่มีค่า a คงที่แต่ค่า b มีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างที่ 1 จากรูปที่กาหนดให้ จุด A เป็นกราฟของคู่อันดับใด วิธีทา ตาแหน่งของจุด A อยู่ห่างจากแกนตั้ง 3 หน่วย และอยู่ห่างจากแกนนอน 2 หน่วย ดังนั้น จุด A เป็นกราฟของคู่อันดับ ( 3 , 2 ) ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนกราฟคู่อันดับ (1,3) , (2,1) , (4,5) , (3,0) และ (0,4) วิธีทา
  • 7. แบบฝึกหัด 1.จงเขียนจุดของคู่อันดับต่อไปนี้ A(-5,0), B(-5,3),C(-3,3),D(-3,4),E(-2,2),F(-2,1),G(3,1), H(6,3),I(6,2),J(4,0),K(4,-4),L(0,-4),M(2,-2), N(-2.-2),O(-2,-4),P(-5,-4),Q(-3,0) บนกราฟ พร้อมทั้งลากเส้นเชื่อมจุด A-Q พร้อมทั้งอ่านจุดของคู่อันดับ จุดของคู่อันดับ คาอ่าน / ความหมาย A(-5,0) คู่อันดับ -5 , 0 / x = -5 , y = 0 C(-3,3) E(-2,2) G(3,1) M(2,-2) O(-2,-4) Q(-3,0)
  • 8. การนาคู่อันดับและกราฟไปใช้ ตัวอย่างที่ 1 จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้น้ามันของชาวจังหวัดเชียงใหม่ ใน เดือนสิงหาคม ปี 2547 และราคาน้ามันเบนซินมีราคาลิตรละ 19 บาท จงตอบคาถามต่อไปนี้ (1) น้ามัน 9 ลิตร ราคาเท่าใด (2) เงิน 209 บาท ซื้อน้ามันได้กี่ลิตร วิธีทา สามารถเขียนกราฟใหม่ได้ดังนี้
  • 9. (1) ตอบ จากตาแหน่งแสดงปริมาณน้ามัน 9 ลิตร ลากเส้นตรงให้ขนานกับแกนตั้งไป ตัดกราฟและจากจุดที่ตัดกราฟลากเส้นตรงขนานแกนนอนไปตัดแกนที่แสดงราคาน้ามัน เป็นเงิน 171 บาทดังนั้น น้ามัน 9 ลิตร เป็นราคา 171 บาท (2) ตอบ จากตาแหน่งแสดงราคาน้ามัน 209 ลิตร ลากเส้นตรงให้ขนานกับแกนนอนไปตัดกราฟและ จากจุดที่ตัดกราฟลากเส้นตรงขนานแกนตั้งไปตัดที่แกนแสดงจานวนน้ามันเป็นปริมาณ 11 ลิตร ดังนั้น เงิน 209 ลิตร จะซื้อน้ามันได้ 11 ลิตร ตัวอย่างที่ 2 ปล่อยก้อนหินจากดาดฟ้าตึกแห่งหนึ่ง ระยะทางที่ก้อนหินตกจะเปลี่ยนไปตามเวลา ดังแสดงด้วยตารางดังนี้ เวลา (วินาที) 0 1 2 3 4 5 6 ระยะทาง (เมตร) 0 5 20 45 80 125 180 ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับระยะทางเขียนเป็นคู่อันดับได้ดังนี้ (0,0), (1,5), (2,20), (3,45), (4,80), (5,125), (6,180) เมื่อนาคู่อันดับมาเขียนกราฟจะพบว่า ทุกระยะเวลาที่เปลี่ยนไปจะมีระยะทางที่ ก้อนหินตกคู่กันเสมอจนกว่าก้อนหินจะตกถึงพื้น เขียนกราฟได้ดังนี้
  • 10. จากกราฟจะพบว่า เมื่อทราบเวลาที่ก้อนหินตกผ่านไปจะหาระยะทางที่ก้อนหินตกได้เสมอหรือถ้า ทราบระยะทางที่ก้อนหินตกจะหาเวลาที่ก้อนหินตกได้ เช่นกัน 1. เวลาตั้งแต่ก้อนหินเริ่มตกจนก้อนหินเคลื่อนที่ได้ทาง 60 เมตร ใช้เวลาเท่าไร ตอบ จะพบว่าถ้าลากเส้นตรงจากตาแหน่ง 60 เมตร ให้ขนานแกนเวลาให้มาตัดเส้นกราฟและ ลากเส้นตรงจากจุดที่ตัดกราฟให้ขนานกับแกนระยะทางจะไปตัดแกน เวลาที่ 3.5 วินาที ดังนั้น ก้อนหินตกเคลื่อนที่ได้ของ 60 เมตร เมื่อเวลาผ่านไป 3.5 วินาที 2. นับแต่ก้อนหินตกจนเวลาผ่านไป 5 วินาที ก้อนหินเคลื่อนที่ได้นานเท่าไร ตอบ ลากเส้นตรงจากตาแหน่ง 5 วินาที ให้ขนานแกนระยะทางให้มาตัดเส้นกราฟและลากเส้น ตรงจากจุดที่ตัดกราฟให้ขนานกับแกนเวลาจะไปตัดแกน ระยะทางที่ 125 เมตร ดังนั้น เมื่อเวลาผ่านไป 5 วินาที ก้อนหินจะเคลื่อนที่ได้ 125 เมตร ตัวอย่างที่ 3 กราฟแสดงการเดินทางของรถยนต์ ก และรถยนต์ ข บนถนนสายเดียวกัน แสดงได้ ดังกราฟ จากกราฟ จะพบว่า (1) รถยนต์ ก ออกเดินทางเมื่อเวลา 6.00 น. ด้วยความเร็วคงที่ 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (2) รถยนต์ ข ออกเดินทางเมื่อเวลา 7.00 น. ด้วยความเร็วคงที่ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (3) รถยนต์ทั้งสองคันแล่นทันกันเมื่อรถยนต์ ก แล่นไปได้นาน 5 ชั่วโมง (4) รถยนต์ทั้งสองคันแล่นทันกันเมื่อแล่นได้ทาง 400 กิโลเมตร