SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 คืออะไร
และมีอะไรบ้าง
ขันธ์ แปลว่ากอง พวก หมวด หมู่
ขันธ์ 5 (เบญจขันธ์) จึงจะหมายถึงสถาวะธรรม 5 อย่าง
สรรพสิ่งทั้งหลายในอนันตจักรวาลนั้น
แยกประเภทได้เป็น 3 ส่วน คือ
ส่วนที่เป็นวัตถุทั้งหลาย ได้แก่ สสารทั้งหลาย แสง สีทั้งหลาย
เสียง กลิ่น รส ความเย็น ความร้อน ความอ่อน ความแข็ง
ความหย่อน ความตึง อาการเคลื่อนไหวของสิ่งต่างๆ ช่องว่าง
ต่างๆ อากาศ ดิน น้้า ไฟ ลม สภาพแห่งความเป็นหญิง เป็น
ชาย เนื้อสมองและระบบของเส้นประสาททั้งหลาย อันเป็นฐาน
ให้จิตเกิด รวมทั้งอาการแห่งความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ เสื่อมไป ดับ
ไปของวัตถุทั้งหลายด้วย
ซึ่งรวมเรียกว่า รูปขันธ์
ส่วนที่เป็นความรู้สึกนึกคิด และความคิดทั้งหลาย
รวมเรียกว่านามขันธ์ แยกได้ 4 ชนิดคือ
2.2 สัญญาขันธ์ คือความจ้าได้หมายรู้ในสิ่งต่างๆ คือส่วนที่ท้าหน้าที่
ในการจ้านั่นเอง (ไม่ใช่เนื้อสมอง แต่เป็นส่วนของความรู้สึกนึกคิด เนื้อสมอง
นั้นจัดเป็นรูปขันธ์ เนื้อสมองเป็นเหมือนส้านักงาน ส่วนนามขันธ์ทั้งหลาย
เหมือนผู้ที่ท้างานในส้านักงานนั้น)
2.1 เวทนาขันธ์ คือความรู้สึกเป็นสุขทางกาย
ทุกข์ทางกาย โสมนัส(สุขทางใจ) โทมนัส(ทุกข์ทางใจ)
อุเบกขาหรือ อทุกขมสุขเวทนา(เป็นกลางๆ ไม่สุขไม่ทุกข์)
2.4 วิญญาณขันธ์ หรือจิต คือผู้ที่รับรู้สิ่งทั้งปวง คือรับรู้ความรู้สึกต่างๆ
2.3 สังขารขันธ์ คือส่วนที่ปรุงแต่งจิต คือสภาพที่ปรากฎของจิตนั่นเอง เช่น
ความโลภ ความโกรธ ความหลง ทาน(สภาพของจิตที่สละสิ่งต่างๆ ออกไป) ความเมตตา
กรุณา มุทิตา สมาธิ ความฟุ้งซ่าน ความหดหู่ท้อถอย ความง่วง ความละอาย ความเกรง
กลัว ความไม่ละอาย ความไม่เกรงกลัว เจตนาในการท้าสิ่งต่างๆ ความลังเลสงสัย ความ
มั่นใจ ความเย่อหยิ่งถือตัว ความเพียร ปิติ ความยินดีพอใจ ความอิจฉา ความตระหนี่
ศรัทธา สติ ปัญญา การคิด การตรึกตรอง
ตั้งแต่ ข้อ 2.1 จนถึงข้อ 2.3 และเป็นผู้รับรู้ถึงส่วนที่เป็นรูปขันธ์ทั้งหลายด้วย
อันได้แก่เป็นผู้รับรู้สิ่งทั้งหลาย ที่มากระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง
รวมถึงเป็นผู้รับรู้ในสภาวะแห่ง นิพพาน ด้วย
นิพพาน คือสภาวะที่พ้นจากรูปขันธ์และนาม
ขันธ์ทั้งปวง หรือสภาวะจิตที่พ้นจากความยึดมั่น
ผูกพันธ์ในสิ่งทั้งปวง รวมถึงไม่ยึดมั่นในนิพพานด้วย
นิพพาน = นิ + วาน (ในภาษาบาลีนั้น ว. กับ พ. ใช้แทนกันได้ วาน จึงเท่ากับ พาน)
นิ = พ้น
วาน = สิ่งที่เกี่ยวโยงไว้ ได้แก่ ตัณหาคือความทะยานอยาก และอุปาทานคือความยึดมั่น
ถือมั่นนั่นเอง
นิวาน หรือนิพพาน แปลตามตัวจึงหมายถึงความพ้นจากเครื่องเกี่ยวโยง(ตัณหาและ
อุปาทาน) นั่นเอง
- รูปขันธ์ -
- เวทนาขันธ์ -
- สัญญาขันธ์ -
- สังขารขันธ์ -
- วิญญาณขันธ์ -
สรุปแล้วขันธ์ 5 ประกอบด้วย
สรุปว่า ขันธ์ 5 ก็คือ รูป จิต และเจตสิก นั่นเอง
การเกิดขึ้นของ จิต (วิญญาณขันธ์) จะเกิดขึ้นโดยไม่มี เจตสิก
(เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์) นั้นไม่ได้ ล้าพังจิตอย่างเดียว ไม่สามารถรับรู้หรือ
นึกคิดอะไรได้เลย จิตและเจตสิก จะแยกจากกันไม่ได้ ต้องเกิดร่วมกันอิงอาศัยกัน
จิตแต่ละดวงที่เกิดขึ้น จะต้องมีเจตสิกประกอบปรุงแต่งด้วยเสมอ
คาถาม
ทบทวน
1. ขันธ์ แปลว่าอะไร
= ขันธ์ แปลว่ากอง พวก หมวด หมู่
2. ขันธ์ 5 เรียกอีกอย่างว่าอะไร
= เบญจขันธ์
3. สรรพสิ่งทั้งหลายในอนันตจักรวาลนั้น
แยกประเภทได้เป็นกี่ส่วน
= 3 ส่วน
4. สรรพสิ่งทั้งหลายในอนันตจักรวาลนั้น
แยกประเภทได้เป็น 3 ส่วน มีส่วนใดบ้าง
= 1. ส่วนวัตถุ / 2. ส่วนรู้สึกนึกคิด
/ 3. ส่วนนิพพาน
5. จากการแยกส่วนสรรพสิ่งทั้งหลาย
ในอนันตจักรวาลเป็น 3 ส่วน
เสียงอยู่ส่วนใด
= ส่วนวัตถุ
6. จากการแยกส่วนสรรพสิ่ง
ทั้งหลายในอนันตจักรวาลเป็น 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 ถือเป็นขันธ์ใด
= รูปขันธ์
7. จากการแยกส่วนสรรพสิ่งทั้งหลายใน
อนันตจักรวาลเป็น 3 ส่วน ส่วนที่ 1 ถือเป็นขันธ์ใด
= รูปขันธ์
8. ส่วนที่เป็นความรู้สึกนึกคิด และความคิดทั้งหลาย
รวม ๆ แล้วเรียกว่าอะไร
= นามขันธ์
9. นามขันธ์ ประกอบไปด้วยขันธ์ใดบ้าง
= เวทนาขันธ์ / สัญญาขันธ์
/ สังขารขันธ์ / วิญญาณขันธ์
10. นิพพาน คืออะไร
= คือสภาวะที่พ้นจากรูปขันธ์และนามขันธ์ทั้งปวง หรือสภาวะจิต
ที่พ้นจากความยึดมั่นผูกพันธ์ในสิ่งทั้งปวง รวมถึงไม่ยึดมั่นใน
นิพพานด้วย

More Related Content

What's hot

ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 

What's hot (20)

อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 

Viewers also liked

026โอวาท3ไตรสิกขา
026โอวาท3ไตรสิกขา026โอวาท3ไตรสิกขา
026โอวาท3ไตรสิกขาniralai
 
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFramework
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFrameworkไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFramework
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFrameworkKasem S. Mcu
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขาppompuy pantham
 
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขาniralai
 

Viewers also liked (6)

ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
026โอวาท3ไตรสิกขา
026โอวาท3ไตรสิกขา026โอวาท3ไตรสิกขา
026โอวาท3ไตรสิกขา
 
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFramework
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFrameworkไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFramework
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFramework
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
 

Similar to ขันธ์ 5

Similar to ขันธ์ 5 (9)

ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
ขันธ์52
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 

ขันธ์ 5