SlideShare a Scribd company logo
Free Powerpoint Templates
Page 1
Free Powerpoint Templates
บทนำ
ธรรมชำติของสิ่งมีชีวิต
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
รำยวิชำวิทยำศำสตร์ : ชีววิทยำ (ว31104)
โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2556
Free Powerpoint Templates
Page 2
ชีววิทยา (Biology)
ชีววิทยา = การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
ภาษากรีก : Bios = สิ่งมีชีวิต + Logos = ความคิด,เหตุผล,การศึกษา
สามารถศึกษาได้หลายระดับ
- ศึกษาในระดับใหญ่ เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประชากรสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อมหรือสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ การศึกษาลักษณะรูปร่าง การ
ดารงชีวิต และการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต
- ศึกษาในระดับย่อย เช่น การศึกษาองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต (อวัยวะ
เนื้อเยื่อ เซลล์) ทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่การทางาน
- ศึกษาในระดับโมเลกุล อะตอม เช่น DNA, RNA สารอินทรีย์และอะตอม
ของธาตุต่างๆ รวมถึงปฏิกิริยาเคมี และพลังงานในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
Free Powerpoint Templates
Page 3
ชีววิทยา (Biology)
- ชีววิทยามีเกี่ยวข้องกับความรู้ต่างๆ หลายสาขา ทั้งเคมี ฟิสิกส์
คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ที่สามารถประยุกต์นามาใช้อธิบายหรือจาลอง
ความเป็นไปของสิ่งมีชีวิต เพื่อตอบปัญหาต่างๆ ที่มนุษย์สงสัย
- คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต
1. มีโครงสร้างและการทาหน้าที่อย่างเป็นระบบ (Specific Organization)
2. มีการรักษาสมดุลภายในร่างกาย (Homeostasis)
3. มีการปรับตัว (Adaptation)
4. มีการสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (Reproduction and Heredity)
5. มีการเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง (Growth and Development)
6. มีความต้องการพลังงาน (Energy) และสร้างพลังงาน
7. มีการรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น (Sensitivity)
8. มีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) กับสิ่งแวดล้อม
Free Powerpoint Templates
Page 4
โครงสร้างและการทาหน้าที่อย่างเป็นระบบ
(Specific Organization)
- ในสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะสิ่งมีชีวิตชั้นสูง จะมีการทางานประสานกันตั้งแต่ระดับ
หน่วยย่อย ภายในเซลล์(Organelle) กลุ่มเซลล์ (Tissue) และอวัยวะ
(Organ) ต่างๆ อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
Free Powerpoint Templates
Page 5
การรักษาสมดุลภายในร่างกาย
(Homeostasis)
- การรักษาสมดุลภายในร่างกาย เช่น ระดับอุณหภูมิ ค่าความเป็นกรด-เบส
(pH) และความเข้มข้นของสารต่างๆ ให้อยู่ในจุดที่ไม่เป็นอันตรายต่อเซลล์
Free Powerpoint Templates
Page 6
การปรับตัว
(Adaptation)
- การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตเป็นไปเพื่อให้สามารถอยู่รอดในสิ่งแวดล้อมที่มัน
อาศัยอยู่ และสามารถสืบทอดลูกหลานต่อไปได้
- สิ่งมีชีวิตพยายามปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ เช่น
- การเปลี่ยนสีของผิวหนังในสัตว์เลื้อยคลานเพื่ออาพรางศัตรู
- การที่ปลามีรูปร่างเพรียวไม่ต้านกระแสน้า
- การลดรูปของใบจนมีลักษณะคล้ายเข็มในต้นกระบองเพชร เพื่อ
ลดการสูญเสียน้า
Free Powerpoint Templates
Page 7
การสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
(Reproduction and Heredity)
- สิ่งมีชีวิตต้องสามารถสืบพันธุ์ได้ เพื่อดารงเผ่าพันธุ์ไว้ไม่ให้สูญสิ้นไป :
อาศัยเพศ (sexual) หรือไม่อาศัยเพศ (asexual)
- เมื่อมีการสืบพันธุ์ สิ่งมีชีวิตจะถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปยัง
ลูกหลาน โดยอาศัยสารพันธุกรรมซึ่งได้แก่ DNA และ RNA (ตัวเก็บ
รหัสทางพันธุกรรมของรุ่นพ่อ-แม่)
Free Powerpoint Templates
Page 8
?
Free Powerpoint Templates
Page 9
การเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง
(Growth and Development)
การเจริญเติบโตจากไซโกตเป็นตัวเต็มวัยเซลล์มีการเปลี่ยนแปลง คือ
• การเพิ่มจานวน (cell division)
• การเพิ่มขนาดของเซลล์ และขนาดของร่างกาย (growth)
• การเปลี่ยนแปลงเพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่าง (cell differentiation)
• การเกิดรูปร่างที่แน่นอน (morphogenesis)
Free Powerpoint Templates
Page 10
ความต้องการพลังงานและสร้างพลังงาน
(Energy)
- สิ่งมีชีวิตต้องการพลังงานเพื่อนามาสร้างสาร ATP โดยผ่านกระบวนการ Metabolism
: Catabolism และ Anabolism
- ATP เป็นสารที่ใช้ในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิต เช่น
การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต การเคลื่อนไหว ฯลฯ
- พลังงานที่สิ่งมีชีวิตต้องการ อาจได้มาจากแหล่งต่างๆ เช่น พืชได้พลังงานจาก
แสงอาทิตย์ สัตว์ได้พลังงานจากปฏิกิริยาเคมีของสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ ไวรัสได้
พลังงานจากสิ่งมีชีวิตอื่น
Free Powerpoint Templates
Page 11
การรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น
(Sensitivity)
- สิ่งมีชีวิตสามารถรับรู้ และตอบสนองต่อสิ่งเร้าจากสิ่งแวดล้อมที่อาศัยอยู่ใน
ลักษณะต่างๆ กัน เช่น การเจริญเข้าหาแสงของต้นพืช การเจริญเติบโตที่ช้า
ลงของจุลินทรีย์เมื่ออยู่ในที่อุณหภูมิต่า 4 องศาเซลเซียสการเคลื่อนที่เข้าหา
สารอาหารของพารามีเซียม
Free Powerpoint Templates
Page 12
ปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งแวดล้อม
(Interaction)
- สิ่งมีชีวิตมีลักษณะเป็นระบบเปิด (Open System) ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อมได้ตลอดเวลาโดยมีการรับพลังงานสารอาหารเข้าสู่ร่างกาย และ
ขับถ่ายของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีความสัมพันธ์
กับสิ่งมีชีวิตอื่นในรูปแบบต่างๆ เช่น การอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัย
(Symbiosis) การเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน (Antagonism) และการเบียดเบียน
สิ่งมีชีวิตอื่น (Parasitism) เป็นต้น
Free Powerpoint Templates
Page 13
?
Free Powerpoint Templates
Page 14
สาขาของชีววิทยา
1. ศึกษาสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มของสิ่งมีชีวิต
1.1) สัตววิทยา (Zoology) แบ่งออกเป็น
- สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (invertebrate) - สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate)
- มีนวิทยา (Icthyology) - สังขวิทยา (Malacology)
- ปักษินวิทยา (Ornithology) - วิทยาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Mammalogy)
- กีฎวิทยา (Entomology) - วิทยาเห็บไร (Acarology)
1.2) พฤกษศาสตร์ (Botany) ศึกษาเรื่องราวต่างๆ ของพืช เช่น
- พืชชั้นต่า (Lower plant) - พืชมีท่อลาเลียง (Vascular plants)
- พืชมีดอก (Angiosperm)
1.3) จุลชีววิทยา (Microbiology) ศึกษาเรื่องราวต่างๆ ของจุลินทรีย์ เช่น
- วิทยาแบคทีเรีย (Bacteriology) - วิทยาไวรัส (Virology)
- วิทยาสัตว์เซลล์เดียว (Protozoology)
Free Powerpoint Templates
Page 15
2. ศึกษาจากโครงสร้างหน้าที่และการทางานของสิ่งมีชีวิต
- กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) - สัณฐานวิทยา (Morphology)
- สรีรวิทยา (Physiology) - พันธุศาสตร์ (Genetics)
- นิเวศวิทยา (Ecology) - เนื้อเยื่อวิทยา (Histology)
- วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology) - ปรสิตวิทยา (Parasitology)
- วิทยาเซลล์ (Cytology)
3. ศึกษาเรื่องราวของสิ่งมีชีวิต
- อนุกรมวิธาน (Taxonomy)
- วิวัฒนาการ (Evolution)
- บรรพชีวินวิทยา (Paleontology)
สาขาของชีววิทยา
Free Powerpoint Templates
Page 16
ชีววิทยากับการดารงชีวิต
- Cloning คือ การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีพันธุกรรมเหมือนเดิมทุกประการ
- GMOs (genetically modified organisms) คือ สิ่งมีชีวิตที่มีการตัดและต่อยีนด้วยเทคนิค
พันธุวิศวกรรม (genetic engineering) ทาให้มีลักษณะพันธุกรรมตามต้องการ
- การผสมเทียมในหลอดแก้ว แล้วถ่ายฝากตัวอ่อน (In Vitro Fertilization Embryo
Transfer หรือ IVF& ET )
- การทาอิ๊กซี่ ( Intra Cytoplasmic Sperm Injection หรือ ICSI) คัดเชื้ออสุจิที่สมบูรณ์เพียง
ตัวเดียว ฉีดเข้าไปในไข่โดยตรง ใช้ในกรณีที่เด็กหลอดแก้วธรรมดาไม่ประสบความสาเร็จ
- การทากิฟท์ ( Gamete IntraFollopain Transfer หรือ GIF) นาเซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมา
ผสมกัน แล้วใส่กลับเข้าสู่ท่อนาไข่ทันทีอาศัยให้อสุจิและไข่ปฏิสนธิกันเองตามธรรมชาติ
- การทาซิฟท์ ( Zygote IntraFollopain Transfer หรือ ZIFT) เซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมา
ปฏิสนธินอกร่างกายก่อน แล้วจึงนาตัวอ่อนในระยะ Zygote ใส่กลับเข้าไปในท่อนาไข่
- การพัฒนาเทคนิคทางด้าน DNA ตรวจหาความสัมพันธ์ทางสายเลือด
- การผลิตสาหร่ายสไปรูไลนาซึ่งให้โปรตีนสูง
- การศึกษาทางด้านพืชสมุนไพรนามาผลิตเป็นยารักษาโรค
- การผลิตฮอร์โมนอินซูลินจากยีสต์เพื่อรักษาโรคเบาหวานในคน
Free Powerpoint Templates
Page 17
ชีวจริยธรรม (Bioethics) การปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตโดยไม่ทาร้าย/อันตรายสิ่งมีชีวิต
สานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ กาหนดจรรยาบรรณการใช้สัตว์เพื่อ
งานวิจัย งานสอน งานทดสอบ และงานผลิตชีววัตถุไว้ดังนี้
1. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์
2. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงความแม่นยาของผลงานโดยใช้สัตว์จานวนน้อยที่สุด
3. การใช้สัตว์ป่าต้องไม่ขัดต่อกฎหมายและนโยบายการอนุรักษ์ป่า
4. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักว่าสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับมนุษย์
5. ผู้ใช้สัตว์ต้องบันทึกการปฏิบัติต่อสัตว์ไว้เป็นหลักฐานอย่างครบถ้วน
Free Powerpoint Templates
Page 18
Free Powerpoint Templates
Page 19
การศึกษาชีววิทยา
• กำรศึกษำวิทยำศำสตร์ คือ กำรแสวงหำข้อเท็จจริง ใหม่ๆ อันจะทำให้เกิดควำมเข้ำใจ
ปรำกฏกำรณ์ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในโลก และเอกภพทั้งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
• คุณลักษณะของนักวิทยำศำสตร์ 4 ประกำร
1. เป็นคนช่ำงสังเกต 2. มีวิธีกำรศึกษำ
3. ขวนขวำยหำข้อเท็จจริงที่ถูกต้องกว่ำอยู่เสมอ 4. เป็นคนใจกว้ำง
• กระบวนกำรวิทยำศำสตร์ (scientific method)
1. กำรสังเกตและกำรตั้งปัญหำ : การตั้งปัญหาสาคัญกว่าการแก้ปัญหา)
2. กำรรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับปัญหำ : แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
3. กำรตั้งสมมติฐำน : ถ้า...(เหตุ)....แล้ว...(ผล)...
4. กำรออกแบบเพื่อตรวจสอบสมมติฐำน : ตัวแปรต้น (อิสระ) ,ตัวแปรตาม .ตัวแปรควบคุม
5. กำรตรวจสอบสมมติฐำน หรือ ขั้นกำรทดลอง : กลุ่มทดลอง และ การควบคุม
6. กำรบันทึกและแปรผล หรือ กำรวิเครำะห์ข้อมูล : รูปแบบตาราง/กราฟ/แผนภูมิ
7. กำรสรุปผล : คาตอบของสมมติฐานว่าเป็นจริงหรือไม่พร้อมอธิบายเหตุผล
Free Powerpoint Templates
Page 20
ตัวอย่ำงกำรศึกษำทำงชีววิทยำ
Free Powerpoint Templates
Page 21
Light microscope
VS.
Electron
microscope
องค์ประกอบและการทางาน!
Free Powerpoint Templates
Page 22
Free Powerpoint Templates
Page 23
1. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง แบ่งเป็น
- แบบใช้แสงธรรมดำหรือชนิดเลนส์ประกอบ (Compound microscope) ใช้ศึกษำโครงสร้ำง
ภำยใน (แสงทะลุผ่ำน : slide 2 มิติ)
- แบบใช้แสงสเตอริโอ (Stereoscopic microscope) ใช้ศึกษำโครงสร้ำงภำยนอก (แสงสะท้อน :
ทึบ 3 มิติ)
Microscope
Free Powerpoint Templates
Page 24
Different Types of Light Microscope: A Comparison
Human Cheek Epithelial Cells
Brightfield
(unstained
specimen)
Brightfield
(stained
specimen)
Fluorescene
Phase-contrast
Differential-
interference-
contrast
(Nomarski)
Confocal
Free Powerpoint Templates
Page 25
2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) มี 2 แบบ คือ
- แบบส่องผ่ำน (Transmission Electron Microscope: TEM) ใช้ศึกษำโครงสร้ำงภำยในของ
เซลล์โดยลำแสงอิเล็กตรอนจะส่องผ่ำนเซลล์ที่เตรียมให้บำงเป็นพิเศษ
- แบบส่องกรำด (Scanning Electron Microscope: SEM) ใช้ศึกษำโครงสร้ำงของผิวเซลล์หรือ
ผิวของวัตถุ โดยแสงของอิเล็กตรอนส่องกระทบผิวของวัตถุ
Microscope
Free Powerpoint Templates
Page 26
Electron micrographs
Transmission electron
micrographs (TEM)
Scanning electron
micrographs (SEM)
Free Powerpoint Templates
Page 27
ลักษณะเปรียบเทียบ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ชนิดของแสง แสงธรรมดำ ( = 4x103 Ao) ลำอิเล็กตรอน ( = 0.05-10 Ao)
ชนิดของเลนส์ เลนส์นูน เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้ำ
กาลังขยาย ประมำณ 2,000 เท่ำ ประมำณ 500,000 เท่ำ
ขนาดวัตถุที่เล็กที่สุด 0.2 ไมโครเมตร 0.0005 ไมโครเมตร
ภายในลากล้อง มีอำกำศ สุญญำกำศ
ภาพสุดท้ายที่เกิดขึ้น ภำพเสมือนหัวกลับ ภำพปรำกฏบนจอเรืองแสง
สภาพของวัตถุที่ใช้ดู มีหรือไม่มีชีวิต ไม่มีชีวิตและแห้งปรำศจำกน้ำ
ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
Free Powerpoint Templates
Page 28
ข้อควรจำ
- กำลังขยำยของกล้องจุลทรรศน์ = กำลังขยำยของเลนส์ใกล้วัตถุ x กำลังขยำยเลนส์ใกล้ตำ
- ขนำดภำพ = ขนำดวัตถุ x กำลังขยำยของกล้องจุลทรรศน์
@ หน่วยที่ใช้บ่อย mm (10-3 ) / m (10-6 ) / nm (10-9 )
-ถ้ำกำลังขยำยของกล้องสูงจะเห็นภำพที่มีรำยละเอียดมำกกว่ำ แต่บริเวณขอบเขตที่มองเห็นภำพจะ
น้อยกว่ำกล้องที่มีกำลังขยำยต่ำ
- ภำพที่มองผ่ำนกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงธรรมดำเป็นภำพเสมือนหัวกลับ ภำพที่มองเห็นในกล้องจะ
กลับจำกซ้ำยเป็นขวำและบนเป็นล่ำงเสมอ
- กำรเลื่อน slide จะต้องเลื่อนในทิศทำงตรงข้ำมกับภำพเสมอ
ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีเลนส์ใกล้ตำ 15X และเลนส์ใกล้วัตถุ 100X มองเห็นเซลล์ยำว 100 ไมครอน ขนำดจริงของเซลล์คือ ?
? ?
Free Powerpoint Templates
Page 29
The End
Thank You For Your Attention

More Related Content

What's hot

บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
Wichai Likitponrak
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6
Wichai Likitponrak
 
Cellularres tu
Cellularres tuCellularres tu
Cellularres tu
Wichai Likitponrak
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
Wichai Likitponrak
 
บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์
Wichai Likitponrak
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
Wichai Likitponrak
 
656 pre3
656 pre3656 pre3
Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6
Wichai Likitponrak
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
Wichai Likitponrak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้นเฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
Wichai Likitponrak
 
บท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อบท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อ
Wichai Likitponrak
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
Wichai Likitponrak
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
Wichai Likitponrak
 
Intro bio5 2560
Intro bio5 2560Intro bio5 2560
Intro bio5 2560
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
I'mike Surayut
 

What's hot (20)

บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
 
Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6
 
Cellularres tu
Cellularres tuCellularres tu
Cellularres tu
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
656 pre3
656 pre3656 pre3
656 pre3
 
Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้นเฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
 
บท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อบท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อ
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
Intro bio5 2560
Intro bio5 2560Intro bio5 2560
Intro bio5 2560
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
 

Viewers also liked

ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศ
แบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศแบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศ
แบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศ
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบลำเลียงเซลล์
แบบทดสอบลำเลียงเซลล์แบบทดสอบลำเลียงเซลล์
แบบทดสอบลำเลียงเซลล์
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์
แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์
แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบชีวะพื้นดุล
แบบทดสอบชีวะพื้นดุลแบบทดสอบชีวะพื้นดุล
แบบทดสอบชีวะพื้นดุล
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบปฏิกิริยาเซลล์
แบบทดสอบปฏิกิริยาเซลล์แบบทดสอบปฏิกิริยาเซลล์
แบบทดสอบปฏิกิริยาเซลล์
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบสืบพันธ์ุ
แบบทดสอบสืบพันธ์ุแบบทดสอบสืบพันธ์ุ
แบบทดสอบสืบพันธ์ุ
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบการย่อย
แบบทดสอบการย่อยแบบทดสอบการย่อย
แบบทดสอบการย่อย
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบบทนำชีววิทยา
แบบทดสอบบทนำชีววิทยาแบบทดสอบบทนำชีววิทยา
แบบทดสอบบทนำชีววิทยา
Wichai Likitponrak
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 

Viewers also liked (14)

ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศ
แบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศแบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศ
แบบทดสอบชีวะพื้นนิเวศ
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
แบบทดสอบลำเลียงเซลล์
แบบทดสอบลำเลียงเซลล์แบบทดสอบลำเลียงเซลล์
แบบทดสอบลำเลียงเซลล์
 
แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์
แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์
แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์
 
แบบทดสอบชีวะพื้นดุล
แบบทดสอบชีวะพื้นดุลแบบทดสอบชีวะพื้นดุล
แบบทดสอบชีวะพื้นดุล
 
แบบทดสอบปฏิกิริยาเซลล์
แบบทดสอบปฏิกิริยาเซลล์แบบทดสอบปฏิกิริยาเซลล์
แบบทดสอบปฏิกิริยาเซลล์
 
แบบทดสอบสืบพันธ์ุ
แบบทดสอบสืบพันธ์ุแบบทดสอบสืบพันธ์ุ
แบบทดสอบสืบพันธ์ุ
 
แบบทดสอบการย่อย
แบบทดสอบการย่อยแบบทดสอบการย่อย
แบบทดสอบการย่อย
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบบทนำชีววิทยา
แบบทดสอบบทนำชีววิทยาแบบทดสอบบทนำชีววิทยา
แบบทดสอบบทนำชีววิทยา
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 

Similar to ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต

แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ดอกหญ้า ธรรมดา
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
Wichai Likitponrak
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantreproLesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Wichai Likitponrak
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio finalPtato Ok
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
Oui Nuchanart
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
Wichai Likitponrak
 

Similar to ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต (20)

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantreproLesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (11)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต

  • 1. Free Powerpoint Templates Page 1 Free Powerpoint Templates บทนำ ธรรมชำติของสิ่งมีชีวิต ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ รำยวิชำวิทยำศำสตร์ : ชีววิทยำ (ว31104) โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2556
  • 2. Free Powerpoint Templates Page 2 ชีววิทยา (Biology) ชีววิทยา = การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ภาษากรีก : Bios = สิ่งมีชีวิต + Logos = ความคิด,เหตุผล,การศึกษา สามารถศึกษาได้หลายระดับ - ศึกษาในระดับใหญ่ เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประชากรสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมหรือสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ การศึกษาลักษณะรูปร่าง การ ดารงชีวิต และการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต - ศึกษาในระดับย่อย เช่น การศึกษาองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต (อวัยวะ เนื้อเยื่อ เซลล์) ทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่การทางาน - ศึกษาในระดับโมเลกุล อะตอม เช่น DNA, RNA สารอินทรีย์และอะตอม ของธาตุต่างๆ รวมถึงปฏิกิริยาเคมี และพลังงานในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
  • 3. Free Powerpoint Templates Page 3 ชีววิทยา (Biology) - ชีววิทยามีเกี่ยวข้องกับความรู้ต่างๆ หลายสาขา ทั้งเคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ที่สามารถประยุกต์นามาใช้อธิบายหรือจาลอง ความเป็นไปของสิ่งมีชีวิต เพื่อตอบปัญหาต่างๆ ที่มนุษย์สงสัย - คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต 1. มีโครงสร้างและการทาหน้าที่อย่างเป็นระบบ (Specific Organization) 2. มีการรักษาสมดุลภายในร่างกาย (Homeostasis) 3. มีการปรับตัว (Adaptation) 4. มีการสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (Reproduction and Heredity) 5. มีการเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง (Growth and Development) 6. มีความต้องการพลังงาน (Energy) และสร้างพลังงาน 7. มีการรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น (Sensitivity) 8. มีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) กับสิ่งแวดล้อม
  • 4. Free Powerpoint Templates Page 4 โครงสร้างและการทาหน้าที่อย่างเป็นระบบ (Specific Organization) - ในสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะสิ่งมีชีวิตชั้นสูง จะมีการทางานประสานกันตั้งแต่ระดับ หน่วยย่อย ภายในเซลล์(Organelle) กลุ่มเซลล์ (Tissue) และอวัยวะ (Organ) ต่างๆ อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
  • 5. Free Powerpoint Templates Page 5 การรักษาสมดุลภายในร่างกาย (Homeostasis) - การรักษาสมดุลภายในร่างกาย เช่น ระดับอุณหภูมิ ค่าความเป็นกรด-เบส (pH) และความเข้มข้นของสารต่างๆ ให้อยู่ในจุดที่ไม่เป็นอันตรายต่อเซลล์
  • 6. Free Powerpoint Templates Page 6 การปรับตัว (Adaptation) - การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตเป็นไปเพื่อให้สามารถอยู่รอดในสิ่งแวดล้อมที่มัน อาศัยอยู่ และสามารถสืบทอดลูกหลานต่อไปได้ - สิ่งมีชีวิตพยายามปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ เช่น - การเปลี่ยนสีของผิวหนังในสัตว์เลื้อยคลานเพื่ออาพรางศัตรู - การที่ปลามีรูปร่างเพรียวไม่ต้านกระแสน้า - การลดรูปของใบจนมีลักษณะคล้ายเข็มในต้นกระบองเพชร เพื่อ ลดการสูญเสียน้า
  • 7. Free Powerpoint Templates Page 7 การสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (Reproduction and Heredity) - สิ่งมีชีวิตต้องสามารถสืบพันธุ์ได้ เพื่อดารงเผ่าพันธุ์ไว้ไม่ให้สูญสิ้นไป : อาศัยเพศ (sexual) หรือไม่อาศัยเพศ (asexual) - เมื่อมีการสืบพันธุ์ สิ่งมีชีวิตจะถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปยัง ลูกหลาน โดยอาศัยสารพันธุกรรมซึ่งได้แก่ DNA และ RNA (ตัวเก็บ รหัสทางพันธุกรรมของรุ่นพ่อ-แม่)
  • 9. Free Powerpoint Templates Page 9 การเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง (Growth and Development) การเจริญเติบโตจากไซโกตเป็นตัวเต็มวัยเซลล์มีการเปลี่ยนแปลง คือ • การเพิ่มจานวน (cell division) • การเพิ่มขนาดของเซลล์ และขนาดของร่างกาย (growth) • การเปลี่ยนแปลงเพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่าง (cell differentiation) • การเกิดรูปร่างที่แน่นอน (morphogenesis)
  • 10. Free Powerpoint Templates Page 10 ความต้องการพลังงานและสร้างพลังงาน (Energy) - สิ่งมีชีวิตต้องการพลังงานเพื่อนามาสร้างสาร ATP โดยผ่านกระบวนการ Metabolism : Catabolism และ Anabolism - ATP เป็นสารที่ใช้ในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิต เช่น การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต การเคลื่อนไหว ฯลฯ - พลังงานที่สิ่งมีชีวิตต้องการ อาจได้มาจากแหล่งต่างๆ เช่น พืชได้พลังงานจาก แสงอาทิตย์ สัตว์ได้พลังงานจากปฏิกิริยาเคมีของสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ ไวรัสได้ พลังงานจากสิ่งมีชีวิตอื่น
  • 11. Free Powerpoint Templates Page 11 การรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น (Sensitivity) - สิ่งมีชีวิตสามารถรับรู้ และตอบสนองต่อสิ่งเร้าจากสิ่งแวดล้อมที่อาศัยอยู่ใน ลักษณะต่างๆ กัน เช่น การเจริญเข้าหาแสงของต้นพืช การเจริญเติบโตที่ช้า ลงของจุลินทรีย์เมื่ออยู่ในที่อุณหภูมิต่า 4 องศาเซลเซียสการเคลื่อนที่เข้าหา สารอาหารของพารามีเซียม
  • 12. Free Powerpoint Templates Page 12 ปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งแวดล้อม (Interaction) - สิ่งมีชีวิตมีลักษณะเป็นระบบเปิด (Open System) ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมได้ตลอดเวลาโดยมีการรับพลังงานสารอาหารเข้าสู่ร่างกาย และ ขับถ่ายของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีความสัมพันธ์ กับสิ่งมีชีวิตอื่นในรูปแบบต่างๆ เช่น การอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัย (Symbiosis) การเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน (Antagonism) และการเบียดเบียน สิ่งมีชีวิตอื่น (Parasitism) เป็นต้น
  • 14. Free Powerpoint Templates Page 14 สาขาของชีววิทยา 1. ศึกษาสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มของสิ่งมีชีวิต 1.1) สัตววิทยา (Zoology) แบ่งออกเป็น - สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (invertebrate) - สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate) - มีนวิทยา (Icthyology) - สังขวิทยา (Malacology) - ปักษินวิทยา (Ornithology) - วิทยาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Mammalogy) - กีฎวิทยา (Entomology) - วิทยาเห็บไร (Acarology) 1.2) พฤกษศาสตร์ (Botany) ศึกษาเรื่องราวต่างๆ ของพืช เช่น - พืชชั้นต่า (Lower plant) - พืชมีท่อลาเลียง (Vascular plants) - พืชมีดอก (Angiosperm) 1.3) จุลชีววิทยา (Microbiology) ศึกษาเรื่องราวต่างๆ ของจุลินทรีย์ เช่น - วิทยาแบคทีเรีย (Bacteriology) - วิทยาไวรัส (Virology) - วิทยาสัตว์เซลล์เดียว (Protozoology)
  • 15. Free Powerpoint Templates Page 15 2. ศึกษาจากโครงสร้างหน้าที่และการทางานของสิ่งมีชีวิต - กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) - สัณฐานวิทยา (Morphology) - สรีรวิทยา (Physiology) - พันธุศาสตร์ (Genetics) - นิเวศวิทยา (Ecology) - เนื้อเยื่อวิทยา (Histology) - วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology) - ปรสิตวิทยา (Parasitology) - วิทยาเซลล์ (Cytology) 3. ศึกษาเรื่องราวของสิ่งมีชีวิต - อนุกรมวิธาน (Taxonomy) - วิวัฒนาการ (Evolution) - บรรพชีวินวิทยา (Paleontology) สาขาของชีววิทยา
  • 16. Free Powerpoint Templates Page 16 ชีววิทยากับการดารงชีวิต - Cloning คือ การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีพันธุกรรมเหมือนเดิมทุกประการ - GMOs (genetically modified organisms) คือ สิ่งมีชีวิตที่มีการตัดและต่อยีนด้วยเทคนิค พันธุวิศวกรรม (genetic engineering) ทาให้มีลักษณะพันธุกรรมตามต้องการ - การผสมเทียมในหลอดแก้ว แล้วถ่ายฝากตัวอ่อน (In Vitro Fertilization Embryo Transfer หรือ IVF& ET ) - การทาอิ๊กซี่ ( Intra Cytoplasmic Sperm Injection หรือ ICSI) คัดเชื้ออสุจิที่สมบูรณ์เพียง ตัวเดียว ฉีดเข้าไปในไข่โดยตรง ใช้ในกรณีที่เด็กหลอดแก้วธรรมดาไม่ประสบความสาเร็จ - การทากิฟท์ ( Gamete IntraFollopain Transfer หรือ GIF) นาเซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมา ผสมกัน แล้วใส่กลับเข้าสู่ท่อนาไข่ทันทีอาศัยให้อสุจิและไข่ปฏิสนธิกันเองตามธรรมชาติ - การทาซิฟท์ ( Zygote IntraFollopain Transfer หรือ ZIFT) เซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมา ปฏิสนธินอกร่างกายก่อน แล้วจึงนาตัวอ่อนในระยะ Zygote ใส่กลับเข้าไปในท่อนาไข่ - การพัฒนาเทคนิคทางด้าน DNA ตรวจหาความสัมพันธ์ทางสายเลือด - การผลิตสาหร่ายสไปรูไลนาซึ่งให้โปรตีนสูง - การศึกษาทางด้านพืชสมุนไพรนามาผลิตเป็นยารักษาโรค - การผลิตฮอร์โมนอินซูลินจากยีสต์เพื่อรักษาโรคเบาหวานในคน
  • 17. Free Powerpoint Templates Page 17 ชีวจริยธรรม (Bioethics) การปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตโดยไม่ทาร้าย/อันตรายสิ่งมีชีวิต สานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ กาหนดจรรยาบรรณการใช้สัตว์เพื่อ งานวิจัย งานสอน งานทดสอบ และงานผลิตชีววัตถุไว้ดังนี้ 1. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์ 2. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงความแม่นยาของผลงานโดยใช้สัตว์จานวนน้อยที่สุด 3. การใช้สัตว์ป่าต้องไม่ขัดต่อกฎหมายและนโยบายการอนุรักษ์ป่า 4. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักว่าสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับมนุษย์ 5. ผู้ใช้สัตว์ต้องบันทึกการปฏิบัติต่อสัตว์ไว้เป็นหลักฐานอย่างครบถ้วน
  • 19. Free Powerpoint Templates Page 19 การศึกษาชีววิทยา • กำรศึกษำวิทยำศำสตร์ คือ กำรแสวงหำข้อเท็จจริง ใหม่ๆ อันจะทำให้เกิดควำมเข้ำใจ ปรำกฏกำรณ์ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในโลก และเอกภพทั้งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต • คุณลักษณะของนักวิทยำศำสตร์ 4 ประกำร 1. เป็นคนช่ำงสังเกต 2. มีวิธีกำรศึกษำ 3. ขวนขวำยหำข้อเท็จจริงที่ถูกต้องกว่ำอยู่เสมอ 4. เป็นคนใจกว้ำง • กระบวนกำรวิทยำศำสตร์ (scientific method) 1. กำรสังเกตและกำรตั้งปัญหำ : การตั้งปัญหาสาคัญกว่าการแก้ปัญหา) 2. กำรรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับปัญหำ : แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 3. กำรตั้งสมมติฐำน : ถ้า...(เหตุ)....แล้ว...(ผล)... 4. กำรออกแบบเพื่อตรวจสอบสมมติฐำน : ตัวแปรต้น (อิสระ) ,ตัวแปรตาม .ตัวแปรควบคุม 5. กำรตรวจสอบสมมติฐำน หรือ ขั้นกำรทดลอง : กลุ่มทดลอง และ การควบคุม 6. กำรบันทึกและแปรผล หรือ กำรวิเครำะห์ข้อมูล : รูปแบบตาราง/กราฟ/แผนภูมิ 7. กำรสรุปผล : คาตอบของสมมติฐานว่าเป็นจริงหรือไม่พร้อมอธิบายเหตุผล
  • 20. Free Powerpoint Templates Page 20 ตัวอย่ำงกำรศึกษำทำงชีววิทยำ
  • 21. Free Powerpoint Templates Page 21 Light microscope VS. Electron microscope องค์ประกอบและการทางาน!
  • 23. Free Powerpoint Templates Page 23 1. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง แบ่งเป็น - แบบใช้แสงธรรมดำหรือชนิดเลนส์ประกอบ (Compound microscope) ใช้ศึกษำโครงสร้ำง ภำยใน (แสงทะลุผ่ำน : slide 2 มิติ) - แบบใช้แสงสเตอริโอ (Stereoscopic microscope) ใช้ศึกษำโครงสร้ำงภำยนอก (แสงสะท้อน : ทึบ 3 มิติ) Microscope
  • 24. Free Powerpoint Templates Page 24 Different Types of Light Microscope: A Comparison Human Cheek Epithelial Cells Brightfield (unstained specimen) Brightfield (stained specimen) Fluorescene Phase-contrast Differential- interference- contrast (Nomarski) Confocal
  • 25. Free Powerpoint Templates Page 25 2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) มี 2 แบบ คือ - แบบส่องผ่ำน (Transmission Electron Microscope: TEM) ใช้ศึกษำโครงสร้ำงภำยในของ เซลล์โดยลำแสงอิเล็กตรอนจะส่องผ่ำนเซลล์ที่เตรียมให้บำงเป็นพิเศษ - แบบส่องกรำด (Scanning Electron Microscope: SEM) ใช้ศึกษำโครงสร้ำงของผิวเซลล์หรือ ผิวของวัตถุ โดยแสงของอิเล็กตรอนส่องกระทบผิวของวัตถุ Microscope
  • 26. Free Powerpoint Templates Page 26 Electron micrographs Transmission electron micrographs (TEM) Scanning electron micrographs (SEM)
  • 27. Free Powerpoint Templates Page 27 ลักษณะเปรียบเทียบ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ชนิดของแสง แสงธรรมดำ ( = 4x103 Ao) ลำอิเล็กตรอน ( = 0.05-10 Ao) ชนิดของเลนส์ เลนส์นูน เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้ำ กาลังขยาย ประมำณ 2,000 เท่ำ ประมำณ 500,000 เท่ำ ขนาดวัตถุที่เล็กที่สุด 0.2 ไมโครเมตร 0.0005 ไมโครเมตร ภายในลากล้อง มีอำกำศ สุญญำกำศ ภาพสุดท้ายที่เกิดขึ้น ภำพเสมือนหัวกลับ ภำพปรำกฏบนจอเรืองแสง สภาพของวัตถุที่ใช้ดู มีหรือไม่มีชีวิต ไม่มีชีวิตและแห้งปรำศจำกน้ำ ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
  • 28. Free Powerpoint Templates Page 28 ข้อควรจำ - กำลังขยำยของกล้องจุลทรรศน์ = กำลังขยำยของเลนส์ใกล้วัตถุ x กำลังขยำยเลนส์ใกล้ตำ - ขนำดภำพ = ขนำดวัตถุ x กำลังขยำยของกล้องจุลทรรศน์ @ หน่วยที่ใช้บ่อย mm (10-3 ) / m (10-6 ) / nm (10-9 ) -ถ้ำกำลังขยำยของกล้องสูงจะเห็นภำพที่มีรำยละเอียดมำกกว่ำ แต่บริเวณขอบเขตที่มองเห็นภำพจะ น้อยกว่ำกล้องที่มีกำลังขยำยต่ำ - ภำพที่มองผ่ำนกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงธรรมดำเป็นภำพเสมือนหัวกลับ ภำพที่มองเห็นในกล้องจะ กลับจำกซ้ำยเป็นขวำและบนเป็นล่ำงเสมอ - กำรเลื่อน slide จะต้องเลื่อนในทิศทำงตรงข้ำมกับภำพเสมอ ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีเลนส์ใกล้ตำ 15X และเลนส์ใกล้วัตถุ 100X มองเห็นเซลล์ยำว 100 ไมครอน ขนำดจริงของเซลล์คือ ? ? ?
  • 29. Free Powerpoint Templates Page 29 The End Thank You For Your Attention