SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรูที่ 8
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร         ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3                  ภาคเรียนที่ 1
หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ             เรื่อง กราฟเสนตรง                     เวลา 3 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วด ั
   มาตรฐานการเรียนรู
         มาตรฐาน ค 4.2 ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร
(mathematical mode) อืน แทนสถานการณตางๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใชแกปญหา
                              ่                                                        
   ตัวชี้วัด
         มฐ ค 4.2 ม.3/2 เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มความสัมพันธเชิงเสน
                                                                          ี
         มฐ ค 4.2 ม.3/3 เขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร
         มฐ ค 4.2 ม.3/4 อานและแปลความหมาย กราฟของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรและกราฟอื่น ๆ
    ผลการเรียนรู
         1) สามารถเขียนกราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มความสัมพันธเชิงเสนได
                                                                     ี
         2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   จุดประสงคการเรียนรูสูตัวชี้วัด
          สามารถเขียนกราฟแสดงความเกียวของระหวางปริมาณสองชุดที่มความสัมพันธเชิงเสนได
                                      ่                           ี

สาระสําคัญ
         ความรู
         1. ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธเชิงเสนระหวางปริมาณสองปริมาณอยู
เปนประจํา เชน ปริมาณสินคากับราคา เปนตน และเราสามารถนําความสัมพันธเหลานั้นมาเขียนเปนคู
อันดับได และจากคูอันดับดังกลาว เราก็สามารถนํามาเขียนความสัมพันธในรูปของกราฟแสดงความ
                   
เกียวของระหวางปริมาณสองชุดที่มความสัมพันธเชิงเสนได
   ่                               ี
         2. กราฟเสนตรงสมการที่อยูในรูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A , B , C เปนคาคงตัวที่ A
 และ B ไมเปนศูนยพรอมกัน เรียกสมการนี้วา สมการเชิงเสน และสมการเชิงเสนทุกสมการจะมีกราฟ
เปนเสนตรง
         3. กราฟเสนตรงสามารถนําไปใชแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุด ซึ่งเปนวิธี
แสดงลักษณะของขอมูลไดอยางชัดเจนและรวดเร็ว หรือเมื่อกําหนดปริมาณหนึ่งมาให และตองการทราบ
อีกปริมาณหนึ่งก็สามารถอานจากกราฟได
ทักษะ / กระบวนการ
       การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
   คุณลักษณะอันพึงประสงค
       ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน
                                             
    สมรรถนะสําคัญ
       ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดสรางสรรค กระบวนการปฏิบัติ
       กระบวนการวางแผนการทํางาน

ชิ้นงานหรือภาระงาน
        ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 1

การจัดกิจกรรมการเรียนรู
        ชั่วโมงที่ 1 (กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณทีมีความสัมพันธเชิงเสน)
                                                                           ่
        1) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวา ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธเชิง
เส นระหวา งปริ มาณสองปริม าณอยูเ ปน ประจํา เชน ปริ มาณสิ น คา กับราคา เปน ต น และเราสามารถนํ า
ความสั ม พั น ธ เ หล า นั้ น มาเขี ย นเป น คู อั น ดั บ ได และจากคู อั น ดั บ ดั ง กล า ว เราก็ ส ามารถนํ า มาเขี ย น
ความสัมพันธในรูปของกราฟได
        2) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวา ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธเชิงเสน
ระหวางปริมาณสองปริมาณอยูเปนประจํา เชน ราคาคาโดยสารรถประจําทางกับจํานวนคน ปริมาณสินคา
กับราคา เปนตน

         จากนั้นใหนักเรียนพิจารณาตารางความสัมพันธระหวางจํานวนดินสอกับราคาดินสอ ดังนี้
                        จํานวนดินสอ (แทง)         0 1 2 3 4 5
                          ราคาดินสอ (บาท)          0 3 6 9 12 15

       3) ครูซักถามนักเรียนวาจากความสัมพันธที่ไดจากตาราง เราจะเขียนคูอันดับไดอยางไร โดยที่ครูให
จํานวนแรกเปนจํานวนดินสอ และจํานวนที่สองเปนราคาดินสอจากนั้นครูใหนักเรียนนําความสัมพันธที่ได
จากตารางดังกลาวมาเขียนเปนคูอันดับ จะได (0, 0), (1, 3), (2, 6), (3, 9), (4, 12) และ (5, 15)
เมื่อไดคูอันดับแลว ครูกลาวตอไปวา จากคูอันดับที่เราไดนั้น เราสามารถที่จะนํามาเขียนเปนกราฟ
แสดงความสัมพันธได ตอจากนั้นครูใหนักเรียนเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ ซึ่งจะเขียนไดดังรูป
              ราคาดินสอ (บาท)
                 15                         (5,15)
                 12                   (4,12)
                  9              (3,9)
                  6         (2,6)
                  3 (1,3)
                                                                             จํานวนดินสอ (แทง)
                      0       1       2        3 4             5


         เมือนักเรียนเขียนกราฟเรียบรอยแลว ครูซกถามนักเรียนตอไปวา จากกราฟนักเรียนสรุปอะไร
            ่                                   ั
ไดบาง อภิปรายกันจนไดขอสรุปดังนี้ กราฟที่ไดจะมีจุดแสดงความสัมพันธเรียงกันเปนแนวเสนตรง
                           
         4) ครูใหนักเรียนพิจารณาตารางแสดงความสัมพัน ธระหวางจํานวนคนที่ใชบริก ารรถประจําทาง
กับราคาคาบริการคนละ 8 บาท
                   จํานวนคน        0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
                คาบริการ (บาท) 0 8 16 24 32 40 48 56 64 72 80

         จากนั้นครูลองใหนักเรียนเขียนกราฟแสดงความสัมพัน ธดังกลาว โดยเริ่มจากการซักถามวา จาก
ตารางขางตนเราสามารถเขียนเปนคูอันดับไดอยางไร เมื่อเราใหจํานวนแรกเปนจํานวนคน และจํานวนทีสอง       ่
เปนราคาคาบริการ (นั่นคือ เราจะไดคูอันดับ (0, 0), (1, 8), (2, 16), (3, 24), (4, 32), (5, 40), (6, 48), (7,
56), (8, 64), (9, 72) และ (10, 80) )
         หลังจากที่เราไดคอันดับแลว ครูใหนกเรียนนําคูอันดับที่ไดมาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ ซึ่งจะ
                          ู                ั          
ไดกราฟดังรูป
              คาบริการ (บาท)
                 80                                                     (10,80)

                                                                   (9,72)
                 64                                            (8,64)
                 56                                       (7,56)
                                                      (6,48)
                 40                                (5,40)
                                              (4,32)
                 24                       (3,24)

                  8           (1,8)
                                   (2,16)


                  0                                                               จํานวนคน
                               2          4         6      8         10
ครูกลาววา กราฟที่เราไดจะมีจุดเรียงกันเปนเสนตรงเชนเดียวกัน
          5) ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน เพื่อตรวจสอบความเขาใจ โดยครูกําหนดวันและเวลา
สงงาน
ชั่วโมงที่ 2 กราฟเสนตรง (ตอ)
          1) ทบทวนเกี่ยวกับการเขียนกราฟจากสมการที่มคูอนดับ (x, y)
                                                          ี ั
          2) นักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียนเรื่องกราฟเสนตรง เลือกสุมกลุมนักเรียนมา 3 กลุม
มานําเสนอหนาชั้นเรียนโดยแสดงการเขียนกราฟจากสมการที่กําหนดใหในเอกสาร แลวใหนักเรียนแตละ
กลุมสรุปรวมกัน แลวนําผลการสรุปบันทึกลงในสมุดดังนี้
             สมการทีอยูในรูป Ax + By + C = 0 เมือ A, B, C เปนคาคงตัวที่ A และ B ไมเปน
                      ่                              ่
ศูนยพรอมกัน เรียกสมการนี้วา สมการเชิงเสน และสมการเชิงเสนทุกสมการจะมีกราฟเปนเสนตรง
             ตัวอยาง จงเขียนกราฟของสมการ 2y - x + 2 = 0
                     วิธีทํา หาจุด (x, y) ที่สอดคลองกับสมการ 3 จุด โดยกําหนดคา x จํานวน3 คา
                         แลวแทนคา x ตามกําหนดหาคา y จะได y ออกมา 3 คา ดังตาราง
                                          x -2          0       4
                                           y -2         -1      1
                  จากตารางกําหนดจุด (-2, -2), (0, 1) และ (4, 1) แลวลากเสนตรงผานจุดทั้ง 3 เปนกราฟ
ของสมการ 2y - x + 2 = 0 ดังกราฟตอไปนี้

         ตัวอยาง จงเขียนกราฟของสมการ 3x - 2y - 6 = 0
         วิธีทํา  จาก       3x - 2y - 6 = 0
                                   -2y = -3x + 6
                                            3
                                     y = x-3
                                            2
                  หาคา x และ y ที่สอดคลองกับสมการ
                                  x       -2      0   2
                                  y       -6     -3   0
      กําหนดจุด 3 จุด บนระนาบจํานวนแลวลากเสนตรงผานจุดทั้ง 3 เปนกราฟของสมการ
3x - 2y - 6 = 0 ดังรูป
ชั่วโมงที่ 3 กราฟเสนตรง (ตอ)
          1. ครูนําแผนภูมิรูปสมการ Ax + By + C = 0 มาใหนักเรียนไดพิจารณาการเปลี่ยน
รูปสมการใหอยูในรูป y = ax + b ซึ่งเราเรียกวารูปมาตรฐานของสมการเชิงเสน ที่จะบอกถึง
ลักษณะของกราฟในลักษณะตางๆได
          2. เมือนักเรียนไดพิจารณาแลว นักเรียนแบงกลุมๆละ 4-5 คน ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน
                 ่
เรืองกราฟเสนตรง เมื่อทําเสร็จเรียบรอยแลวใหเปลียนกันตรวจระหวางกลุมโดย ใชใบเฉลยทีครูนํามาให
   ่                                                ่                                 ่
พรอมกับสงผลคะแนนใหครูเพือจะนําไปบันทึกลงในแบบบันทึกการประเมิน
                                   ่
          3. ครูนําตัวอยางมาใหนักเรียนแตละกลุมพิจารณา ดังนี้
                   สมการที่อยูในรูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A , B , C เปนคาคงตัวที่ A และ B ไม
เปนศูนยพรอมกัน เรียกสมการนี้วา สมการเชิงเสน และสมการเชิงเสนทุกสมการจะมีกราฟเปนเสนตรง
           จากรูปสมการ               Ax + By + C           = 0
           เปลี่ยนรูปจะได                       By        = -Ax - C
                                                                 A    C
                                                      y    =  x
                                                                 B    B
                                        A               C
                                 ให   a ,   b จะไดวา
                                        B                B

                                        y  aX  b


          ซึ่งรูปสมการ y = ax + b นี้เราเรียกวารูปมาตรฐานของสมการเชิงเสน ซึ่งรูปนี้บอก
ถึงลักษณะของกราฟ ไดดังนี้



                        ถา a > 0 กราฟจะทํามุมแหลมกับแกน x
                        ถา a < 0 กราฟจะทํามุมปานกับแกน x
                        ถา a = 0 กราฟจะขนานกับแกน x
                        กราฟจะตัดแกน y ที่จุด ( 0 , b ) เสมอ
                        ถา b = 0 กราฟจะผานจุด ( 0 , 0 )



         ตัวอยาง จงเขียนกราฟของสมการตอไปนี้ลงบนแกนคูเดียวกัน
1) y = 3x - 2                    2) y = -3x -2
                      3) y = 3x                        4) y = -1
          วิธีทํา
                                             y
                               y=-3x-2
                                   2     y=3x-2
                                  1 y=3x
                         -3 -2 -1 0 1 2 3                         x
                                  -1         y=-1
                                  -2




        และเขียนกราฟลงบนกระดานที่ครูนํามา ใหกลุมใดทีเ่ ขียนเสร็จกอนเปนกลุมทีชนะและ
                                                                                 ่
        ใหนําเสนอหนาชันใหเพือนไดดและศึกษา
                        ้      ่     ู

กิจกรรมที่ 4 กราฟเสน                                                       เวลา 1        ชั่วโมง
    1. นักเรียนศึกษาแผนภูมิทครูนํามาใหนกเรียนพิจารณา ดังนี้
                            ี่          ั

                    1) กราฟจะตัดแกน y ที่จุด x = 0 เสมอ
                    2) กราฟจะตัดแกน x ที่จุด y = 0 เสมอ



           เมือนักเรียนไดศึกษาแผนภูมแลว ศึกษาตัวอยางตอไปนี้
              ่                      ิ

  ตัวอยาง จงหาจุดตัดแกน x และแกน y ของกราฟของสมการ 2x - 3y + 6 = 0
  วิธีทํา เนืองจากกราฟตัดแกน x ที่จุด ที่ y = 0
             ่
               สมมติใหกราฟตัดแกน x ที่ ( x , 0 )
               แทนคา x = x , y = 0 ในสมการจะได
                                2x - 3(0) + 6 = 0
                                                  6
                                         x =            = -3
                                                  2
เนื่องจากกราฟตัดแกน y ที่จุดที่ y = 0
                     สมมติใหกราฟตัดแกน y ที่จุด ( 0 , y )
                     แทนคา x = 0 , y = y ในสมการจะได
                            2(0) - 3y + 6 = 0
                                                     6
                                     y         =            = 2
                                                     3
                     กราฟตัดแกน x ที่ ( - 3 , 0 )
                     กราฟตัดแกน y ที่ ( 0 , 2 )                 ตอบ
     ตัวอยาง    จงหาจุดตัดแกน x และแกน y ของสมการ 0.3x - 0.6y = 0.12
     วิธีทํา     ใหกราฟตัดแกน x ที่ ( x , 0 ) จะไดสมการเปน
                               0.3x - 0 = 0.12
                                                    0 . 12
                                          x    =             = 0.4
                                                     0.3
                     ใหตัดแกน y ที่ ( 0 , y ) จะไดสมการเปน
                               0 - 0.6y = 0.12
                                                    0 . 12
                                         y     =            0 . 2
                                                     0.6
         กราฟตัดแกน x ที่ ( 0.4 , 0 ) ตัดแกน y ที่ ( 0 , -0.2 )                 ตอบ
    2.เมือนักเรียนศึกษาตัวอยางแลว นักเรียนคนใดทีสงสัยใหปรึกษาเพือนทีเ่ ขาใจ เสร็จแลวแตละกลุม
         ่                                        ่                ่
รวมกันสรุปตัวอยางทั้งสองตัวอยาง วามีขั้นตอนในการหาจุดตัดของกราฟอยางไร
   3.นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 3.4 และทําใบงานที่ 3.4 บันทึกลงในสมุดแบบฝกหัด
แลวนํามาสงในวันตอไป

กิจกรรมที่ 5 กราฟเสนตรง (ตอ)                                         เวลา 1 ชั่วโมง
    1.นักเรียนกําหนดจุด 2 จุดใดๆ เมือตองการทราบวาสมการของกราฟทีผานจุดทั้งสองนั้นคือ
                                    ่                                ่
สมการใด นักเรียนใชวธีแทนคา ( x , y ) ลงบนสมการ y = ax + b ทั้งสองจุด
                      ิ
แลวจะไดสมการสองสมการ ทีติดคา a , b
                              ่
    2. เมือนักเรียนไดพิจารณาแลว นักเรียนแบงกลุมๆละ 4-5 คน ศึกษาใบความรูที่ 3.5
          ่
และทําใบงานที่ 3.5 เมื่อทําเสร็จเรียบรอยแลวใหเปลี่ยนกันตรวจระหวางกลุม
โดยใชใบเฉลยที่ครูนํามาให

        4. ครูนําตัวอยางมาใหนักเรียนแตละกลุมพิจารณาและเขียนกราฟลงบนกระดานที่ครู
นํามาใหกลุมใดทีเ่ ขียนเสร็จกอนเปนกลุมทีชนะและใหนําเสนอหนาชั้นใหเพื่อนไดดและศึกษาดังนี้
                                             ่                                   ู
       ตัวอยาง จงหาสมการของกราฟทีผานจุด ( 0 , -6 ) และจุด ( 2 , 2 )
                                           ่
       วิธีทํา สมมติใหกราฟของสมการ y = ax + b ผานจุด ( 0 , -6 ) และ ( 2 , 2 )
                       แทนคา x = 0 และ y = -6 ในสมการ y = ax + b จะได
                       ดังนั้น                 y = ax + b
                                                -6 = a(0) + b
                                                b = -6
                       แทนคา x = 2 , y = 2 และ b = -6 ในสมการ y = ax + b
                                                2 = a(2) - 6
                                               2a = 8
                                       a = 4
           ดังนั้น สมการเปน y = 4x - 6 หรือ 4x - y = 0                                ตอบ



       ตัวอยาง    จงหาสมการของกราฟทีผานจุด ( -1 , 2 ) , ( 4 , 1 )
                                     ่
       วิธีทํา      แทนคา x = -1 , y = 2 ในสมการ y = ax + b
                    จะได 2 = -1a + b ……………………………….(1)
                    แทนคา x = 4 , y = 1 ในสมการ y = ax + b
                    จะได 1 = 4a + b ……………………………….(2)
                    (1) - (2)          1 = -5a
                                            a = -1
                                                      5
                    แทนคา      a = -1                   ใน (1)
                                        5
                    จะได       2 = (-1) (- 1 ) + b
                                                5
                                                1         9
                                b = 2-               =
                                                5         5
          สมการ คือ y = - x +              9
                                                    หรือ 5y + x = 9                  ตอบ
                                   5        5
กิจกรรมที่ 6 กราฟเสนตรง (ตอ)                        เวลา 1 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1
     1.นักเรียนตรวจสอบวาจุดที่กําหนดอยูบนเสนตรงของสมการที่กําหนดหรือไม สามารถทําได
โดยใชหลักการที่วา ถาจุด ( a , b ) ใดๆ อยูบนเสนตรง L เมือแทน x ดวย a และ y ดวย b แลว
                                                                ่
สมการ ไมเปนจริงแสดงวาจุด (a , b ) ไมอยูบนเสนตรง L
      2. เมือนักเรียนไดพิจารณาแลว นักเรียนแบงกลุมๆละ 4-5 คน ศึกษาใบความรูที่ 3.6
             ่
และทําใบงานที่ 3.6 เมื่อทําเสร็จเรียบรอยแลวใหเปลี่ยนกันตรวจระหวางกลุม
โดยใชใบเฉลยที่ครูนํามาให
     3. ครูนําตัวอยางมาใหนักเรียนแตละกลุมพิจารณาและเขียนกราฟลงบนกระดานที่ครูนํามา
ใหกลุมใดทีเ่ ขียนเสร็จกอนเปนกลุมทีชนะและใหนําเสนอหนาชันใหเพือนไดดและศึกษา ดังนี้
                                       ่                      ้        ่       ู
         ตัวอยาง จงตรวจสอบดูวา จุดที่กําหนดใหอยูบนกราฟเสนตรงของสมการเชิงเสนที่
                      กําหนดใหหรือไม (-3, 0), (1, 3) ; x + 2y = 7
         วิธีทํา      แทนคา x = -3, y = 0 ในสมการ x + 2y = 7
                      จะได         -3 + 2(0) = 7
                                         -3 = 7     ไมจริง
                          (-3, 0) ไมอยูบนกราฟ x + 2y = 7
                      แทนคา x = 1, y = 3 ในสมการ x + 2y = 7
                      จะได 1 + 2(3) = 7
                                   1 + 6 = 7
                                         7      = 7               ซึ่งเปนจริง
                      ดังนั้น (1, 3) อยูบนกราฟของสมการ x + 2y = 7

   ตัวอยาง จงหาคา k ที่ทําใหคูอันดับ ( -3, 2) เปนจุดบนกราฟของสมการ ky - 10x + 5 = 0
   วิธีทํา   เนื่องจาก (-3, 2) เปนจุดบนกราฟ ky - 10x + 5 = 0
            เมื่อแทนคา x = -3, y = 2 ในสมการจะทําใหสมการเปนจริง
              ดังนั้นจะไดสมการเปน k(2) - 10(-3) + 5 = 0
              แกสมการหาคา k จะได
                                   2k + 30 + 5 = 0
                                                        35
                                            k = -
                                                         2
                                      k = -17.5                              ตอบ
แผนที่

More Related Content

What's hot

เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)
findgooodjob
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32krookay2012
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
Conic section-clip vidva
Conic section-clip vidvaConic section-clip vidva
Conic section-clip vidva
Yoothapichai KH
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1kanjana2536
 
Brands2015 26th-math
Brands2015 26th-mathBrands2015 26th-math
Brands2015 26th-math
Chokchai Taveecharoenpun
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
อนุชิต ไชยชมพู
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒMajolica-g
 
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิตข้อสอบจุดประสงค์เรื่องลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต
sawed kodnara
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2jutarattubtim
 
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3Kasemsan Saensin
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410waradakhantee
 

What's hot (20)

เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
Conic section-clip vidva
Conic section-clip vidvaConic section-clip vidva
Conic section-clip vidva
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
 
Brands2015 26th-math
Brands2015 26th-mathBrands2015 26th-math
Brands2015 26th-math
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
 
Pat1 53
Pat1 53Pat1 53
Pat1 53
 
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิตข้อสอบจุดประสงค์เรื่องลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
 
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
คู่อันดับ
คู่อันดับคู่อันดับ
คู่อันดับ
 

Similar to แผนที่

Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
9GATPAT1
 
ข้อสอบ PAT 1 ปี 53
ข้อสอบ PAT 1 ปี 53ข้อสอบ PAT 1 ปี 53
ข้อสอบ PAT 1 ปี 53Jamescoolboy
 
31202 final532
31202 final53231202 final532
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Suwaraporn Chaiyajina
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Theyok Tanya
 
Pat1 53
Pat1  53Pat1  53
Pat1 53DearPR
 
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Suwicha Tapiaseub
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
Khunnawang Khunnawang
 
แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1yinqpant
 
Pat1 มีค57
Pat1 มีค57 Pat1 มีค57
Pat1 มีค57
Angkana Potha
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typeTKAomerz
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์nongyao9
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
อนุชิต ไชยชมพู
 

Similar to แผนที่ (20)

Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
 
ข้อสอบ PAT 1 ปี 53
ข้อสอบ PAT 1 ปี 53ข้อสอบ PAT 1 ปี 53
ข้อสอบ PAT 1 ปี 53
 
31202 final532
31202 final53231202 final532
31202 final532
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 53
Pat1 53Pat1 53
Pat1 53
 
Pat1 53
Pat1  53Pat1  53
Pat1 53
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
 
Pat1 มีค57
Pat1 มีค57 Pat1 มีค57
Pat1 มีค57
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 type
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 

แผนที่

  • 1. แผนการจัดการเรียนรูที่ 8 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ เรื่อง กราฟเสนตรง เวลา 3 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วด ั มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ค 4.2 ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร (mathematical mode) อืน แทนสถานการณตางๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใชแกปญหา ่  ตัวชี้วัด มฐ ค 4.2 ม.3/2 เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มความสัมพันธเชิงเสน ี มฐ ค 4.2 ม.3/3 เขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร มฐ ค 4.2 ม.3/4 อานและแปลความหมาย กราฟของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรและกราฟอื่น ๆ ผลการเรียนรู 1) สามารถเขียนกราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มความสัมพันธเชิงเสนได ี 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได จุดประสงคการเรียนรูสูตัวชี้วัด สามารถเขียนกราฟแสดงความเกียวของระหวางปริมาณสองชุดที่มความสัมพันธเชิงเสนได ่ ี สาระสําคัญ ความรู 1. ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธเชิงเสนระหวางปริมาณสองปริมาณอยู เปนประจํา เชน ปริมาณสินคากับราคา เปนตน และเราสามารถนําความสัมพันธเหลานั้นมาเขียนเปนคู อันดับได และจากคูอันดับดังกลาว เราก็สามารถนํามาเขียนความสัมพันธในรูปของกราฟแสดงความ  เกียวของระหวางปริมาณสองชุดที่มความสัมพันธเชิงเสนได ่ ี 2. กราฟเสนตรงสมการที่อยูในรูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A , B , C เปนคาคงตัวที่ A และ B ไมเปนศูนยพรอมกัน เรียกสมการนี้วา สมการเชิงเสน และสมการเชิงเสนทุกสมการจะมีกราฟ เปนเสนตรง 3. กราฟเสนตรงสามารถนําไปใชแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุด ซึ่งเปนวิธี แสดงลักษณะของขอมูลไดอยางชัดเจนและรวดเร็ว หรือเมื่อกําหนดปริมาณหนึ่งมาให และตองการทราบ อีกปริมาณหนึ่งก็สามารถอานจากกราฟได
  • 2. ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ คุณลักษณะอันพึงประสงค ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน  สมรรถนะสําคัญ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดสรางสรรค กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการวางแผนการทํางาน ชิ้นงานหรือภาระงาน ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู ชั่วโมงที่ 1 (กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณทีมีความสัมพันธเชิงเสน) ่ 1) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวา ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธเชิง เส นระหวา งปริ มาณสองปริม าณอยูเ ปน ประจํา เชน ปริ มาณสิ น คา กับราคา เปน ต น และเราสามารถนํ า ความสั ม พั น ธ เ หล า นั้ น มาเขี ย นเป น คู อั น ดั บ ได และจากคู อั น ดั บ ดั ง กล า ว เราก็ ส ามารถนํ า มาเขี ย น ความสัมพันธในรูปของกราฟได 2) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวา ในชีวิตประจําวันนั้น เราจะสังเกตเห็นถึงความสัมพันธเชิงเสน ระหวางปริมาณสองปริมาณอยูเปนประจํา เชน ราคาคาโดยสารรถประจําทางกับจํานวนคน ปริมาณสินคา กับราคา เปนตน จากนั้นใหนักเรียนพิจารณาตารางความสัมพันธระหวางจํานวนดินสอกับราคาดินสอ ดังนี้ จํานวนดินสอ (แทง) 0 1 2 3 4 5 ราคาดินสอ (บาท) 0 3 6 9 12 15 3) ครูซักถามนักเรียนวาจากความสัมพันธที่ไดจากตาราง เราจะเขียนคูอันดับไดอยางไร โดยที่ครูให จํานวนแรกเปนจํานวนดินสอ และจํานวนที่สองเปนราคาดินสอจากนั้นครูใหนักเรียนนําความสัมพันธที่ได จากตารางดังกลาวมาเขียนเปนคูอันดับ จะได (0, 0), (1, 3), (2, 6), (3, 9), (4, 12) และ (5, 15)
  • 3. เมื่อไดคูอันดับแลว ครูกลาวตอไปวา จากคูอันดับที่เราไดนั้น เราสามารถที่จะนํามาเขียนเปนกราฟ แสดงความสัมพันธได ตอจากนั้นครูใหนักเรียนเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ ซึ่งจะเขียนไดดังรูป ราคาดินสอ (บาท) 15  (5,15) 12 (4,12) 9 (3,9) 6 (2,6) 3 (1,3)  จํานวนดินสอ (แทง) 0 1 2 3 4 5 เมือนักเรียนเขียนกราฟเรียบรอยแลว ครูซกถามนักเรียนตอไปวา จากกราฟนักเรียนสรุปอะไร ่ ั ไดบาง อภิปรายกันจนไดขอสรุปดังนี้ กราฟที่ไดจะมีจุดแสดงความสัมพันธเรียงกันเปนแนวเสนตรง  4) ครูใหนักเรียนพิจารณาตารางแสดงความสัมพัน ธระหวางจํานวนคนที่ใชบริก ารรถประจําทาง กับราคาคาบริการคนละ 8 บาท จํานวนคน 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คาบริการ (บาท) 0 8 16 24 32 40 48 56 64 72 80 จากนั้นครูลองใหนักเรียนเขียนกราฟแสดงความสัมพัน ธดังกลาว โดยเริ่มจากการซักถามวา จาก ตารางขางตนเราสามารถเขียนเปนคูอันดับไดอยางไร เมื่อเราใหจํานวนแรกเปนจํานวนคน และจํานวนทีสอง ่ เปนราคาคาบริการ (นั่นคือ เราจะไดคูอันดับ (0, 0), (1, 8), (2, 16), (3, 24), (4, 32), (5, 40), (6, 48), (7, 56), (8, 64), (9, 72) และ (10, 80) ) หลังจากที่เราไดคอันดับแลว ครูใหนกเรียนนําคูอันดับที่ไดมาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ ซึ่งจะ ู ั  ไดกราฟดังรูป คาบริการ (บาท) 80 (10,80) (9,72) 64 (8,64) 56 (7,56) (6,48) 40 (5,40) (4,32) 24 (3,24) 8 (1,8) (2,16) 0 จํานวนคน 2 4 6 8 10
  • 4. ครูกลาววา กราฟที่เราไดจะมีจุดเรียงกันเปนเสนตรงเชนเดียวกัน 5) ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน เพื่อตรวจสอบความเขาใจ โดยครูกําหนดวันและเวลา สงงาน ชั่วโมงที่ 2 กราฟเสนตรง (ตอ) 1) ทบทวนเกี่ยวกับการเขียนกราฟจากสมการที่มคูอนดับ (x, y) ี ั 2) นักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียนเรื่องกราฟเสนตรง เลือกสุมกลุมนักเรียนมา 3 กลุม มานําเสนอหนาชั้นเรียนโดยแสดงการเขียนกราฟจากสมการที่กําหนดใหในเอกสาร แลวใหนักเรียนแตละ กลุมสรุปรวมกัน แลวนําผลการสรุปบันทึกลงในสมุดดังนี้ สมการทีอยูในรูป Ax + By + C = 0 เมือ A, B, C เปนคาคงตัวที่ A และ B ไมเปน ่ ่ ศูนยพรอมกัน เรียกสมการนี้วา สมการเชิงเสน และสมการเชิงเสนทุกสมการจะมีกราฟเปนเสนตรง ตัวอยาง จงเขียนกราฟของสมการ 2y - x + 2 = 0 วิธีทํา หาจุด (x, y) ที่สอดคลองกับสมการ 3 จุด โดยกําหนดคา x จํานวน3 คา แลวแทนคา x ตามกําหนดหาคา y จะได y ออกมา 3 คา ดังตาราง x -2 0 4 y -2 -1 1 จากตารางกําหนดจุด (-2, -2), (0, 1) และ (4, 1) แลวลากเสนตรงผานจุดทั้ง 3 เปนกราฟ ของสมการ 2y - x + 2 = 0 ดังกราฟตอไปนี้ ตัวอยาง จงเขียนกราฟของสมการ 3x - 2y - 6 = 0 วิธีทํา จาก 3x - 2y - 6 = 0 -2y = -3x + 6 3 y = x-3 2 หาคา x และ y ที่สอดคลองกับสมการ x -2 0 2 y -6 -3 0 กําหนดจุด 3 จุด บนระนาบจํานวนแลวลากเสนตรงผานจุดทั้ง 3 เปนกราฟของสมการ 3x - 2y - 6 = 0 ดังรูป
  • 5. ชั่วโมงที่ 3 กราฟเสนตรง (ตอ) 1. ครูนําแผนภูมิรูปสมการ Ax + By + C = 0 มาใหนักเรียนไดพิจารณาการเปลี่ยน รูปสมการใหอยูในรูป y = ax + b ซึ่งเราเรียกวารูปมาตรฐานของสมการเชิงเสน ที่จะบอกถึง ลักษณะของกราฟในลักษณะตางๆได 2. เมือนักเรียนไดพิจารณาแลว นักเรียนแบงกลุมๆละ 4-5 คน ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน ่ เรืองกราฟเสนตรง เมื่อทําเสร็จเรียบรอยแลวใหเปลียนกันตรวจระหวางกลุมโดย ใชใบเฉลยทีครูนํามาให ่ ่ ่ พรอมกับสงผลคะแนนใหครูเพือจะนําไปบันทึกลงในแบบบันทึกการประเมิน ่ 3. ครูนําตัวอยางมาใหนักเรียนแตละกลุมพิจารณา ดังนี้ สมการที่อยูในรูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A , B , C เปนคาคงตัวที่ A และ B ไม เปนศูนยพรอมกัน เรียกสมการนี้วา สมการเชิงเสน และสมการเชิงเสนทุกสมการจะมีกราฟเปนเสนตรง จากรูปสมการ Ax + By + C = 0 เปลี่ยนรูปจะได By = -Ax - C A C y =  x B B A C ให   a ,   b จะไดวา B B y  aX  b ซึ่งรูปสมการ y = ax + b นี้เราเรียกวารูปมาตรฐานของสมการเชิงเสน ซึ่งรูปนี้บอก ถึงลักษณะของกราฟ ไดดังนี้ ถา a > 0 กราฟจะทํามุมแหลมกับแกน x ถา a < 0 กราฟจะทํามุมปานกับแกน x ถา a = 0 กราฟจะขนานกับแกน x กราฟจะตัดแกน y ที่จุด ( 0 , b ) เสมอ ถา b = 0 กราฟจะผานจุด ( 0 , 0 ) ตัวอยาง จงเขียนกราฟของสมการตอไปนี้ลงบนแกนคูเดียวกัน
  • 6. 1) y = 3x - 2 2) y = -3x -2 3) y = 3x 4) y = -1 วิธีทํา y y=-3x-2 2 y=3x-2 1 y=3x -3 -2 -1 0 1 2 3 x -1 y=-1 -2 และเขียนกราฟลงบนกระดานที่ครูนํามา ใหกลุมใดทีเ่ ขียนเสร็จกอนเปนกลุมทีชนะและ ่ ใหนําเสนอหนาชันใหเพือนไดดและศึกษา ้ ่ ู กิจกรรมที่ 4 กราฟเสน เวลา 1 ชั่วโมง 1. นักเรียนศึกษาแผนภูมิทครูนํามาใหนกเรียนพิจารณา ดังนี้ ี่ ั 1) กราฟจะตัดแกน y ที่จุด x = 0 เสมอ 2) กราฟจะตัดแกน x ที่จุด y = 0 เสมอ เมือนักเรียนไดศึกษาแผนภูมแลว ศึกษาตัวอยางตอไปนี้ ่ ิ ตัวอยาง จงหาจุดตัดแกน x และแกน y ของกราฟของสมการ 2x - 3y + 6 = 0 วิธีทํา เนืองจากกราฟตัดแกน x ที่จุด ที่ y = 0 ่ สมมติใหกราฟตัดแกน x ที่ ( x , 0 ) แทนคา x = x , y = 0 ในสมการจะได 2x - 3(0) + 6 = 0 6  x = = -3 2
  • 7. เนื่องจากกราฟตัดแกน y ที่จุดที่ y = 0 สมมติใหกราฟตัดแกน y ที่จุด ( 0 , y ) แทนคา x = 0 , y = y ในสมการจะได 2(0) - 3y + 6 = 0 6  y = = 2 3 กราฟตัดแกน x ที่ ( - 3 , 0 ) กราฟตัดแกน y ที่ ( 0 , 2 ) ตอบ ตัวอยาง จงหาจุดตัดแกน x และแกน y ของสมการ 0.3x - 0.6y = 0.12 วิธีทํา ใหกราฟตัดแกน x ที่ ( x , 0 ) จะไดสมการเปน 0.3x - 0 = 0.12 0 . 12 x = = 0.4 0.3 ใหตัดแกน y ที่ ( 0 , y ) จะไดสมการเปน 0 - 0.6y = 0.12 0 . 12 y =  0 . 2  0.6  กราฟตัดแกน x ที่ ( 0.4 , 0 ) ตัดแกน y ที่ ( 0 , -0.2 ) ตอบ 2.เมือนักเรียนศึกษาตัวอยางแลว นักเรียนคนใดทีสงสัยใหปรึกษาเพือนทีเ่ ขาใจ เสร็จแลวแตละกลุม ่ ่ ่ รวมกันสรุปตัวอยางทั้งสองตัวอยาง วามีขั้นตอนในการหาจุดตัดของกราฟอยางไร 3.นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 3.4 และทําใบงานที่ 3.4 บันทึกลงในสมุดแบบฝกหัด แลวนํามาสงในวันตอไป กิจกรรมที่ 5 กราฟเสนตรง (ตอ) เวลา 1 ชั่วโมง 1.นักเรียนกําหนดจุด 2 จุดใดๆ เมือตองการทราบวาสมการของกราฟทีผานจุดทั้งสองนั้นคือ ่ ่ สมการใด นักเรียนใชวธีแทนคา ( x , y ) ลงบนสมการ y = ax + b ทั้งสองจุด ิ แลวจะไดสมการสองสมการ ทีติดคา a , b ่ 2. เมือนักเรียนไดพิจารณาแลว นักเรียนแบงกลุมๆละ 4-5 คน ศึกษาใบความรูที่ 3.5 ่ และทําใบงานที่ 3.5 เมื่อทําเสร็จเรียบรอยแลวใหเปลี่ยนกันตรวจระหวางกลุม โดยใชใบเฉลยที่ครูนํามาให 4. ครูนําตัวอยางมาใหนักเรียนแตละกลุมพิจารณาและเขียนกราฟลงบนกระดานที่ครู
  • 8. นํามาใหกลุมใดทีเ่ ขียนเสร็จกอนเปนกลุมทีชนะและใหนําเสนอหนาชั้นใหเพื่อนไดดและศึกษาดังนี้ ่ ู ตัวอยาง จงหาสมการของกราฟทีผานจุด ( 0 , -6 ) และจุด ( 2 , 2 ) ่ วิธีทํา สมมติใหกราฟของสมการ y = ax + b ผานจุด ( 0 , -6 ) และ ( 2 , 2 ) แทนคา x = 0 และ y = -6 ในสมการ y = ax + b จะได ดังนั้น y = ax + b -6 = a(0) + b  b = -6 แทนคา x = 2 , y = 2 และ b = -6 ในสมการ y = ax + b 2 = a(2) - 6 2a = 8  a = 4 ดังนั้น สมการเปน y = 4x - 6 หรือ 4x - y = 0 ตอบ ตัวอยาง จงหาสมการของกราฟทีผานจุด ( -1 , 2 ) , ( 4 , 1 ) ่ วิธีทํา แทนคา x = -1 , y = 2 ในสมการ y = ax + b จะได 2 = -1a + b ……………………………….(1) แทนคา x = 4 , y = 1 ในสมการ y = ax + b จะได 1 = 4a + b ……………………………….(2) (1) - (2) 1 = -5a a = -1 5 แทนคา a = -1 ใน (1) 5 จะได 2 = (-1) (- 1 ) + b 5 1 9 b = 2- = 5 5  สมการ คือ y = - x + 9 หรือ 5y + x = 9 ตอบ 5 5
  • 9. กิจกรรมที่ 6 กราฟเสนตรง (ตอ) เวลา 1 ชั่วโมง ชั่วโมงที่ 1 1.นักเรียนตรวจสอบวาจุดที่กําหนดอยูบนเสนตรงของสมการที่กําหนดหรือไม สามารถทําได โดยใชหลักการที่วา ถาจุด ( a , b ) ใดๆ อยูบนเสนตรง L เมือแทน x ดวย a และ y ดวย b แลว ่ สมการ ไมเปนจริงแสดงวาจุด (a , b ) ไมอยูบนเสนตรง L 2. เมือนักเรียนไดพิจารณาแลว นักเรียนแบงกลุมๆละ 4-5 คน ศึกษาใบความรูที่ 3.6 ่ และทําใบงานที่ 3.6 เมื่อทําเสร็จเรียบรอยแลวใหเปลี่ยนกันตรวจระหวางกลุม โดยใชใบเฉลยที่ครูนํามาให 3. ครูนําตัวอยางมาใหนักเรียนแตละกลุมพิจารณาและเขียนกราฟลงบนกระดานที่ครูนํามา ใหกลุมใดทีเ่ ขียนเสร็จกอนเปนกลุมทีชนะและใหนําเสนอหนาชันใหเพือนไดดและศึกษา ดังนี้ ่ ้ ่ ู ตัวอยาง จงตรวจสอบดูวา จุดที่กําหนดใหอยูบนกราฟเสนตรงของสมการเชิงเสนที่ กําหนดใหหรือไม (-3, 0), (1, 3) ; x + 2y = 7 วิธีทํา แทนคา x = -3, y = 0 ในสมการ x + 2y = 7 จะได -3 + 2(0) = 7 -3 = 7 ไมจริง  (-3, 0) ไมอยูบนกราฟ x + 2y = 7 แทนคา x = 1, y = 3 ในสมการ x + 2y = 7 จะได 1 + 2(3) = 7 1 + 6 = 7 7 = 7 ซึ่งเปนจริง ดังนั้น (1, 3) อยูบนกราฟของสมการ x + 2y = 7 ตัวอยาง จงหาคา k ที่ทําใหคูอันดับ ( -3, 2) เปนจุดบนกราฟของสมการ ky - 10x + 5 = 0 วิธีทํา เนื่องจาก (-3, 2) เปนจุดบนกราฟ ky - 10x + 5 = 0  เมื่อแทนคา x = -3, y = 2 ในสมการจะทําใหสมการเปนจริง ดังนั้นจะไดสมการเปน k(2) - 10(-3) + 5 = 0 แกสมการหาคา k จะได 2k + 30 + 5 = 0 35 k = - 2  k = -17.5 ตอบ