SlideShare a Scribd company logo
1 of 87
Download to read offline
โมเมนตัม และการชน
โดย อ.สุพรรณา อ่อนน้อม
กศ.บ.วิทยาศาสตร์-ฟิสิกส์
วท.บ. ฟิสิกส์
Content
โมเมนตัมและการชน
8. การชนแนวเฉียง (จุดศูนย์กลางมวลไม่ตรงกัน)
1. โมเมนตัมขณะใดๆ
2. ความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนตัมกับพลังงานจลน์
3. การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
4. การดล
5. แรงดล
6. การวิเคราะห์กราฟจากสูตรคานวณ
7. การชนในแนวตรง (จุดศูนย์กลางมวลตรงกัน)
โมเมนตัมและการชน
1. โมเมนตัมขณะใดๆ
โมเมนตัม หมายถึง ความพยายามของวัตถุในการพุ่งไปข้างหน้า
โมเมนตัม = มวล x ความเร็ว
P = mv
เมื่อ v คือ ความเร็ว หน่วย m/s
m คือ มวล หน่วย kg
P คือ โมเมนตัม หน่วย kgm/s
โมเมนตัม
-เป็นปริมาณ
เวคเตอร์
-มีทิศไปทางเดียวกับ
ความเร็ว หรือมีทิศ
ไปทางเดียวกับการ
เคลื่อนที่
2. ความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนตัมกับพลังงานจลน์
โมเมนตัมและการชน
m
จาก
3. การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
โมเมนตัมและการชน
mm
Note : 1. เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทิศไปทางเดียวกับทิศ
(ไม่จาเป็นต้องมีทิศไปทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ)
2. จากกฎนิวตัน มีทิศไปทางเดียวกัน
เสมอ
สูตรคานวณ (ไม่ต้องคิดเครื่องหมาย ........เพราะจัดรูปสมการสาเร็จ
แล้ว)
โมเมนตัมและการชน
m m
1. กรณี และ มีทิศไปทางเดียวกัน โดย v > u
จากสมการเวคเตอร์
จะได้สูตรสาเร็จดังนี้
Note: มีทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่
โมเมนตัมและการชน
m m
2. กรณี และ มีทิศไปทางเดียวกัน โดย v < u
จากสมการเวคเตอร์
(เหมือน 1)
จะได้สูตรสาเร็จดังนี้
Note: มีทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่
โมเมนตัมและการชน
3. กรณี และ มีทิศตรงข้ามกัน
จากสมการเวคเตอร์
จะได้สูตรสาเร็จดังนี้
Note: มีทิศไปทางเดียวกับความเร็วสุดท้าย
m
m
โมเมนตัมและการชน
4. กรณี และ มีทิศตั้งฉากกัน
จากสมการเวคเตอร์
จะได้สูตรสาเร็จดังนี้
Note: มีทิศตามแนวเส้นทแยงมุม
จากทฤษฎีสี่เหลี่ยมด้านขนาน
m
m
โมเมนตัมและการชน
5. กรณี และ ทามุม ต่อกัน
จากสมการเวคเตอร์
จะได้สูตรสาเร็จดังนี้
Note: มีทิศตามแนวเส้นทแยงมุม
จากทฤษฎีสี่เหลี่ยมด้านขนาน
m
m
4. การดล (Impulse)
โมเมนตัมและการชน
m m
การดล หมายถึง การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม (โมเมนตัมที่เปลี่ยนไป)
หรือ หมายถึง ผลคูณระหว่างแรงดล กับ ช่วงเวลาสั้นๆ
การคานวณ
โมเมนตัมและการชน
การดล = การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม= แรงดล x เวลา
= =
Note: 1. การดล เป็นปริมาณเวคเตอร์ มีทิศไปทางเดียวกับ
และมีหน่วยเหมือน
2. และ มีทิศไปทางเดียวกันเสมอ
5. แรงดล
โมเมนตัมและการชน
แรงดล หมายถึง โมเมนตัมที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา (อัตราการ
เปลี่ยนแปลงโมเมนตัม)
หรือ หมายถึง การดลในหนึ่งหน่วยเวลา
m
m
การคานวณ
โมเมนตัมและการชน
แรงดล = อัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม= การดลต่อเวลา
= =
Note: 1. แรงดล เป็นแรงกระทาเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้นๆ
2. แรงดลแปรผกผันกับเวลา ....ช่วงเวลาสั้นๆ
แรงมีค่ามาก
6. การวิเคราะห์กราฟจากสูตรคานวณ
โมเมนตัมและการชน
กราฟ P-V …..จากสูตร P = mv....
ความชันกราฟ = มวล (m)
โมเมนตัมและการชน
กราฟ F-t …..จากสูตร....
1.พื้นที่ใต้กราฟ = การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม ( )
= การดล ( )
2. พื้นที่ใต้กราฟ = แรงเฉลี่ย ( )
เวลา
7. การชนในแนวตรง (จุดศูนย์กาลางมวลตรงกัน)
โมเมนตัมและการชน
7.1 การชนแบบไม่ยืดหยุ่น (สูญเสียพลังงาน)
- ผลจากการชน จะเป็นไปตามกฎอนุรักษ์โมเมนตัม แต่
ไม่เป็นไปตามกฎอนุรักษ์พลังงาน
การชนแบบไม่ยืดหยุ่น (สูญเสียพลังงาน)
1. ผลรวมโมเมนตัมของระบบคงตัว
2. ผลรวมพลังงานของระบบมีค่าไม่คงตัว
สรุป
โมเมนตัมและการชน
ก่อนชน
m
1
m
2
m
1
m
2
m
1
m
2
ขณะชน หลังชน
- จากกฎอนุรักษ์โมเมนตัม เขียนเป็นสมการได้ว่า
- พลังงานจลน์ของระบบที่เปลี่ยนแปลงไป ( )
**แทนเครื่องหมาย
+,- ด้วย
โมเมนตัมและการชน
หมายเหตุ
1. ถ้า เป็นลบ ...... พลังงานของระบบลดลง
2. ถ้า เป็นบวก ...... พลังงานของระบบเพิ่มขึ้น
*****การระเบิด เป็นบวก (การระเบิดเป็น
การชนชนิดหนึ่ง)
โมเมนตัมและการชน
7.2 การชนแบบยืดหยุ่น (ไม่สูญเสียพลังงาน)
- ผลจากการชน จะเป็นไปตามกฎอนุรักษ์โมเมนตัม
และกฎอนุรักษ์พลังงาน
การชนแบบไม่ยืดหยุ่น (สูญเสียพลังงาน)
1. ผลรวมโมเมนตัมของระบบคงตัว
2. ผลรวมพลังงานของระบบมีค่าคงตัว
สรุป
โมเมนตัมและการชน
ก่อนชน
m
1
m
2
m
1
m
2
m
1
m
2
ขณะชน หลังชน
- จากกฎอนุรักษ์โมเมนตัม เขียนเป็นสมการได้ว่า
- จากกฎอนุรักษ์พลังงาน เขียนเป็นสมการได้ว่า
**แทนเครื่องหมาย
+,- ด้วย
โมเมนตัมและการชน
- จากกฎอนุรักษ์โมเมนตัม
- จากกฎอนุรักษ์พลังงาน
โมเมนตัมและการชน
- นาสมการ (2)/(1)
**แทนเครื่องหมาย
+,- ด้วย
8. การชนในแนวเฉียง (จุดศูนย์กลางมวลไม่ตรงกัน)
โมเมนตัมและการชน
m1
m2
m1
m2
ก่อนชน หลังชน
m1
m2
m1
m2
โมเมนตัมและการชน
ขั้นตอนการพิจารณา
1. พิจารณาตามแกน x จากกฎอนุรักษ์โมเมนตัม จะได้ว่า
2. พิจารณาตามแกน y จากกฎอนุรักษ์โมเมนตัม จะได้ว่า
.....(1)
.....(2)
โมเมนตัมและการชน
3. ถ้าเป็นการชนแบบยืดหยุ่น จากกฎอนุรักษ์พลังงาน
Note : จากสมการ (1) (2) และ (3) เมื่อแก้สมการตาม
หลักคณิตศาสตร์ จะสามารถคานวณหาสิ่งที่โจทย์ต้องการได้
.....(3)
โมเมนตัมและการชน
ข้อควรจา!!!.........การชนแนวเฉียงรูปแบบพิเศษ
โดยมีเงื่อนไขดังนี้
1. ชนแบบจุดศูนย์กลางมวลไม่ตรงกัน (ชนแนวเฉียง)
2. ชนแบบยืดหยุ่น (ไม่สูญเสียพลังงาน)
3. ก่อนชน มวลที่ถูกชนอยู่สภาพนิ่ง
4. มวลทั้งสองมีค่าเท่ากัน
m1
m1
m2
m2
ก่อนชน หลังชน
โมเมนตัมและการชน
ผลจากการชน ภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว อาจสรุปเป็น
หลักสูตรการคานวณ ดังนี้
m1
m2
m2
m1
สูตรคานวณ
โมเมนตัมและการชน
ตัวอย่างข้อสอบ โมเมนตัม และ การชน
โมเมนตัมและการชน
1. มวล 2 kg เคลื่อนที่บนผิวราบผ่านผิวขรุขระ ยาว 3 m ส่วนผิวราบ
ทั้งหมดเป็นผิวเกลี้ยง ขณะที่มวลเคลื่อนที่เข้าไปในผิวขรุขระมี
อัตราเร็ว 10 m/s ถ้าอัตราเร่งขณะมวลเคลื่อนผ่านผิวขรุขระ = - 6
m/s2 ขนาดของการดลในช่วงที่มวลเคลื่อนที่ผ่านผิวขรุขระ มีค่ากี่
kg.m/s
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8
2kg2kg
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา ให้ u =10 m/s
a = -6 m/s2, s= 3 m
จาก
2kg2kg
หา จาก
แทนค่า v ใน (1)
ขนาดการดลคือ 4 kg.m/s
ตอบข้อ 2
โมเมนตัมและการชน
2. แรง F กระทาต่อมวล 0.4 kg ทาให้ขนาดของความเร็ว
v เปลี่ยนแปลงตามเวลา t โดยไม่เปลี่ยนทิศดังกราฟ
อัตราการเปลี่ยนการดลในช่วงความเร็วที่ A ไปเป็น
ความเร็วที่ B มีค่าเท่าใด
1. 20.4 N
2. 26.7 N
3. 28.8 N
4. 32.6 N
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา จาก
ตอบข้อ 2
นาข้อมูลจากกราฟ แทนค่าสมการ
โมเมนตัมและการชน
3. ใช้ค้อนมวล 400g ตอกตะปูในขณะที่ค้อนเริ่มกระทบ
หัวตะปู ค้อนมีขนาดความเร็ว 10 m/s หลังจากกระทบ
หัวตะปูแล้ว ค้อนสะท้อนกลับด้วยขนาดความเร็วเท่าเดิม
ถ้าช่วงเวลาทีค้อนกระทบตะปูเป็น 0.5 ms จงหาแรงเฉลี่ย
ที่ค้อนกระทาต่อตะปู
1. 1.6 x 104 N 2. 3.2 x 104 N
3. 6.4 x 104 N 4. 8.0 x 104 N
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา ให้ m = 400 g =0.4 kg, u=-10 m/s,
v=10m/s , t = 0.5ms = 0.5x10-3 s
จาก
ตอบข้อ 1
โมเมนตัมและการชน
4. ปล่อยลูกบอลมวล 0.2 kg จากระดับความสูง 1.8 m
หลังจากกระทบพื้นแล้วลูกบอลกระดอนขึ้นได้สูง 1.25 m
จงหาการดลที่ลูกบอลได้รับเมื่อกระทบพื้น(kg.m/s)
1. 1.0 2. 1.2
3. 2.0 4. 2.2
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา ให้ m = 0.2 kg ,u= 0 ,sAB = 1.8 m
sBC = 1.25 m พิจารณาช่วง AB หา ความเร็วขณะ
กระทบพื้น
โมเมนตัมและการชน
พิจารณาช่วง BC หา ความเร็วขณะกระดอนขี้น
จาก
ดังนั้น ขณะกระทบพื้นวัตถุมี
ความเร็ว -6 m/s และขณะ
กระดอนขึ้นวัตถุมีความเร็ว 5m/sหา จาก
ตอบข้อ 4
โมเมนตัมและการชน
5. ปล่อยลูกเทนนิสจากตาแหน่งที่ 1 ตกลงบนไม้เทนนิสที่วางอยู่บน
พื้นตาแหน่งที่ 2 ดังรูป ถ้าเราขึงเส้นเอ็นของไม้เทนนิสให้ตึงมากขึ้น
จะทาให้เกิดผลในข้อใด (กาหนดให้ การดลของการชน มีค่าเท่ากัน
ทั้งก่อนขึงเอ็นและหลังขึงเอ็น)
1. ความเร็วของลูกเทนนิสตอนตกกระทบไม้เทนนิสเพิ่มขึ้น
2. แรงที่ไม้เทนนิสกระทากับลูกเทนนิสมากขึ้น
3. โมเมนตัมที่เปลี่ยนไปมีค่ามากขึ้น
4. ผิดทุกข้อ
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา - การปล่อยจากที่สูงเท่ากัน ความเร็ว
ในการกระทบไม้จะเท่าเดิม ข้อ (1) ผิด
- เมื่อขึงเส้นเอ็นให้ตึงขึ้น ความยืดหยุ่น
ของเส้นเอ็นจะมากขึ้น ทาให้เกิดแรง
กระทาที่ไม้เทนนิสมากขึ้น ข้อ (2) ถูก
และช่วงเวลาที่กระทบกันจะมีค่าน้อยลง
- โดยโมเมนตัมที่เปลี่ยนไปจะมีค่าคง
เดิม(การดล) (โจทย์กาหนด)ข้อ (3) (4) ผิด
ตอบข้อ 2
โมเมนตัมและการชน
6. ลูกบอลมวล 25 g เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 25 m/s ในแนว
ระดับ ชายคนหนึ่งใช้ไม้ตีลูกบอลสวนออกมาในทิศตรงข้าม
แรงที่กระทาต่อลูกบอลกับเวลาที่ลูกบอลกระทบไม้ตีแทนได้
ดังกราฟ อยากทราบว่าลูกบอลจะมีความเร็วเป็นกี่ m/s
ภายหลังกระทบไม้ 1. 15
2. 25
3. 40
4. 65
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา v ให้ m = 25 g = 25 x10-3 kg, u = 25 m/s
จาก
จากกราฟ F กับ t พื้นที่ใต้กราฟ คือ
แทนค่า ใน (1)
ดังนั้นความเร็วภายหลังกระทบไม้คือ 15 m/s มีทิศตรงข้าม
กับทิศความเร็วก่อนกระทบไม้ ตอบข้อ 1
โมเมนตัมและการชน
7. วัตถุ A มวล 2 kg เคลื่อนที่ลงบนพื้นเอียงด้วยความเร็ว
0.2 m/s ถ้ามีแรงมากระทานาน 4 วินาที โดยมีขนาดของการ
ดลเท่ากับ 24 N.s ความเร็วของวัตถุเมื่อสิ้นสุดการกระทา
ของแรง P มีค่าเท่าใด (ให้ g = 10 m/s2)
1. 4.5 m/s
2. 8.2 m/s
3. 3.8 m/s
4. 7.8 m/s
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา v ให้ , t = 4 s,
จาก
จากรูป T = 2P = 2(6) = 12 N
หา v จาก
ตอบข้อ 3
โมเมนตัมและการชน
8. เด็กคนหนึ่งขว้างลูกบอลมวล 50 g ลงบนพื้นเรียบด้วย
อัตราเร็ว 30 m/s และทามุม 30 องศากับพื้นเรียบ ถ้าลูกบอล
สะท้อนด้วยอัตราเร็วเท่าเดิม และเวลาของการกระทบ
เท่ากับ 0.03 s จงหาแรงเฉลี่ยที่พื้นกระทาต่อลูกบอลเป็นกี่
นิวตัน
1. 50 2.
3. 100 4.
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา ให้ m = 50 g =0.05 kg , t = 0.03s
จาก
แกน x;
โมเมนตัมและการชน
แกน y;
แรงลัพธ์;
ตอบข้อ 1
โมเมนตัมและการชน
9. ถ้าลูกบอลมวล m วิ่งเข้าชนกาแพงด้วยความเร็ว u โดยทามุม
กับเส้นตั้งฉากกับกาแพงและสะท้อนออกด้วยความเร็ว u และทา
มุม กับเส้นตั้งฉากดังรูป ถ้าลูกบอลใช้เวลา t ในการกระทบ
แรงเฉลี่ยที่ลูกบอลกระทาต่อกาแพงเป็นเท่าไร
1. 2.
3. 4.
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา F จาก
แกน x ;
แกน y ;
แรงลัพธ์;
ตอบข้อ 2
โมเมนตัมและการชน
10. ฟุตบอลมวล 0.5 kg ผ่านไปทางทิศใต้ด้วยความเร็ว 32 m/s
นักฟุตบอลออกแรง F กระทาต่อฟุตบอล ทาให้ความเร็ว
เปลี่ยนไปเป็น 20 m/s โดยเคลื่อนที่ไปตามทิศที่ทามุม 37 องศา
กับแนวเดิมดังรูป ขนาดของการดลจะมีค่ากี่ N.s
1. 3 2. 5
3. 7 4. 10
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา จาก
จากรูป
และ
แทนค่าใน(1)
ตอบข้อ 4
โมเมนตัมและการชน
11. รถยนต์A มวล 1500 kg และรถยนต์B มวล 1000 kg รถยนต์B
แล่นตามรถยนต์A ด้วยความเร็วคงที่เท่ากับ 2 และ 1 m/s ตามลาดับ
ในระหว่างนั้นมีรถยนต์C มวล 1500 kg วิ่งสวนทางกันมาด้วย
ความเร็วคงที่เท่ากับ 5 m/s ถ้ารถเกิดชนพร้อมกันทั้งสามคันเป็นผลให้
รถทั้งหมดติดกันไปหลังชน สมมติว่าไม่มีความเสียดทานระหว่างพื้น
ถนนกับล้อรถยนต์ จงคานวณหาความเร็วและทิศทางหลังชนกัน
1. 1 m/s ไปทางซ้าย 2. 1 m/s ไปทางขวา
3. 2 m/s ไปทางซ้าย 4. 2 m/s ไปทางขวา
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา v หลังชน
จาก
ดังนั้น หลังชนแล้วรถทั้งสามติดกันไปด้วยความเร็ว 1m/s ในทิศเดียวกับ
รถ C (ทางซ้าย) ตอบข้อ 1
โมเมนตัมและการชน
12. ลูกปืนมวล 5 g ถูกยิงด้วยความเร็ว 1000 m/s เข้าไปฝัง
ในแท่งไม้มวล 5 kg ที่วางอยู่บนโต๊ะ ถ้าค่าสัมประสิทธิ์
ความเสียดทานระหว่างแท่งไม้กับโต๊ะโดยเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ
0.25 แท่งไม้จะไถลไปได้ไกลเท่าใด
1. 0.20 m 2. 0.25 m
3. 0.50 m 4. 1.25 m
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา s ที่แท่งไม้ไถลไป
จาก
โมเมนตัมและการชน
จากสมการงานและพลังงาน บนพื้นฝืด
สมมติ แท่งไม้ไถลได้ระยะทาง s
ตอบข้อ 1
โมเมนตัมและการชน
13. ยิงปืนมวล 10 g ในแนวระดับ ด้วยความเร็ว 1000 m/s
เข้าไปฝังในเป้า 5 kg ซึ่งผูกเชือกแขวนไว้ในแนวดิ่ง เป้าจะ
แกว่งขึ้นไปสูงกว่าตาแหน่งเดิมกี่ cm
1. 20 2. 25
3. 40 4. 50
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา h
จากกฎทรงโมเมนตัมในการชน
โมเมนตัมและการชน
หา h จากกฎอนุรักษ์พลังงาน
ตอบข้อ 1
โมเมนตัมและการชน
14. ยิงปืนมวล m ซึ่งมีความเร็ว v ในแนวระดับ วิ่งเข้าชนถุงทราย
มวล M ซึ่งแขวนอยู่ในแนวดิ่ง ลูกปื้นฝังในถุงทรายและทาให้ถุง
ทรายนั้นแกว่งขึ้นไปได้สูง h โดยวิธีการนี้จะวัดความเร็วของลูกปืน
ก่อนชนถุงทรายได้เท่าใด (g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง)
1. 2.
3. 4.
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา u1 ของลูกปืน
จากกฎทรงโมเมนตัมในการชน
M
M
พิจารณาจากหลักของงานและพลังงานในการแกว่งขึ้นไป
เป็นวงกลมนี้ งาน =0 ดังนั้นพลังงานคงที่
โมเมนตัมและการชน
M
M
จากกฎอนุรักษ์พลังงาน
แทนค่า v ใน (1)
ตอบข้อ 4
โมเมนตัมและการชน
15. ตามรูป สปริงอยู่ในแนวราบ มีค่าคงที่ของสปริง 800
N/m ปลายหนึ่งติดกับข้างฝาอีกปลายหนึ่งมีมวล M =480 g
ติดอยู่บนพื้นที่ไม่มีความฝืด เริ่มต้นให้สปริงยังไม่ยืดหรือ
หดเลย เมื่อยิงลูกปืนมวล m = 20 g ในแนวราบ เข้าไปฝัง
ในมวล M แล้วทั้งสองกดสปริงเข้าไป ถามว่าความเร็วของ
ลูกปืนจะต้องเป็นกี่ m/s สปริงจึงจะหดเข้าไป 5 cm
1. 50 2. 48
3. 20 4. 10
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา สมมติกระสุนปืนยิงเข้าไปด้วยความเร็ว u เมื่อฝังใน
มวล M จะทาให้ทั้งคู่มีความเร็วเป็น v
จากกฎทรงโมเมนตัมในการชน
หา u
โมเมนตัมและการชน
เมื่อทั้งคู่มีความเร็วเป็น v ก็ดันสปริงเข้าไป จากสมการงานและ
พลังงาน เมื่อไม่คิดงานของแรงสปริง
งาน=0 (เพราะพื้นไม่มีความฝืด)
จากกฎอนุรักษ์พลังงาน
แทน v ใน (1)
ตอบข้อ 1
โมเมนตัมและการชน
16.ปล่อยวัตถุมวล 2 kg จากที่สูง 2 m เหนือมวล 18 kg ซึ่งวาง
นิ่งบนสปริง 2 ตัว ที่มีค่าคงที่สปริงตัวละ 1200 N/m ถ้าการชน
เป็นแบบไม่ยืดหยุ่นสมบูรณ์ จงหาว่ามวลทั้งสองจะกดสปริงลง
ไปเป็นระยะเท่าไร สมมติว่า ตอนแรกมวลยังไม่กดสปริง
1. 50 mm 2. 57.7 mm
3. 66.7 mm 4. 71.2 mm
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา x
พิจารณาช่วง 1-2
หาความเร็วที่มวล 2 kg ตกลงมาเข้าชนมวล 18 kg
จากกฎอนุรักษ์พลังงาน
มวล 2 kg ตกลงมาเข้าชนมวล 18 kg ด้วยความเร็ว
โมเมนตัมและการชน
จากกฎทรงโมเมนตัมในการชน
ดังนั้น หลังชนมวลทั้งสองจะดันสปริงเข้าไปด้วยความเร็ว
เป็นระยะทาง x
โมเมนตัมและการชน
จากกฎอนุรักษ์พลังงาน
พิจารณาช่วงที่มวลทั้งสองดันสปริง 2-3
ดังนั้น มวลจะกดสปริงลงไป x = 57.7 mm
ตอบข้อ 2
โมเมนตัมและการชน
17.รถทดลองมวล m วิ่งไปบนรางชนตรงๆ กับรถทดลอง
อีกคันหนึ่งซึ่งอยู่นิ่ง หลังจากชนแล้วรถทั้งสองเคลื่อนติดกัน
ไปด้วยกัน ความเร็วก่อนชนและหลังชน สังเกตได้จากจุด
บนแถบกระดาษดังรูป มวลรถคันที่ถูกชนจะมีค่าดังข้อใด
1. 4m 2. 3m 3. 2.5m 4. 2m
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา จากรูป
ช่วงก่อนชน มวล m เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 3 หน่วยต่อหนึ่งช่วงจุด
ช่วงหลังชน มวล m และ M ติดกันไป เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 1
หน่วยต่อหนึ่งช่วงจุด
ดังนั้น ความเร็วมวล m ก่อนชน u1 = 3 หน่วย/ช่วงจุด
ความเร็วมวล m และ M หลังชน v = 1หน่วย/ช่วงจุด
โมเมนตัมและการชน
ดังนั้น มวลรถที่ถูกชน M = 2m
จากกฎทรงโมเมนตัมในการชน
ตอบข้อ 4
โมเมนตัมและการชน
18. รถยนต์A มวล 1000 kg วิ่งจากทิศใต้ไปยังทิศเหนือ
และรถยนต์ B มวล 1500 kg วิ่งจากทิศตะวันตกไปยังทิศ
ตะวันออก เมื่อรถทั้งสองชนกันจะไถลลื่นติดกันไปใน
ทิศทางทามุม 30 องศากับแนวทิศตะวันออก ถ้ารถยนต์ A
ขับด้วยความเร็ว 80 km/h จงหาอัตราเร็วของรถ B
1. 53 km/h 2. 80 km/h
3. 92 km/h 4. 104 km/h
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา uB สมมติความเร็วหลังชนเป็น v แตกไปในแนวแกน x และ y
จากกฎทรงโมเมนตัมในการชน
แกน y
โมเมนตัมและการชน
ดังนั้น รถทั้งสองจะเคลื่อนที่ติดกันไปด้วยความเร็ว 64 km/h
แกน x
ดังนั้น ความเร็วก่อนชนของรถ B (uB) = 92.4 km/h
ตอบข้อ 3
โมเมนตัมและการชน
19. ลูกกลม 2 ลูก มวล 4 kg และ 2 kg ตามลาดับ มีขนาด
ความเร็วก่อนชนดังรูป ความเร็วหลังชนเมื่อมวลทั้งสอง
เคลื่อนที่ติดกันไปกี่ m/s
1. 1.4 2. 1.7
3. 2.4 4. 6.0
2 kg
4 kg
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา v
สมมติหลังชนทั้งสองมีความเร็ว v ในทิศเฉียง
2 kg
4 kg 2
kg4 kg
จากกฎทรงโมเมนตัมในการชน
แกน x
โมเมนตัมและการชน2 kg
4 kg 2
kg4 kg
แกน y
ยกกาลังสองทั้งสองสมการ แล้วหาผลรวม
ตอบข้อ 2
โมเมนตัมและการชน
หมายเหตุ อาจใช้วิธีรวมแบบเวคเตอร์ที่ทามุมฉากโดยตรงได้ คือ
ตอบข้อ 2
โมเมนตัมและการชน
20. วัตถุหนึ่งเมื่อเกิดการระเบิด เศษชิ้นส่วนกระจายอยู่ในแนวระดับ
3 ทิศทาง เมื่อวัดมุมในทิศตามเข็มนาฬิกา พบว่าชิ้นส่วนที่ 1 กับ
ชิ้นส่วนที่ 2 ทามุม 90 องศา ชิ้นส่วนที่ 2 กับชิ้นที่ 3 ทามุมกัน 120
องศา ถ้าอัตราเร็วของชิ้นส่วนทั้งสามมีค่าเดียวกัน มวลของชิ้นส่วน
ที่ 1 จะเป็นกี่เท่าของชิ้นส่วนที่3
1. เท่า 2. เท่า
3. เท่า 4. เท่า
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา หา จากโจทย์v1 = v2 = v3
สมมติทั้ง 3 ส่วนมีมวลเป็น m1 , m2 และ m3 ตามลาดับ จะได้รูป
ประกอบโจทย์ดังนี้ จากกฎทรงโมเมนตัมในการชน
แกน x
โมเมนตัมและการชน
แกน y
สมการ (2) /(1)
ดังนั้น มวลชิ้นส่วนที่ 1 จะมีค่าเป็น เท่าของมวลชิ้นส่วนที่ 2 ตอบข้อ 4
โมเมนตัมและการชน
21. คนมวล m kg ยืนบนกระดานเลื่อนมวล 2m kg ซึ่งไถล
ไปบนพื้นน้าแข็งราบและลื่นมากด้วยความเร็ว 3 m/s ถ้าคน
กระโดดลงจากกระดานในแนวตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่
แล้วไถลไปบนพื้นน้าแข็งด้วยความเร็ว 12 m/s กระดาน
เลื่อนจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วกี่ m/s และมีทิศทามุมเท่าใด
กับแนวเดิม1. 40 และ 37 องศา 2. 7.5 และ 37 องศา
3. 7.5 และ 53 องศา 4. 8.0 และ 53 องศา
โมเมนตัมและการชน
วิธีทา สมมติหลังคนกระโดด(มวล m2 =m) กระโดดลง กระดาน
เลื่อน(มวล m1 =2m) มีความเร็ว v1 ในทิศทามุม
หาค่า v1 และ
โมเมนตัมและการชน
จากกฎทรงโมเมนตัมในการชน
แกน y
โมเมนตัมและการชน
แกน x
โมเมนตัมและการชน
สมการ (1) /(2)
หา v1 แทนค่า ใน(1)
ตอบข้อ 3

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 

Similar to Momentum

เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมthanakit553
 
ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2aatjima
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6pumarin20012
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53noeiinoii
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53shanesha
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53Sp Play'now
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 

Similar to Momentum (20)

โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
P06
P06P06
P06
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม
 
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
0 pat2 53-1
0 pat2 53-10 pat2 53-1
0 pat2 53-1
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
Physics test 1
Physics test 1Physics test 1
Physics test 1
 
123
123123
123
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 

More from ธีรพงศ์ อ่อนอก (9)

แผ่นผับเที่ยวบุรีรัมย์_new2.pdf
แผ่นผับเที่ยวบุรีรัมย์_new2.pdfแผ่นผับเที่ยวบุรีรัมย์_new2.pdf
แผ่นผับเที่ยวบุรีรัมย์_new2.pdf
 
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdfแบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
 
Math circle2
Math circle2Math circle2
Math circle2
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
194825214 science-tests
194825214 science-tests194825214 science-tests
194825214 science-tests
 
57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
การศึกษาปัญหา จักจั่น
การศึกษาปัญหา จักจั่นการศึกษาปัญหา จักจั่น
การศึกษาปัญหา จักจั่น
 
Water4 6 freesamples-norestriction
Water4 6 freesamples-norestrictionWater4 6 freesamples-norestriction
Water4 6 freesamples-norestriction
 
Anatomy of-tree
Anatomy of-treeAnatomy of-tree
Anatomy of-tree
 

Momentum