SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
พุทธภาวนาวิธี
อาหาเรปฏิกูลสัญญา 1
จตุธาตุววัฏฐาน
อรูป 4
วิชาการปฏิบัติกรรมฐาน
มหาวิทยาลัยราชภัฎนคราชสีมา
การพัฒนาตน
3
อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑
การพัฒนาตน
4อาหาเรปฏิกูลสัญญา
คือ การกําหนดพิจารณาอาหารที่เข้าปากว่าเป็นสิ่ง
สกปรก (ซากพืชซากสัตว์) ขณะที่ออกมาจากร่างกาย
ก็เป็นสิ่งสกปรก จะได้ไม่ติดใจในอาหาร
(สภาพใดย่อมนํามา เหตุนี้ สภาพนั้นจึงชื่อว่า อาหาร แปลว่า สภาพ
ผู้นํามา อาหารนั้นมี ๔ อย่าง คือ
กพฬิงการาหาร ผัสสาหาร มโนสัญเจตนาหาร วิญญาณาหาร)
อรูปฌาน ๔
อรูปฌาน
อรูปฌานคือฌานที่ไม่มีรูป ๔ คือ อากาสานัญจายตนะ
วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ
เนวสัญญานาสัญญายตนะ
รวม ๔ อย่างด้วยกัน
๑.ฌาน คือ การหยั่งรู้หรือการเพ่งในองค์กรรมฐาน
๒.ฌาน (บาลี) หรือ ธยาน (สันสกฤต) หมายถึง การเพ่ง
อารมณ์จนใจแน่วแน่เป็นอัปปนาสมาธิ ภาวะจิตสงบ
ประณีต ซึ่งมีสมาธิเป็นองค์ธรรมหลัก)
อรูปฌาน
อรูปฌานทั้ง ๔ นี้ เป็นฌานละเอียดและอยู่ในระดับฌานที่
สูงสุด ท่านที่ปฏิบัติได้อรูปทั้ง ๔ นี้แล้ว เจริญวิปัสสนาญาณ
ย่อมได้บรรลุมรรคผลรวดเร็วเป็นพิเศษ เพราะอารมณ์ในอรูปฌาน
และอารมณ์ในวิปัสสนาญาณ มีส่วนคล้ายคลึงกันมาก
ต่างกันแต่อรูปฌานเป็นสมถภาวนา มุ่งดํารงฌานเป็นสําคัญ
สําหรับวิปัสสนาภาวนามุ่งรู้แจ้งเห็นจริง
ตามอํานาจของกฎธรรมดาเป็นสําคัญ แต่ทว่า
อรูปฌานนี้ก็มีลักษณะเป็นฌานปล่อยอารมณ์ คือ ไม่ยึดถืออะไร
เป็นสําคัญ ปล่อยหมดทั้งรูปและนาม ถือความว่างเป็นสําคัญ
การพัฒนาตน
...อรูปฌาน...
อากาสานัญจายตนะ คือ การเพ่งอากาศว่าไม่มีที่สุด
วิญญาณัญจายตนะ คือ การเพ่งวิญญาณว่าไม่มีที่สุด
อากิญจัญญายตนะ คือ การเพ่งความไม่มีอะไรของอรูปวิญญาณ
เนวสัญญานาสัญญายตนะ
คือ การเพ่งถึงความมีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่(ยังมีสัญญา
อยู่แต่มันละเอียดประณีตมากจน ไม่ปรากฏอาการของสัญญา)
การพัฒนาตน
อากาสานัญจายตนะ คือ การเพ่งอากาศว่าไม่มีที่สุด
ท่านกล่าวไว้ในวิสุทธิมรรคว่า
ก่อนที่จะเจริญอากาสานัญจายตนะนี้ ท่านจะเข้าจตุตถฌานในกสิณกอง
ใดกองหนึ่งแล้วให้เพิก คือ(ปล่อย) ม่สนใจในกสิณนิมิตนั้นเสีย
ใคร่ครวญว่า กสิณนิมิตนี้เป็นอารมณ์ที่มีรูปเป็นสําคัญ(ได้แก่) ความสุข
ความทุกข์(ซึ่ง)เป็นปัจจัยของภยันตราย มีรูปเป็นต้นเหตุ เราไม่มีความ
ต้องการในรูปแล้วละรูปนิมิตกสิณนั้น ถืออากาศเป็นอารมณ์จนวงอากาศ
เกิดเป็นนิมิตที่มีขอบเขตกว้างใหญ่ แล้วย่อให้สั้นลงมา อธิษฐานให้เล็ก
ใหญ่ได้ตามประสงค์ ทรงจิตรักษาอากาศไว้โดยกําหนดใจว่า อากาศหา
ที่สุดมิได้ดังนี้ จนจิตเป็นอุเบกขารมณ์ (อารมณ์วางเฉย จัด)เป็นฌาน ๔
(แต่อยู่)ในอรูปฌาน
การพัฒนาตน
วิญญาณัญจายตนะ คือ การเพ่งวิญญาณว่าไม่มีที่สุด
อรูปฌานนี้กําหนดวิญญาณ(คือตัวรู้)เป็นอารมณ์
โดยจับอากาสานัญจายตนะ คือกําหนดอากาศจากอรูปฌาน(ที่หนึ่ง)เดิม
เป็นปัจจัย แล้วถือนิมิตอากาศนั้นเป็นฐานที่ตั้งของอารมณ์ แล้วกําหนดว่า
อากาศนี้ยังเป็นนิมิตที่รูปอาศัยอยู่ ถึงแม้จะเป็นอรูปก็ตามแต่ยังมีความ
หยาบอยู่มาก เราจะทิ้งอากาศเสีย ถือเฉพาะวิญญาณ(คือตัวรู้)เป็นอารมณ์
แล้วกําหนดจิตว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้(แล้วละ)ทิ้งอากาศและรูป
ทั้งหมดเด็ดขาด กําหนดวิญญาณคือถือวิญญาณ ตัวรู้ ซึ่งเป็นเสมือนจิต
โดยคิดว่าเราต้องการจิตเท่านั้น รูปกายอย่างอื่น
ไม่ต้องการ จนจิตตั้งอยู่เป็นอุเบกขารมณ์ (อารมณ์วางเฉย)
การพัฒนาตน
อากิญจัญญายตนะ คือ การเพ่งความไม่มีอะไรของอรูปวิญญาณ
อรูปฌานนี้กําหนดความไม่มีอะไรเลยเป็นสําคัญ
โดยเข้าฌาน ๔ (ให้เป็นบาทฐานที่ตั้ง) ในวิญญาณัญจายตนะ แล้ว
เพิกวิญญาณคือ(ปล่อย)ไม่ต้องการวิญญาณ (ตัวรู้) นั้น คือคิดว่า
ไม่มีอะไรเลยเป็นสําคัญ อากาศก็ไม่มี วิญญาณก็ไม่มี ถ้ายังมีอะไร
สักอย่างหนึ่งแม้แต่น้อยหนึ่ง ก็เป็นเหตุของภยันตราย
ฉะนั้นการไม่มีอะไรเลยเป็นการปลอดภัยที่สุด แล้วก็กําหนดจิต
ไม่ยึดถืออะไรทั้งหมด จนจิตตั้งเป็นอุเบกขารมณ์
เป็นจบอรูปฌานนี้
การพัฒนาตน
เนวสัญญานาสัญญายตนะ
คือ การเพ่งถึงความมีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่(ยังมีสัญญา
อยู่แต่มันละเอียดประณีตมากจน ไม่ปรากฏอาการของสัญญา)
เนวสัญญานาสัญญายตนะนี้ กําหนดว่ามีสัญญา(ความจําได้)ก็ไม่ใช่
ไม่มีสัญญา(จําไม่ได้)ก็ไม่ใช่ คือ ทําความรู้สึกตัวเสมอว่า ทั้งมีสัญญาอยู่นี้
ก็ทําความรู้สึกเหมือนไม่มีสัญญา คือไม่ยอมรับรู้จดจําอะไรหมด ทําตัว
เสมือนหุ่นที่ไร้(ทั้ง)วิญญาณ(และหน่วยความจํา คือไม่มีการประมวลผล)
ไม่รับรู้ ไม่รับอารมณ์ใดๆ ทั้งสิ้น หนาวก็รู้ว่าหนาวแต่ไม่เอาเรื่อง ร้อนก็รู้
ว่าร้อนแต่ไม่ดิ้นรนกระวนกระวาย มีชีวิตทําเสมือนคนตาย คือไม่ปรารภ
สัญญาความจดจําใดๆ ปล่อยตามเรื่องเปลื้องความสนใจใดๆ ออกจนสิ้น
จนจิตเป็นเอกัคคตาและอุเบกขารมณ์
การพัฒนาตน
การปฏิบัติทางจิตในสาย
สมาธิ หรือที่เรียกว่า
สมถกรรมฐาน มีสูงสุด
เพียงเท่านี้คือ รูปฌาน ๔
กับอรูปฌาน ๔ รวมเรียกว่า
สมาบัติ ๘ นั่นเอง
การพัฒนาตน
สําหรับสมาบัติ ๘ นี้
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อครั้งยังเป็น
เจ้าชายสิทธัตถะได้เคยศึกษามาแล้ว ในสํานัก
ของดาบสทั้งสอง ได้แก่ อุทกดาบส และ
อาฬารดาบส ทรงเห็นแล้วว่าไม่ใช่ทางพ้นทุกข์
ไม่ใช่ทางตรัสรู้ จึงอําลาจากดาบสทั้งสอง มา
แสวงหาทางพ้นทุกข์ด้วยพระองค์เอง จนได้
ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
การพัฒนาตน
เพราะฉะนั้น การปฏิบัติทางจิตในสายสมาธิ
ซึ่งเรียกว่า สมถกรรมฐาน (หรือเรียกอีกอย่างว่า
สมถภาวนา) เพียงอย่างเดียว จึงไม่ใช่ทางพ้นทุกข์
ต้องเจริญสติปัฏฐาน ๔ ที่เรียกว่า วิปัสสนากรรมฐาน
(หรือเรียกอีกอย่างว่า วิปัสสนาภาวนา) เท่านั้น
จึงจะเป็นหนทางพ้นทุกข์ถึงซึ่งสันติสุข คือ
พระนิพพาน ได้
การเพ่งอารมณ์กรรมฐาน
การพัฒนาตน
การฝึกเพ่งอารมณ์กรรมฐาน
ควรหาที่สงบเงียบและสบาย ผ่อนคลายจิตให้สบาย
ปล่อยวางความกังวลเกี่ยวกับเรื่องต่างๆสมาทานศีล
และ รักษาศีลให้บริสุทธิ์ ถวายตัวแด่พระพุทธเจ้า
ระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย แผ่เมตตา อธิษฐานการ
เจริญกรรมฐาน แล้วนั่งขัดสมาธิ ตั้งกายตรง มือซ้าย
หงายวางไว้บนหน้าตัก มือขวาหงายทับมือซ้ายไว้
เบาๆไม่ต้องเกร็ง ค่อยๆหายใจเข้ายาว- ออกยาว ๓ ครั้ง
และเริ่มดําเนินการ ดังนี้
ลืมตาเพ่งมองไปที่อุปกรณ์กรรมฐาน (บริกรรมนิมิต) เช่น
ดินที่ทําเป็นรูปวงกลม โดยให้เห็นเป็นภาพติดตา
นี้เรียกว่า บริกรรมภาวนา แล้วหลับตาลงเบาๆ ให้นึก
เห็นภาพนั้นชัดเจน ภาพที่เห็นในความจําได้นั้นเรียกว่า
อุคคหนิมิต ซึ่งถือเป็นบริกรรมสมาธิ ตั้งสติส่งจิตเข้าไป
จับอุคคหนิมิตนั้นเป็นอารมณ์ จนเกิดเห็นภาพนั้นแปร
รูปใสขึ้นกว่าของจริงเรียกว่า ปฏิภาคนิมิต ซึ่งเรา
กําหนดจิตสั่งให้ภาพนั้นย่อ ขยายใหญ่ขึ้นกว่าเดิมได้
หรือจะกําหนดให้ภาพนั้นเข้ามาใกล้ ห่างออกไปก็ได้
อย่างนี้เรียกว่า อุปจารสมาธิ
การพัฒนาตน
จากนั้น ให้ตั้งสติส่งจิตเข้าไปจับปฏิภาคนิมิตคือภาพที่
แปรรูปใสขึ้นนั้น ที่เรียกว่า อัปปนาภาวนา จนกระทั่งจิต
จมเข้าไปในปฏิภาคนิมิตนั้น ทําให้วิถีประสาททั้ง ๕ไม่
รับสัมผัสโพลงสว่างอยู่ นี้เรียกว่า อัปปนาสมาธิ
(ขณะนี้ องค์ฌานทั้ง ๕ มีกําลังแรง ซึ่งครั้งแรกตั้งอยู่
นานเพียง ๒.๘ วินาที เท่านั้น ฉะนั้น เราต้องทําให้เกิด
อัปปนาสมาธิเช่นนี้อีก ๒– ๓ ครั้ง หรือมากกว่านั้น ซึ่ง
อัปปนาสมาธิที่ยังเกิดๆดับๆนี้ เรียกว่ามูลสมาธิ ยังไม่
เป็นครุกรรมฝ่ ายกุศล)
การพัฒนาตน
ถัดจากนี้ ให้เราเจริญ อัปปนา
ภาวนา เรื่อยไป จนกระทั่ง
สามารถบังคับให้เกิด อัปปนา
สมาธิ ได้ตลอดเวลาที่เรากําหนด
จะเข้า จะออก ในเวลาใดก็ได้ตาม
ประสงค์ ขั้นนี้เรียกว่า
อัปปนาสมาธิ ที่เป็นฌานสมาบัติ
อันจัดเป็น ครุกรรมฝ่ ายกุศล
และใช้เป็นบาทแห่งการเจริญ
วิปัสสนาของผู้ต้องการให้ฌาน
เป็นฐานในการเจริญวิปัสสนาได้
สทา
โสตถี
ภวนฺตุ
เต

More Related Content

What's hot

พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
Nhui Srr
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
Anchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
Onpa Akaradech
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
Onpa Akaradech
 

What's hot (20)

บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 

Similar to อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Anchalee BuddhaBucha
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
Tongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
Tongsamut vorasan
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
Kiat Chaloemkiat
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
Onpa Akaradech
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บรรพต แคไธสง
 
พื้นฐานชีวิต 44.pptx
พื้นฐานชีวิต 44.pptxพื้นฐานชีวิต 44.pptx
พื้นฐานชีวิต 44.pptx
SunnyStrong
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
Net'Net Zii
 
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
Orraya Swager
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
Net'Net Zii
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
Chinnakorn Pawannay
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
Yota Bhikkhu
 

Similar to อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน (20)

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
Con15
Con15Con15
Con15
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
พื้นฐานชีวิต 44.pptx
พื้นฐานชีวิต 44.pptxพื้นฐานชีวิต 44.pptx
พื้นฐานชีวิต 44.pptx
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 

More from เตชะชิน เก้าเดือนยี่

More from เตชะชิน เก้าเดือนยี่ (19)

6 mahapali-akhayata
6 mahapali-akhayata6 mahapali-akhayata
6 mahapali-akhayata
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
 
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
แนะนำอาจารย์
แนะนำอาจารย์แนะนำอาจารย์
แนะนำอาจารย์
 
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]
 
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน pptพรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 

อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน