SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
ผลการใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้สื่อ“ เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ
เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ” รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243)
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
นางนุชนารถ เมืองกรุง
ตาแหน่ง ครู
โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ.พะเยา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
ก
คำนำ
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับชีวิตของ
ทุกคน ทั้งในการดารงชีวิตประจาวันและอนาคตและในงานอาชีพต่างๆ เครื่องมือเครื่องใช้ตลอดจนผลผลิตต่างๆ ที่
ใช้เพื่อดานวยความสะดวกในชีวิตและในการทางาน ล้วนเป็นผลงานของความรู้วิทยาศาสตร์ผสมผสานกับความคิด
สร้างสรรค์และศาสตร์อื่นๆ ความรู้วิทยาศาสตร์ช่วยในการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างมาก ในทางกลับกัน เทคโนโลยีก็
มีส่วนสาคัญมากที่จะให้มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง และมีบทบาททางด้าน
การเรียนการสอน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขายขีดความสามารถทาให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ มากขึ้นสร้าง
ความสนใจในการเรียนการสอน
ผลการใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้สื่อ“ เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง ” รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ได้ใช้นวัตกรรมทางด้าน
เทคโนโลยีเข้ามาผสมผสานในการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งเล็งเห็นความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเรียนการสอน
ชั่วโมงเรียน เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้เมื่อนักเรียนต้องการทบทวนเนื้อหาหรือไม่เข้าใจในบทเรียนสามารถ
ศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเองได้
นางนุชนารถ เมืองกรุง
ครู
ข
สำรบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
บทคัดย่อ ค
บทที่ 1 บทนา 1
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 20
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 23
บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ 33
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ค
บทคัดย่อ
เรื่อง ผลการใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้สื่อ“ เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ
เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ” รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243)
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
รำยวิชำ ชีววิทยา รหัสวิชา ว30243 ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ชื่อผู้นำเสนอ นางนุชนารถ เมืองกรุง
ที่อยู่ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา
ผลการใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้สื่อ“ เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง ” รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีจุดประสงค์ 1.) เพื่อ
พัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุช
นารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 2.) เพื่อศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 3.) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ
สังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา
ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5/1 และ 5/2 โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จานวน
30 คน
ผลการใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้สื่อ“ เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง ” รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูผู้สอนให้
นักเรียนศึกษาบทเรียน พบว่าคะแนนเฉลี่ยคะแนนก่อนการทดลองใช้สื่อ และหลังการทดลองใช้สื่อแตกต่างกัน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.01 โดยผลคะแนนหลังการทดลองใช้สื่อสูงกว่าก่อนการใช้สื่อ หมายความว่าการ
สอนที่อาศัยสื่อเรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา
3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ใช้มีประสิทธิภาพ สามารถนาไปใช้ได้ต่อไป ประสิทธิภาพของการสอนที่ใช้
สื่อสื่อเรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3
(ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5เท่ากับ 80.33/84.67 ซึ่งมีค่าใกล้เคียง 80/80 แสดงว่าการสอนโดยใช้สื่อ เรียนรู้
Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ดังกล่าว มีประสิทธิภาพ และพบว่าความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนโดยสื่อ
เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับความเห็นมาก ร้อยละ 42.19 และความพึงพอใจในการใช้สื่อเรียนรู้ อยู่ในระดับ
ความเห็นมาก เป็นร้อยละ 55.74
ง
1
บทที่ 1
บทนำ
1. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลัก
ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนมีความสาคัญ ที่สุด กระบวนการ
จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ มาตรา 24 ระบุถึง
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาได้จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความ
ถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ครูเป็นผู้จัดให้มีการเรียนรู้เกิดขึ้นกับผู้เรียนมากกว่าการเป็นผู้บอกความรู้ และ
เน้นให้เรียนรู้วิธีเรียน (Learn how to learn) ในหมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา 65 ระบุว่า ให้
มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านการผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้ความสามารถและ
ทักษะในการผลิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพและประสิทธิภาพ มาตรา 66 ระบุว่า
ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาตามขีดความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ในโอกาสแรกที่ทาได้
เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ได้อย่าง
ต่อเนื่องตลอดชีวิต (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ, 2542)
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หัวข้อ สื่อการเรียนรู้ กล่าวว่า การจัดการ
ศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรสถานศึกษามุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และใช้เวลาสร้างสรรค์ รวมทั้งมีความยืดหยุ่น สนองความต้องการของผู้เรียน ชุมชน
สังคมและประเทศชาติ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ และเรียนรู้ได้จากสื่อการเรียนรู้ และแหล่ง
เรียนรู้ทุกประเภท รวมทั้งจากเครือข่ายการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในท้องถิ่น ชุมชน และแหล่งอื่น ๆ เน้นสื่อที่
ผู้เรียนและผู้สอน ใช้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ขึ้นเอง
หรือนาสื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัว และในระบบสารสนเทศมาใช้ในการเรียนรู้ โดยใช้วิจารณญาณในการเลือกใช้
สื่อ และแหล่งเรียนรู้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติ ให้
เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพล
โลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มี ความรู้และทักษะ
พื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐาน ความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ" โดย
มีจุดมุ่งหมายพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบ
อาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ การมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึง
ประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับ
ถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การมีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การ
แก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต การมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการ
ออกกาลังกาย การมีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
และภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ง แวดล้อมมีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามใน
สังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
2
วิธีหนึ่งที่จะตอบสนองแนวคิดดังกล่าวข้างต้นได้ คือ การนาเทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร
(Information and Communication Technologies : ICT ) มาใช้ใน การเรียนการสอน ทั้งนี้
เนื่องจาก ICT เป็นเครื่องมือ ที่ได้รับการยอมรับว่า มีศักยภาพสูงในการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาต่าง ๆ
โดยสามารถใช้ ICT เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู้ และมาตรฐานทางการศึกษาของผู้เรียน (นิวัฒน์
สวนนันท์ และคณะ, 2549)
ซึ่งในปัจจุบัน Social Media เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่ง
“Wordpress.com” ก็เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ใช้ในการยกระดับและพัฒนาศักยภาพในการจัดการเรียนการ
สอนอีกด้วยโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน สาระการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ เนื่องจาก
เนื้อหามีข้อมูลจานวนมาก และต้องมีรูปภาพสีหรือภาพเคลื่อนไหว เพื่อเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้
เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน และให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วย
ตนเองสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ การเรียนการสอนโดยใช้บทเรียน online โดยใช้สื่อเทคโนโลยี
สื่อสังคม (Social Media) โดยใช้โปรแกรม Wordpress.com สาหรับสร้างบล็อก หรือ เว็บไซต์ จะช่วยแก้ไข
ปัจจัยจากัดด้านการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดังนั้น จากเหตุผลดังกล่าวผู้วิจัยจึงสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียน online
โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ซึ่งใช้โปรแกรม Wordpress.com ในการสร้างสื่อเรื่อง เรียนรู้
Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 เพื่อให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติม พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และเพื่อส่งเสริมการใช้
เทคโนโลยีในเชิงสร้างสรรค์ อีกทั้งยังช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ของนักเรียนให้มี
ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
2. วัตถุประสงค์กำรวิจัย
2.1 เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้
Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5
2.2 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยี
สื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
2.3 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา
ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
3. สมมติฐำนกำรวิจัย
3.1 บทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online
กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 85/85
3
3.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา
ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
3.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา
ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง
4. คำถำมวิจัย
4.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา
ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นหรือไม่
4.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดย บทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา
ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับใด
5. ขอบเขตกำรวิจัย
5.1 รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research )
5.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
5.2.1 ประชากรคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม ปีการศึกษา
2559 จานวน 2 ห้องเรียน รวมนักเรียนทั้งสิ้น 60 คน
5.2.2 กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ม.5/2 โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จานวน 30 คน ได้มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive
Sampling)
5.3 เนื้อหาสาระที่ใช้ในการวิจัย คือสาระการเรียนรู้ชีววิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
5.4 ระยะเวลาดาเนินการวิจัย การทดลองครั้งนี้กาหนดเวลาในการวิจัยทั้งสิ้น 25 คาบ
6. ตัวแปรที่ศึกษำ
6.1 ตัวแปรอิสระ คือ บทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้
Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
6.2 ตัวแปรตาม คือ
6.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้
เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
6.2.2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วย บทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ
สังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
4
7. นิยำมศัพท์เฉพำะ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผู้รายงานจึงกาหนดความหมายคาศัพท์เฉพาะดังต่อไปนี้
บทเรียนออนไลน์ (Online) หมายถึงบทเรียนเรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้เทคโนโลยี
สื่อสังคม (Social Media) ซึ่งจะประกอบไปด้วยเนื้อหาของ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ทั้งหมด รวมถึง
สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบวีดีโอที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาการเรียนรู้
เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)หมายถึงสังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเรื่องราว
ประสบการณ์ บทความ รูปภาพและวีดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆแล้วนามา
แบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตนผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์
Wordpressหมายถึงโปรแกรมสาเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้างบล็อก หรือ เว็บไซต์ สามารถใช้
งานได้ฟรี ถูกจัดอยู่ในประเภท CMS (Contents Management System)
Facebook หมายถึง เว็บไซต์เครือข่ายสังคมสาหรับติดต่อแลกข้อมูลข่าวสาร เปิดใช้งานเมื่อ 4
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดยมาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ในช่วงแรกนั้น
Facebook เปิดใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด เท่านั้น ต่อมาได้ขยายตัวออกไปสาหรับ
มหาวิทยาลัยอื่นๆทั่วสหรัฐอเมริกา และตั้งแต่ 11 กันยายน 2549 ได้ขยายมาสาหรับผู้ใช้ทั่วไปทุกคนเหมือนใน
ปัจจุบัน
Twitter หมายถึง เว็บไซต์ที่ให้บริการบล็อกสั้น (Micro Bkog) ซึ่งสามารถให้ผู้ใช้ส่งข้อความของ
ตนเองให้เพื่อนที่ติดตาม twitter ของเราอยู่อ่านได้ และเราเองก็สามารถอ่านข้อความของเพื่อน หรือคนที่เรา
ติดตามได้
SlideShareหมายถึง เว็บไซต์สาหรับฝากไฟล์เอกสารได้แก่ .doc, .pdf, .pptเพื่อจัดเก็บ
เอกสารและแสดงเอกสารให้ผู้ใช้บริการสามารถอ่านได้ทันทีหรือนาไปแสดงผลบนเว็บไซด์ของตนเองได้
YouTube หมายถึง เว็บไซต์สาหรับฝากไฟล์ประเภทวีดีโอ และเป็นแหล่งรวบรวมวีดีโอที่ทุกคน
สามารถเข้าไปศึกษา ดู หรือนาไปใช้งานต่อได้
บทเรียนออนไลน์ (Online)โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) หมายถึง การเรียนในลักษณะ
สังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้นามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่
ให้บริการบนโลกออนไลน์
8. ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
8.1. มีแหล่งเรียนรู้ http://Nuchanart.wordpress.com
8.2 นักเรียนใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มขึ้น
8.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) เรียนรู้ Biology online กับครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงรายวิชา
ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สูงขึ้น
8.4 นักเรียนที่มีเจตคติที่ดีต่อการจัดการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ
สังคม (Social Media)เรียนรู้ Biology online กับครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา
ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
5
บทที่ 2
เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยเรื่อง บทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology
online กับครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 5
โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม จังหวัดพะเยา ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ โดยมี
สาระสาคัญตามลาดับหัวข้อดังนี้
1. แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างบทเรียนออนไลน์ (Online)
2. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
3. การเรียนการสอนผ่านออนไลน์
4. ประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
5. การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ
6. ประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
7. การประเมินผลการเรียนการสอนผ่านเว็บ
8. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. แนวคิดเกี่ยวกับกำรสร้ำงบทเรียนออนไลน์ (Online)
ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลง
ไปอย่างรวดเร็ว มีเทคโนโลยีต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เพื่อช่วยอานวยความสะดวก รวมทั้งให้ความบันเทิง หรือ
แม้กระทั่งการเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย โดยที่ทุกคนทั่วโลกสามารถเป็นเพื่อกัน พบปะพูดคุยกันได้ตลอดเวลา
เพียงแค่มีอินเตอร์เน็ต กับอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อ เช่น คอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์มือถือ ทาให้การ
ติดต่อสื่อสารเป็นไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ไม่จาเป็นที่จะต้องเดินทางไปพบปะกันโดยตรง
ถ้าพูดถึงคาว่า Social Media หรือ Social Network ในปัจจุบัน หลายคนอาจจะสงสัยว่าสิ่ง
เหล่านี้คืออะไร แต่ถ้าพูดถึง Hi5 , Facebook, Twitter , Blog , Youtubeฯลฯ เชื่อว่าหลายคนคงจะปฏิเสธ
ไม่ได้ที่จะไม่รู้จัก ยิ่งโดยเฉพาะในวัยรุ่นหรือเยาวชนที่อยู่ในระหว่างการศึกษาเล่าเรียน คงจะคุ้นเคยกันเป็น
อย่างดี ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ( Hi5 , Facebook, Twitter , Blog , Youtubeฯลฯ ) ที่ถูกเรียกว่า Social Media
หรือ Social Network ดังนั้นถ้าจะให้ความหมายของคาว่า Social Media หรือ Social Network นั้น จะ
ได้ว่า
Social Media หมายถึง สังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเรื่องราว ประสบการณ์
บทความ รูปภาพ และวีดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้วนามาแบ่งปันให้กับ
ผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์ ปัจจุบันการ
สื่อสารแบบนี้จะทาผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือเท่านั้น
Social Networkคือ การที่ผู้คนสามารถทาความรู้จักและเชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง หาก
เป็นเว็บไซต์ที่เรียกว่าเป็นเว็บ Social Network ก็คือเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงผู้คนไว้ด้วยกันนั่นเอง ( สถาบัน
คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2552 )
กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ( 2553 ) ได้กล่าวว่า ปัจจุบัน Social Media ได้กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญ
ในการสร้างให้เกิดเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกันในโลกออนไลน์ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถใช้เป็นช่องทางใน
6
การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะทาให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใน
การซื้อลิขสิทธิ์แต่อย่างใด ดังนั้น การนาเทคโนโลยี Social Media มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการ
สอนจะเป็นการผลักดันบุคลากรครูให้ก้าวทันเทคโนโลยีในยุคปัจจุบันและสามารถเข้าถึงเยาวชนยุคใหม่ได้
อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้เกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่มีการ
ปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้สอนกับผู้สอน ผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน ที่มีการแบ่งปันความรู้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมทั้งส่งเสริมให้มีการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม 2545 ที่จัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้อง
ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ( พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ, 2545 ) และ
สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน2551 ที่มุ่งพัฒนาการเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ โยให้เกิดสมรรถนะสาคัญข้อที่ 5 คือ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งเป็นความสามารถในการ
เลือกใช้เทคโนโลยีต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ
เรียนรู้ การสื่อสาร การทางานและการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม
( กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 ) โดยการผู้เรียนจะสามารถก้าวสั่งคมการเรียนรู้ได้นั้น จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องที
พื้นฐานที่เหมาะสม และผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหลายจะต้องช่วยกันสร่างพื้นฐาน ตลอดจนปัจจัยต่าง ๆ ให้พร้อมที่จะ
สร้างสังคมแหล่งความรู้ขึ้นได้ พื้นฐานและปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยก้าวไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้ คือ
ครู อาจารย์ และสังคมการศึกษา สถาบันการศึกษาจะต้องปรับปรุงการเรียนรู้ของครู อาจารย์ และส่งเสริมการ
เรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสร้างนิสัยในด้านการใฝ่รู้และรักความรู้ให้เกิดขึ้นกับเยาวชน
( ครรชิต มาลัยวงศ์และคณะ, 2544 )
จากสภาพสังคมในปัจจุบันที่อินเตอร์เข้าถึงเกือบทุกพื้นที่ ทาให้เยาวชนไทยส่วนใหญ่สามารถเข้าสู่
ระบบเครือข่ายสารสนเทศได้ สามารถสืบค้นข้อมูลผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี ประกอบกับมี
เครื่องมือจาพวก Social Media ออกมามากมาย ยิ่งเป็นการทาให้เยาวชนเข้าสู่ระบบของโลกอินเตอร์เน็ต
มากยิ่งขึ้น ดังจะเห็นได้จากปัญหาที่ปรากฏทางหน้าจอโทรทัศน์เกี่ยวกับการใช้งาน Social Media ที่ไม่
ถูกต้อง และไม่เหมาะสม ซึ่งการจะแก้ปัญหาเหล่านี้ไม่ใช่การแก้โดยการปิดกั้นไม่ให้เยาวชนเข้าสู่โลก
อินเตอร์เน็ตไม่ให้เข้าถึงตัวเยาวชนได้นั่นเอง แต่ทางแก้ที่ดีและตรงกับปัญหามากที่สุดก็คือ การปลูกฝังและ
แนะนาให้เยาวชนใช้เครื่องมือ Social Media เหล่านี้ในทางที่เหมาะสม เช่น ใช้ในเชิงการศึกษา ได้แก่ การ
สอบถามปัญหาการเรียนกับเพื่อนหรือครูผู้สอน การสรุปความรู้เก็บไว้บนเว็บส่วนตัว หรือเผยแพร่ความรู้ต่างๆ
ตามความเข้าใจบนสื่อทางอินเตอร์เน็ต รวมทั้งการสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เป็นต้น สิ่งเหล่านี้สามารถ
ปลูกฝังได้โยผู้ปกครอง ครู/อาจารย์ รวมทั้งเพื่อนหรือคนรอบข้าง ยิ่งถ้าสังคมมีแนวโน้มที่ใช้ Social Media
ในเชิงการศึกษามากขึ้นเท่าใด เยาวชนทุกคนก็จะมีแนวโน้นที่จะคล้อยตามและปฏิบัติตามเป็นนิสัยและกิจวัตร
มากขึ้น
2. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
Wordpressหมายถึง โปรแกรมสาเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้างบล็อก หรือ เว็บไซต์ สามารถใช้
งานได้ฟรี ถูกจัดอยู่ในประเภท CMS (Contents Management System)
เฟชบุ๊ก ( Facebook ) เป็นเว็บไซต์เครือข่ายสังคมสาหรับติดต่อแลกข้อมูลข่าวสาร เปิดใช้งานเมื่อ 4
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ในช่วงแรกนั้นเฟชบุ๊ก
เป็นให้ใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ซึ่งต่อมาได้ขยายตัวออกไปสาหรับมหาวิทยาลัยทั่ว
สหรัฐอเมริกา และตั้งแต่ 11 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้ขยายมาสาหรับผู้ใช้ทั่วไปทุกคนเหมือนในปัจจุบัน
7
หลายท่านอาจจะสงสัยว่าเฟชบุ๊กนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างไร ซึ่งจะขออธิบายว่าการ
จัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media นั้น ไม่ได้หมายความว่าจะต้องใช้ Facebook เป็นเครื่องมือหลัก
ในการจัดการเรียนการสอน แต่จากสภาพสังคมในปัจจุบันที่เยาวชนหรือนักเรียนส่วนใหญ่ สามารถเข้าถึง
อินเตอร์เน็ตได้นั้น ทาให้หลายคนมีการใช้เฟชบุ๊กอยู่เป็นประจาอยู่แล้ว ซึ่งจากปัญหาที่พบก็คือนักเรียนให้
ความสนใจกับเฟชบุ๊กมากเกินไป เช่น ใช้ในการพูดคุยกับเพื่อน เล่มเกม แสดงความคิดเห็น หรือแสดงรูป และ
วีดีโอของตนเอง เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้เป็นกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์หากใช้เวลามากเกินไป
หรืออาจเรียกได้ว่านักเรียนมีความหมกมุ่นกับสิ่งเหล่านี้มากเกินไป ความสนใจที่จะศึกษา ทบทวนบทเรียน จึง
มีน้อยลงตามไปด้วย ดังนั้น ถ้าครูผู้สอนสามารถใช้เครื่องมือเหล่านี้ เพื่อชักจูงให้นักเรียนใช้เฟชบุ๊กในเชิงที่
สร้างสรรค์ เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ในด้านการสร้างความรู้ พัฒนาสติปัญญา ก็จะเป็นสิ่งที่เกิดประโยชน์อย่าง
ยิ่ง
การใช้ Facebook ในการจัดการเรียนการสอนนั้น ไม่ได้ใช้โดยตรง แต่จะใช้ในลักษณะของการ
ติดตามดูแลช่วยเหลือนักเรียน การส่งงาน การบ้าน หรือการตอบปัญหาข้อสงสัยต่างๆ ให้นักเรียน อีกทั้งครูยัง
สามารถติดตามดูแลนักเรียนได้ เมื่อนักเรียนขาดเรียน หรือไม่ส่งงานตามกาหนดเวลา ซึ่งเป็นการกระตุ้น
นักเรียนให้เกิดการเรียนรู้และป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้อีกวิธีการหนึ่ง ซึ่งสามารถสรุปข้อดีและข้อจากัด
ของเฟชบุ๊กได้ดังนี้
ข้อดี
 สามารถติดตามดูพฤติกรรมของนักเรียนได้ตลอดเวลา
 ช่วยให้ครูและนักเรียนสามารถพบปะ พูดคุย สอบถามปัญหาได้สะดวกมากขึ้น
 ใช้ในการส่งงาน หรือส่งการบ้าน แสดงความคิดเห็น หรือทาแบบทดสอบได้
ข้อจำกัด
 นักเรียนและครูจาเป็นที่จะต้องมีอินเตอร์เน็ต
 เปิดกว้างในการแสดงความคิดเห็น ซึ่งต้องระมัดระวังในบางเรื่องหรือบางกรณี
 การใช้เวลากับเฟชบุ๊กมากเกินไปอาจจะเกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมาได้
กติกา สายเสนีย์ ( 2552 ) ได้กล่าวว่าทวิตเตอร์ ( Twitter ) คือ เว็บไซต์ที่ให้บริการ blog สั้นหรือที่
ภาษาอังกฤษเรียกกันว่า Micro-Blog ซึ่งสามาระให้ผู้ใช้ส่งข้อความของตนเอง ให้เพื่อนๆ ที่ติดตาม twitter
ของเราอยู่อ่านได้ และเราเองก็สามารถอ่านข้อความของเพื่อน หรือคนที่เราติดตามเค้าอยู่ได้ ซึ่ง twitter ก็ถือ
ได้ว่าเป็นเว็บไซต์ประเภท Social Mediaด้วยเช่นกัน
ในรูปแบบของ twitter นี้ ที่เรียกว่าเป็น blog สั้นก็เพราะว่า twitter ให้เขียนข้อความได้ครั้งละไม่
เกิน 140 ตัวอักษร ซึ่งข้อความนี้เมื่อเขียนแล้วจะไปแสดงอยู่ในหน้า profile ของผู้เขียนนั้นเองและจะทาการ
ส่งข้อความนี้ไปยังสมาชิกที่ติดตามผู้เขียนคนนั้นอยู่ ( follower ) โดยอัตโนมัติ
สาเหตุสาคัญที่ twitter นั้นฮิตไปทั่วโลก ก็เพราะว่ามีเครื่องมือที่อานวยความสะดวกให้
ผู้เขียนสามารถอัพเดทหรือเขียนข้อความ ( Twitter ) จากที่ไหนก็ได้ ตั้งแต่หน้าเว็บไซต์ บนโปรแกรมที่ติดตั้ง
ลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแม้กระทั่งบนโทรศัพท์มือถือ จึงทาให้ผู้เขียน twitter นั้นสามารถอัพเดทได้บ่อย
เท่าที่ต้องการ
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Twitter นั้นสามารถทาได้เช่นเดียวกับการใช้เฟชบุ๊ก ซึ่งครูสามารถใช้
ในการติดตามดูพฤติกรรมนักเรียน การพูดคุย ตอบปัญหาข้อสงสัย การให้คาแนะนาต่างๆ ผ่านทาง Twitter
ได้เช่นกัน โดยเฉพาะการแจ้งข่าวสาร การบ้าน หรือข้อมูลสาคัญต่างๆ ระหว่างกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มที่เรียน
8
ด้วยกัน ซึ่งเป็นสื่อกลางที่จะสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้การแสดงความคิดเห็น การระดมความคิด หรือ
การวิพากษ์วิจารณ์สิ่งต่าง ๆ กันผ่านทาง Twitter ก็สามารถทาได้ ไม่ได้อยู่ในสถานการณ์ที่เดียวกัน ซึ่งก็จะ
ก่อให้เกิดเป็นข้อสรุปที่สาคัญในเรื่องนั้น หรือองค์ความรู้ที่กลุ่มได้ร่วมกันระดมความคิดนั่นเอง แต่ก็มีข้อจากัด
บางประการก็คือ การสื่อสารผ่านทาง Twitter นั้น จาเป็นที่จะต้องใช้โทรศัพท์มือถือที่สามารถเชื่อมต่อกับ
อินเตอร์เน็ตได้ เพราะการสื่อสารผ่านทาง Twitter ที่ได้รับความนิยมมากเพราะสามารถสื่อสารผ่านทาง
โทรศัพท์มือถือได้ หรือหากไม่มีโทรศัพท์มือถือที่สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ ก็จะได้มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้แทน
Slideshareและ Youtube
Slideshareและ Youtubeเป็นสื่อSocial Media อีกประเภทหนึ่งที่สามารถนาไปใช้ประกอบการ
จัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนได้ โดยการใช้งานร่วมกัน Blog นั่นก็คือ การนาเอกสารต่างๆ ได้แก่ ใบงาน
ใบความรู้ สไลด์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ฯลฯ จาก Slideshare มาแสดงเป็นบทเรียนไว้ใน Blog
หรือการนาวีดีโอที่น่าสนใจต่างๆ จาก Youtube มาแสดงไว้ใน Blog เพื่อให้นักเรียนได้เข้ามาศึกษา แสดง
ความคิดเห็น หรือวิพากษ์วิจารณ์ จนเกิดเป็นข้อสรุปที่เป็นองค์ความรู้ ความเข้าใจ ที่สร้างขึ้นด้วยตนเอง
3. กำรเรียนกำรสอนผ่ำนออนไลน์
การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนเป็นการนาเอาคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ตมาออกแบบเพื่อใช้ใน
การศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียกหลายลักษณะเช่นการ
จัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web-Based Learning) เว็บฝึกอบรม
(Web-Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training) อินเทอร์เน็ตช่วยสอน(Internet-
Based Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-Based Training) และเวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-
Based Instruction) (สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2545) ทั้งนี้มีผู้นิยามและให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่าน
เว็บเอาไว้หลายนิยามได้แก่
คาน (Khan, 1997) ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction)ไว้ว่า
เป็นการเรียนการสอนที่อาศัยโปรแกรมไฮเปอร์มีเดียที่ช่วยในการสอน โดยการใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะ
และทรัพยากรของอินเทอร์เน็ตมาสร้างให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายโดยส่งเสริมและสนับสนุนการ
เรียนรู้อย่างมากมายและสนับสนุนการเรียนรู้ในทุกทาง
ดริสคอล (Driscoll, 1997) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าเป็นการใช้ทักษะหรือ
ความรู้ต่างๆถ่ายโยงไปสู่ที่ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลด์ไวด์เว็บเป็นช่องทางในการเผยแพร่สิ่งเหล่านั้น
คาร์ลสันและคณะ (Carlson et al., 19100) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นภาพที่ชัดเจนของ
การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีในยุคปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน (Instructional
Design) ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสที่ชัดเจนในการนาการศึกษาไปสู่ที่ด้อยโอกาสเป็นการจัดหาเครื่องมือใหม่ๆสาหรับ
ส่งเสริมการเรียนรู้และเพิ่มเครื่องมืออานวยความสะดวกที่ช่วยขจัดปัญหา เรื่องสถานที่และเวลา
สาหรับประโยชน์ทางการศึกษาแก่ผู้เรียนภายในประเทศไทยการเรียนการสอนผ่านเว็บถือเป็นรูปแบบ
ใหม่ของการเรียนการสอนที่เริ่มนาเข้ามาใช้ทั้งนี้นักการศึกษาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนการสอน
ผ่านเว็บไว้ดังนี้
กิดานันท์ มลิทอง (2543) ให้ความหมายว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการใช้เว็บในการเรียนการ
สอนโดยอาจใช้เว็บเพื่อนาเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชาทั้งหมดตามหลักสูตรหรือใช้เพียงการ
เสนอข้อมูลบางอย่างเพื่อประกอบการสอนก็ได้รวมทั้งใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะต่างๆของการสื่อสารที่มีอยู่
9
ในระบบอินเทอร์เน็ต เช่นการเขียนโต้ตอบกันทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และการพูดคุยสดด้วยข้อความและ
เสียงมาใช้ประกอบด้วยเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ถนอมพร เลาจรัสแสง (2544) ให้ความหมายว่า การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการ
ผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยีปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้
คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน
ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้
ใจทิพย์ ณ สงขลา (2542) ได้ให้ความหมายการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าหมายถึง การผนวกคุณสมบัติ
ไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติของเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บเพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนในมิติที่ไม่มีขอบเขต
จากัดด้วยระยะทางและเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียน (Learning without Boundary)
วิชุดา รัตนเพียร (2542) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการนาเสนอโปรแกรมบทเรียนบนเว็บ
เพจโดยนาเสนอผ่านบริการเวิลด์ไวด์เว็บในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งผู้ออกแบบและสร้างโปรแกรมการสอนผ่าน
เว็บจะต้องคานึงถึงความสามารถและบริการที่หลากหลายของอินเทอร์เน็ตและนาคุณสมบัติต่างๆเหล่านั้นมา
ใช้เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอนให้มากที่สุด
จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษาทั้งในต่างประเทศและภายใน ประเทศไทย
ดังที่กล่าวมาแล้วนั้นสามารถสรุปได้ว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัดสภาพการเรียนการสอนที่ได้รับการ
ออกแบบอย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บมาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเพื่อ
ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยอาจจัด เป็นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการหรือ
นามาใช้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกระบวนการทั้งหมดและช่วยขจัดปัญหาอุปสรรคของการเรียนการสอนทางด้าน
สถานที่และเวลาอีกด้วย
4. ประเภทของกำรเรียนกำรสอนผ่ำนเว็บ
การเรียนการสอนผ่านเว็บสามารถทาได้ในหลายลักษณะโดยแต่ละเนื้อหาของหลักสูตรก็จะมีวิธีการ
จัดการเรียนการสอนผ่านเว็บที่แตกต่างกันออกไปซึ่งในประเด็นนี้มีนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ข้อเสนอแนะ
เกี่ยวกับประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ ดังต่อไปนี้
พาร์สัน(Parson,1997) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บออกเป็น 3 ลักษณะคือ
1. เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone Courses) เป็นรายวิชาที่มีเครื่องมือและแหล่ง
ที่เข้าไปถึงและเข้าหาได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ตอย่างมากที่สุดถ้าไม่มีการสื่อสารก็สามารถที่จะไปผ่านระบบ
คอมพิวเตอร์สื่อสารได้ลักษณะของเว็บช่วยสอนแบบนี้มีลักษณะเป็นแบบวิทยาเขตมีนักศึกษาจานวนมากที่เข้า
มาใช้จริงแต่จะมีการส่งข้อมูลจากรายวิชาทางไกล
2. เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) เป็นรายวิชาที่มีลักษณะเป็น
รูปธรรมที่มีการพบปะระหว่างครูกับนักเรียนและมีแหล่งให้มาก เช่น การกาหนดงานที่ให้ทาบนเว็บ การ
กาหนดให้อ่านการสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์หรือการมีเว็บที่สามารถชี้ตาแหน่งของแหล่งบนพื้นที่ของ
เว็บไซต์โดยรวมกิจกรรมต่างๆ เอาไว้
3. เว็บช่วยสอนแบบศูนย์การศึกษา (Web Pedagogical Resources) เป็นชนิดของเว็บไซต์ที่มีวัตถุดิบ
เครื่องมือซึ่งสามารถรวบรวมรายวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกันหรือเป็นแหล่งสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษาซึ่ง
ผู้ที่เข้ามาใช้ก็จะมีสื่อให้บริการอย่างรูปแบบอย่างเช่น เป็นข้อความเป็นภาพกราฟิก การสื่อสารระหว่างบุคคล
และการทาภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น
โดเฮอร์ตี้ (Doherty, 19100) แนะนาว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บ มีวิธีการใช้ใน 3 ลักษณะ คือ
10
1. การนาเสนอ (Presentation) ในลักษณะของเว็บไซต์ที่ประกอบไปด้วยข้อความ ภาพกราฟิกโดยมีวิธี
การนาเสนอ คือ
1.1 การนาเสนอแบบสื่อเดี่ยว เช่น ข้อความ หรือ รูปภาพ
1.2 การนาเสนอแบบสื่อคู่ เช่น ข้อความกับรูปภาพ
1.3 การนาเสนอแบบมัลติมีเดีย คือ ประกอบด้วยข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง
2. การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารเป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องใช้ทุกวันในชีวิตซึ่งเป็นลักษณะ
สาคัญของอินเทอร์เน็ต โดยมีการสื่อสารบนอินเทอร์เน็ตหลายแบบ เช่น
2.1 การสื่อสารทางเดียว เช่น การดูข้อมูลจากเว็บเพจ
2.2 การสื่อสารสองทาง เช่น การส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์โต้ตอบกัน
2.3 การสื่อสารแบบหนึ่งแหล่งไปหลายที่เป็นการส่งข้อความจากแหล่งเดียวแพร่กระจายไปหลาย
แหล่ง เช่นการอภิปรายจากคนเดียวให้คนอื่นๆ ได้รับฟังด้วยหรือการประชุมผ่านคอมพิวเตอร์ (Computer
conferencing)
2.4 การสื่อสารหลายแหล่งไปสู่หลายแหล่ง เช่น การใช้กระบวนการกลุ่มในการสื่อสารบนเว็บ โดยมี
คนใช้หลายคนและคนรับหลายคนเช่นกัน
3. การทาให้เกิดความสัมพันธ์ (Dynamic Interaction) เป็นคุณลักษณะที่สาคัญของอินเทอร์เน็ตและ
สาคัญที่สุด ซึ่งมี 3 ลักษณะคือ
3.1 การสืบค้นข้อมูล
3.2 การหาวิธีการเข้าสู่เว็บ
3.3 การตอบสนองของมนุษย์ต่อการใช้เว็บ
นอกจากนี้ แฮนนัม (Hannum, 19100) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ ออกเป็น 4
ลักษณะ ใหญ่ๆ คือ
1. รูปแบบการเผยแพร่ รูปแบบนี้สามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 ชนิด คือ
1.1 รูปแบบห้องสมุด (Library Model) เป็นรูปแบบที่ใช้ประโยชน์จากความสามารถในการเข้าไปยัง
แหล่งทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยู่หลากหลายโดยวิธีการจัดหาเนื้อหาให้ผู้เรียนผ่านการเชื่อมโยงไปยังแหล่ง
เสริมต่างๆเช่นสารานุกรม วารสาร หรือหนังสือออนไลน์ทั้งหลาย ซึ่งถือได้ว่าเป็นการนาเอาลักษณะทาง
กายภาพของห้องสมุดที่มีทรัพยากรจานวนมหาศาลมาประยุกต์ใช้ ส่วน ประกอบของรูปแบบนี้ ได้แก่
สารานุกรมออนไลน์ วารสารออนไลน์หนังสือออนไลน์ สารบัญการอ่าน ออนไลน์ (Online Reading List) เว็บ
ห้องสมุดเว็บงานวิจัย รวมทั้งการรวบรวมรายชื่อเว็บที่สัมพันธ์กับวิชาต่างๆ
1.2 รูปแบบหนังสือเรียน (Textbook Model) การเรียนการสอนผ่านเว็บรูปแบบนี้เป็นการจัดเนื้อหา
ของหลักสูตรในลักษณะออนไลน์ให้แก่ผู้เรียน เช่น คาบรรยายสไลด์ นิยามคาศัพท์และส่วนเสริมผู้สอนสามารถ
เตรียมเนื้อหาออนไลน์ที่ใช้เหมือนกับที่ใช้ในการเรียนในชั้นเรียนปกติและสามารถทาสาเนาเอกสารให้กับ
ผู้เรียนได้รูปแบบนี้ต่างจากรูปแบบห้องสมุดคือรูปแบบนี้จะเตรียมเนื้อหาสาหรับการเรียนการสอนโดยเฉพาะ
ขณะที่รูปแบบห้องสมุดช่วยให้ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหาที่ต้องการจากการเชื่อมโยงที่ได้เตรียมเอาไว้ส่วนประกอบ
ของรูปแบบหนังสือเรียนนี้ประกอบด้วยบันทึกของหลักสูตรบันทึกคาบรรยาย ข้อแนะนาของห้องเรียน สไลด์ที่
นาเสนอ วิดีโอและภาพที่ใช้ในชั้นเรียน เอกสารอื่นที่มีความสัมพันธ์กับชั้นเรียน เช่นประมวลรายวิชา รายชื่อใน
ชั้นกฏเกณฑ์ข้อตกลงต่างๆตารางการสอบและตัวอย่างการสอบครั้งที่แล้วความคาดหวังของชั้นเรียน งานที่
มอบหมาย เป็นต้น
1.3 รูปแบบการสอนที่มีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Instruction Model) รูปแบบนี้จัดให้ผู้เรียน
ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับเนื้อหาที่ได้รับ โดยนาลักษณะของบทเรียน คอมพิวเตอร์
11
ช่วยสอน (CAI) มาประยุกต์ใช้เป็นการสอนแบบออนไลน์ที่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ มีการให้คาแนะนา การปฏิบัติ
การให้ผลย้อนกลับ รวมทั้งการให้สถานการณ์จาลอง
2. รูปแบบการสื่อสาร (Communication Model)
การเรียนการสอนผ่านเว็บรูปแบบนี้เป็นรูปแบบที่อาศัยคอมพิวเตอร์มาเป็นสื่อเพื่อการสื่อสาร
(Computer - MediatedCommunications Model) ผู้เรียนสามารถที่จะสื่อสารกับผู้เรียนคนอื่นๆผู้สอน
หรือกับผู้เชี่ยวชาญได้โดยรูปแบบการสื่อสารที่หลากหลายในอินเทอร์เน็ต ซึ่งได้แก่ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลุ่ม
อภิปรายการสนทนาและการอภิปรายและการประชุมผ่านคอมพิวเตอร์ เหมาะสาหรับการเรียนการสอนที่
ต้องการส่งเสริมการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
3. รูปแบบผสม (Hybrid Model)
รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บรูปแบบนี้เป็นการนาเอารูปแบบ 2 ชนิด คือรูปแบบการเผยแพร่กับ
รูปแบบการสื่อสารมารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่นเว็บไซต์ที่รวมเอารูปแบบห้องสมุดกับรูปแบบหนังสือเรียนไว้
ด้วยกันเว็บไซต์ที่รวบรวมเอาบันทึกของหลักสูตรรวมทั้งคาบรรยายไว้กับกลุ่มอภิปรายหรือเว็บไซต์ที่รวมเอา
รายการแหล่งเสริมความรู้ต่างๆและความสามารถของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ไว้ด้วยกันเป็นต้นรูปแบบนี้มี
ประโยชน์เป็นอย่างมากกับผู้เรียนเพราะผู้เรียนจะได้ใช้ประโยชน์ของทรัพยากรที่มีในอินเทอร์เน็ตในลักษณะที่
หลากหลาย
4. รูปแบบห้องเรียนเสมือน (Virtual classroom model)
รูปแบบห้องเรียนเสมือนเป็นการนาเอาลักษณะเด่นหลายๆประการของแต่ละรูปแบบที่กล่าวมาแล้ว
ข้างต้นมาใช้ ฮิลทซ์ (Hiltz, 1993) ได้นิยามว่าห้องเรียนเสมือนเป็นสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนที่นาแหล่ง
ทรัพยากรออนไลน์มาใช้ในลักษณะการเรียนการสอนแบบร่วมมือโดยการร่วมมือระหว่างนักเรียนด้วยกัน
นักเรียนกับผู้สอนชั้นเรียนกับสถาบันการศึกษาอื่น และกับชุมชนที่ไม่เป็นเชิงวิชาการ (Khan, 1997) ส่วนเท
อรอฟฟ์ (Turoff, 1995)กล่าวถึงห้องเรียนเสมือนว่าเป็นสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนที่ตั้งขึ้นภายใต้ระบบ
การสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์ในลักษณะของการเรียนแบบร่วมมือซึ่งเป็นกระบวนการที่เน้นความสาคัญของกลุ่ม
ที่จะร่วมมือทากิจกรรมร่วมกันนักเรียนและผู้สอนจะได้รับความรู้ใหม่ๆจากกิจกรรมการสนทนาแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นและข้อมูลลักษณะเด่นของการเรียนการสอนรูปแบบนี้ก็คือความสามารถในการลอกเลียนลักษณะ
ของห้องเรียนปกติมาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยอาศัยความสามารถ
ต่างๆ ของอินเทอร์เน็ต โดยมีส่วนประกอบคือ ประมวลรายวิชาเนื้อหาในหลักสูตร รายชื่อแหล่งเนื้อหาเสริม
กิจกรรมระหว่างผู้เรียนผู้สอน คาแนะนาและการให้ผลป้อนกลับ การนาเสนอในลักษณะมัลติมีเดียการเรียน
แบบร่วมมือ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกันรูปแบบนี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการเรียนโดยไม่มี
ข้อจากัดในเรื่องของเวลาและสถานที่
5. กำรออกแบบกำรเรียนกำรสอนผ่ำนเว็บ
ในการออกแบบและพัฒนาเว็บการเรียนการสอนผ่านให้มีประสิทธิภาพนั้นมีนักการศึกษาหลายท่านให้
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกระบวนการที่จะใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอน ดังนี้
ดิลลอน (Dillon,1991) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนในการสร้างบทเรียนที่มีลักษณะเป็นสื่อหลายมิติ
(Hypermedia) ซึ่งหลักการนี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบและพัฒนาเว็บเพื่อการเรียนการสอน
แนวคิดดังกล่าวมีขั้นตอน ดังนี้
1. ศึกษาเกี่ยวกับผู้เรียนและเนื้อหาที่จะนามาพัฒนาเพื่อกาหนดวัตถุประสงค์และหาแนวทางในการจัด
กิจกรรมการเรียน
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59
วิจัย59

More Related Content

What's hot

1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.คkrupornpana55
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยWichai Likitponrak
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คkrupornpana55
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
 
Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

Viewers also liked

พันธุกรรมพื้นฐาน 54
พันธุกรรมพื้นฐาน 54พันธุกรรมพื้นฐาน 54
พันธุกรรมพื้นฐาน 54Oui Nuchanart
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัยrorsuelee
 
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newเซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newfindgooodjob
 
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่aapiaa
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare
ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare
ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare Kruhy LoveOnly
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมsupreechafkk
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ แผ่อำนาจ
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ  แผ่อำนาจรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ  แผ่อำนาจ
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ แผ่อำนาจSomchart Phaeumnart
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
การใช้งานSlideshare
การใช้งานSlideshareการใช้งานSlideshare
การใช้งานSlideshareNamfon Phenpit
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Viewers also liked (18)

พันธุกรรมพื้นฐาน 54
พันธุกรรมพื้นฐาน 54พันธุกรรมพื้นฐาน 54
พันธุกรรมพื้นฐาน 54
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newเซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
 
My body
My bodyMy body
My body
 
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare
ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare
ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ แผ่อำนาจ
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ  แผ่อำนาจรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ  แผ่อำนาจ
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ แผ่อำนาจ
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
การใช้งานSlideshare
การใช้งานSlideshareการใช้งานSlideshare
การใช้งานSlideshare
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to วิจัย59

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์JeeraJaree Srithai
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyNikma Hj
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..Wiwat Ch
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทssuser21a057
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1Wichai Likitponrak
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้Prachyanun Nilsook
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1Wichai Likitponrak
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 

Similar to วิจัย59 (20)

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
 
บทที่ึ7
บทที่ึ7บทที่ึ7
บทที่ึ7
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
 
11
1111
11
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Lesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhismLesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhism
 
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 

More from Oui Nuchanart

ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60Oui Nuchanart
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าOui Nuchanart
 
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนOui Nuchanart
 

More from Oui Nuchanart (20)

ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Leaf oui
Leaf ouiLeaf oui
Leaf oui
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
Cam
CamCam
Cam
 
C4
C4C4
C4
 
C3
C3C3
C3
 
Photosyntasis oui
Photosyntasis ouiPhotosyntasis oui
Photosyntasis oui
 
Gene
GeneGene
Gene
 
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
 
Pop oui
Pop ouiPop oui
Pop oui
 

วิจัย59

  • 1. ผลการใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้สื่อ“ เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ” รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นางนุชนารถ เมืองกรุง ตาแหน่ง ครู โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ.พะเยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
  • 2. ก คำนำ วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับชีวิตของ ทุกคน ทั้งในการดารงชีวิตประจาวันและอนาคตและในงานอาชีพต่างๆ เครื่องมือเครื่องใช้ตลอดจนผลผลิตต่างๆ ที่ ใช้เพื่อดานวยความสะดวกในชีวิตและในการทางาน ล้วนเป็นผลงานของความรู้วิทยาศาสตร์ผสมผสานกับความคิด สร้างสรรค์และศาสตร์อื่นๆ ความรู้วิทยาศาสตร์ช่วยในการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างมาก ในทางกลับกัน เทคโนโลยีก็ มีส่วนสาคัญมากที่จะให้มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง และมีบทบาททางด้าน การเรียนการสอน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขายขีดความสามารถทาให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ มากขึ้นสร้าง ความสนใจในการเรียนการสอน ผลการใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้สื่อ“ เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง ” รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ได้ใช้นวัตกรรมทางด้าน เทคโนโลยีเข้ามาผสมผสานในการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งเล็งเห็นความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเรียนการสอน ชั่วโมงเรียน เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้เมื่อนักเรียนต้องการทบทวนเนื้อหาหรือไม่เข้าใจในบทเรียนสามารถ ศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเองได้ นางนุชนารถ เมืองกรุง ครู
  • 3. ข สำรบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข บทคัดย่อ ค บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 20 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 23 บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ 33 บรรณานุกรม ภาคผนวก
  • 4. ค บทคัดย่อ เรื่อง ผลการใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้สื่อ“ เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ” รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รำยวิชำ ชีววิทยา รหัสวิชา ว30243 ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชื่อผู้นำเสนอ นางนุชนารถ เมืองกรุง ที่อยู่ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา ผลการใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้สื่อ“ เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง ” รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีจุดประสงค์ 1.) เพื่อ พัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุช นารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 2.) เพื่อศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 3.) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ สังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 และ 5/2 โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จานวน 30 คน ผลการใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้สื่อ“ เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง ” รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูผู้สอนให้ นักเรียนศึกษาบทเรียน พบว่าคะแนนเฉลี่ยคะแนนก่อนการทดลองใช้สื่อ และหลังการทดลองใช้สื่อแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.01 โดยผลคะแนนหลังการทดลองใช้สื่อสูงกว่าก่อนการใช้สื่อ หมายความว่าการ สอนที่อาศัยสื่อเรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ใช้มีประสิทธิภาพ สามารถนาไปใช้ได้ต่อไป ประสิทธิภาพของการสอนที่ใช้ สื่อสื่อเรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5เท่ากับ 80.33/84.67 ซึ่งมีค่าใกล้เคียง 80/80 แสดงว่าการสอนโดยใช้สื่อ เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ดังกล่าว มีประสิทธิภาพ และพบว่าความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนโดยสื่อ เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับความเห็นมาก ร้อยละ 42.19 และความพึงพอใจในการใช้สื่อเรียนรู้ อยู่ในระดับ ความเห็นมาก เป็นร้อยละ 55.74
  • 5.
  • 6. 1 บทที่ 1 บทนำ 1. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลัก ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนมีความสาคัญ ที่สุด กระบวนการ จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ มาตรา 24 ระบุถึง การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาได้จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความ ถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ครูเป็นผู้จัดให้มีการเรียนรู้เกิดขึ้นกับผู้เรียนมากกว่าการเป็นผู้บอกความรู้ และ เน้นให้เรียนรู้วิธีเรียน (Learn how to learn) ในหมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา 65 ระบุว่า ให้ มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านการผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้ความสามารถและ ทักษะในการผลิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพและประสิทธิภาพ มาตรา 66 ระบุว่า ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาตามขีดความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ในโอกาสแรกที่ทาได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ได้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ, 2542) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หัวข้อ สื่อการเรียนรู้ กล่าวว่า การจัดการ ศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรสถานศึกษามุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และใช้เวลาสร้างสรรค์ รวมทั้งมีความยืดหยุ่น สนองความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ และเรียนรู้ได้จากสื่อการเรียนรู้ และแหล่ง เรียนรู้ทุกประเภท รวมทั้งจากเครือข่ายการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในท้องถิ่น ชุมชน และแหล่งอื่น ๆ เน้นสื่อที่ ผู้เรียนและผู้สอน ใช้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ขึ้นเอง หรือนาสื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัว และในระบบสารสนเทศมาใช้ในการเรียนรู้ โดยใช้วิจารณญาณในการเลือกใช้ สื่อ และแหล่งเรียนรู้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติ ให้ เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพล โลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มี ความรู้และทักษะ พื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐาน ความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ" โดย มีจุดมุ่งหมายพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบ อาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ การมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับ ถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การมีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การ แก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต การมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการ ออกกาลังกาย การมีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ง แวดล้อมมีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามใน สังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
  • 7. 2 วิธีหนึ่งที่จะตอบสนองแนวคิดดังกล่าวข้างต้นได้ คือ การนาเทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร (Information and Communication Technologies : ICT ) มาใช้ใน การเรียนการสอน ทั้งนี้ เนื่องจาก ICT เป็นเครื่องมือ ที่ได้รับการยอมรับว่า มีศักยภาพสูงในการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาต่าง ๆ โดยสามารถใช้ ICT เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู้ และมาตรฐานทางการศึกษาของผู้เรียน (นิวัฒน์ สวนนันท์ และคณะ, 2549) ซึ่งในปัจจุบัน Social Media เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่ง “Wordpress.com” ก็เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ใช้ในการยกระดับและพัฒนาศักยภาพในการจัดการเรียนการ สอนอีกด้วยโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน สาระการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ เนื่องจาก เนื้อหามีข้อมูลจานวนมาก และต้องมีรูปภาพสีหรือภาพเคลื่อนไหว เพื่อเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน และให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วย ตนเองสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ การเรียนการสอนโดยใช้บทเรียน online โดยใช้สื่อเทคโนโลยี สื่อสังคม (Social Media) โดยใช้โปรแกรม Wordpress.com สาหรับสร้างบล็อก หรือ เว็บไซต์ จะช่วยแก้ไข ปัจจัยจากัดด้านการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จากเหตุผลดังกล่าวผู้วิจัยจึงสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียน online โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ซึ่งใช้โปรแกรม Wordpress.com ในการสร้างสื่อเรื่อง เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 เพื่อให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติม พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และเพื่อส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีในเชิงสร้างสรรค์ อีกทั้งยังช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ของนักเรียนให้มี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 2. วัตถุประสงค์กำรวิจัย 2.1 เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 2.2 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยี สื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 2.3 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3. สมมติฐำนกำรวิจัย 3.1 บทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 85/85
  • 8. 3 3.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 3.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง 4. คำถำมวิจัย 4.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นหรือไม่ 4.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดย บทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับใด 5. ขอบเขตกำรวิจัย 5.1 รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research ) 5.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 5.2.1 ประชากรคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม ปีการศึกษา 2559 จานวน 2 ห้องเรียน รวมนักเรียนทั้งสิ้น 60 คน 5.2.2 กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ม.5/2 โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จานวน 30 คน ได้มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 5.3 เนื้อหาสาระที่ใช้ในการวิจัย คือสาระการเรียนรู้ชีววิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 5.4 ระยะเวลาดาเนินการวิจัย การทดลองครั้งนี้กาหนดเวลาในการวิจัยทั้งสิ้น 25 คาบ 6. ตัวแปรที่ศึกษำ 6.1 ตัวแปรอิสระ คือ บทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 6.2 ตัวแปรตาม คือ 6.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 6.2.2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วย บทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ สังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับ ครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
  • 9. 4 7. นิยำมศัพท์เฉพำะ เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผู้รายงานจึงกาหนดความหมายคาศัพท์เฉพาะดังต่อไปนี้ บทเรียนออนไลน์ (Online) หมายถึงบทเรียนเรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้เทคโนโลยี สื่อสังคม (Social Media) ซึ่งจะประกอบไปด้วยเนื้อหาของ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ทั้งหมด รวมถึง สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบวีดีโอที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาการเรียนรู้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)หมายถึงสังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเรื่องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพและวีดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆแล้วนามา แบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตนผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์ Wordpressหมายถึงโปรแกรมสาเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้างบล็อก หรือ เว็บไซต์ สามารถใช้ งานได้ฟรี ถูกจัดอยู่ในประเภท CMS (Contents Management System) Facebook หมายถึง เว็บไซต์เครือข่ายสังคมสาหรับติดต่อแลกข้อมูลข่าวสาร เปิดใช้งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดยมาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ในช่วงแรกนั้น Facebook เปิดใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด เท่านั้น ต่อมาได้ขยายตัวออกไปสาหรับ มหาวิทยาลัยอื่นๆทั่วสหรัฐอเมริกา และตั้งแต่ 11 กันยายน 2549 ได้ขยายมาสาหรับผู้ใช้ทั่วไปทุกคนเหมือนใน ปัจจุบัน Twitter หมายถึง เว็บไซต์ที่ให้บริการบล็อกสั้น (Micro Bkog) ซึ่งสามารถให้ผู้ใช้ส่งข้อความของ ตนเองให้เพื่อนที่ติดตาม twitter ของเราอยู่อ่านได้ และเราเองก็สามารถอ่านข้อความของเพื่อน หรือคนที่เรา ติดตามได้ SlideShareหมายถึง เว็บไซต์สาหรับฝากไฟล์เอกสารได้แก่ .doc, .pdf, .pptเพื่อจัดเก็บ เอกสารและแสดงเอกสารให้ผู้ใช้บริการสามารถอ่านได้ทันทีหรือนาไปแสดงผลบนเว็บไซด์ของตนเองได้ YouTube หมายถึง เว็บไซต์สาหรับฝากไฟล์ประเภทวีดีโอ และเป็นแหล่งรวบรวมวีดีโอที่ทุกคน สามารถเข้าไปศึกษา ดู หรือนาไปใช้งานต่อได้ บทเรียนออนไลน์ (Online)โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) หมายถึง การเรียนในลักษณะ สังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้นามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ ให้บริการบนโลกออนไลน์ 8. ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 8.1. มีแหล่งเรียนรู้ http://Nuchanart.wordpress.com 8.2 นักเรียนใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มขึ้น 8.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงรายวิชา ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สูงขึ้น 8.4 นักเรียนที่มีเจตคติที่ดีต่อการจัดการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ สังคม (Social Media)เรียนรู้ Biology online กับครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชา ชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
  • 10. 5 บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยเรื่อง บทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรียนรู้ Biology online กับครูนุชนารถ เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม จังหวัดพะเยา ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ โดยมี สาระสาคัญตามลาดับหัวข้อดังนี้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างบทเรียนออนไลน์ (Online) 2. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) 3. การเรียนการสอนผ่านออนไลน์ 4. ประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ 5. การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ 6. ประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บ 7. การประเมินผลการเรียนการสอนผ่านเว็บ 8. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. แนวคิดเกี่ยวกับกำรสร้ำงบทเรียนออนไลน์ (Online) ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลง ไปอย่างรวดเร็ว มีเทคโนโลยีต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เพื่อช่วยอานวยความสะดวก รวมทั้งให้ความบันเทิง หรือ แม้กระทั่งการเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย โดยที่ทุกคนทั่วโลกสามารถเป็นเพื่อกัน พบปะพูดคุยกันได้ตลอดเวลา เพียงแค่มีอินเตอร์เน็ต กับอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อ เช่น คอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์มือถือ ทาให้การ ติดต่อสื่อสารเป็นไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ไม่จาเป็นที่จะต้องเดินทางไปพบปะกันโดยตรง ถ้าพูดถึงคาว่า Social Media หรือ Social Network ในปัจจุบัน หลายคนอาจจะสงสัยว่าสิ่ง เหล่านี้คืออะไร แต่ถ้าพูดถึง Hi5 , Facebook, Twitter , Blog , Youtubeฯลฯ เชื่อว่าหลายคนคงจะปฏิเสธ ไม่ได้ที่จะไม่รู้จัก ยิ่งโดยเฉพาะในวัยรุ่นหรือเยาวชนที่อยู่ในระหว่างการศึกษาเล่าเรียน คงจะคุ้นเคยกันเป็น อย่างดี ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ( Hi5 , Facebook, Twitter , Blog , Youtubeฯลฯ ) ที่ถูกเรียกว่า Social Media หรือ Social Network ดังนั้นถ้าจะให้ความหมายของคาว่า Social Media หรือ Social Network นั้น จะ ได้ว่า Social Media หมายถึง สังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเรื่องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวีดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้วนามาแบ่งปันให้กับ ผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์ ปัจจุบันการ สื่อสารแบบนี้จะทาผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือเท่านั้น Social Networkคือ การที่ผู้คนสามารถทาความรู้จักและเชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง หาก เป็นเว็บไซต์ที่เรียกว่าเป็นเว็บ Social Network ก็คือเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงผู้คนไว้ด้วยกันนั่นเอง ( สถาบัน คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2552 ) กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ( 2553 ) ได้กล่าวว่า ปัจจุบัน Social Media ได้กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญ ในการสร้างให้เกิดเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกันในโลกออนไลน์ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถใช้เป็นช่องทางใน
  • 11. 6 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะทาให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใน การซื้อลิขสิทธิ์แต่อย่างใด ดังนั้น การนาเทคโนโลยี Social Media มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการ สอนจะเป็นการผลักดันบุคลากรครูให้ก้าวทันเทคโนโลยีในยุคปัจจุบันและสามารถเข้าถึงเยาวชนยุคใหม่ได้ อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้เกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่มีการ ปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้สอนกับผู้สอน ผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน ที่มีการแบ่งปันความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมทั้งส่งเสริมให้มีการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม 2545 ที่จัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้อง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ( พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ, 2545 ) และ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน2551 ที่มุ่งพัฒนาการเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การเรียนรู้ โยให้เกิดสมรรถนะสาคัญข้อที่ 5 คือ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งเป็นความสามารถในการ เลือกใช้เทคโนโลยีต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ เรียนรู้ การสื่อสาร การทางานและการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม ( กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 ) โดยการผู้เรียนจะสามารถก้าวสั่งคมการเรียนรู้ได้นั้น จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องที พื้นฐานที่เหมาะสม และผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหลายจะต้องช่วยกันสร่างพื้นฐาน ตลอดจนปัจจัยต่าง ๆ ให้พร้อมที่จะ สร้างสังคมแหล่งความรู้ขึ้นได้ พื้นฐานและปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยก้าวไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้ คือ ครู อาจารย์ และสังคมการศึกษา สถาบันการศึกษาจะต้องปรับปรุงการเรียนรู้ของครู อาจารย์ และส่งเสริมการ เรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสร้างนิสัยในด้านการใฝ่รู้และรักความรู้ให้เกิดขึ้นกับเยาวชน ( ครรชิต มาลัยวงศ์และคณะ, 2544 ) จากสภาพสังคมในปัจจุบันที่อินเตอร์เข้าถึงเกือบทุกพื้นที่ ทาให้เยาวชนไทยส่วนใหญ่สามารถเข้าสู่ ระบบเครือข่ายสารสนเทศได้ สามารถสืบค้นข้อมูลผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี ประกอบกับมี เครื่องมือจาพวก Social Media ออกมามากมาย ยิ่งเป็นการทาให้เยาวชนเข้าสู่ระบบของโลกอินเตอร์เน็ต มากยิ่งขึ้น ดังจะเห็นได้จากปัญหาที่ปรากฏทางหน้าจอโทรทัศน์เกี่ยวกับการใช้งาน Social Media ที่ไม่ ถูกต้อง และไม่เหมาะสม ซึ่งการจะแก้ปัญหาเหล่านี้ไม่ใช่การแก้โดยการปิดกั้นไม่ให้เยาวชนเข้าสู่โลก อินเตอร์เน็ตไม่ให้เข้าถึงตัวเยาวชนได้นั่นเอง แต่ทางแก้ที่ดีและตรงกับปัญหามากที่สุดก็คือ การปลูกฝังและ แนะนาให้เยาวชนใช้เครื่องมือ Social Media เหล่านี้ในทางที่เหมาะสม เช่น ใช้ในเชิงการศึกษา ได้แก่ การ สอบถามปัญหาการเรียนกับเพื่อนหรือครูผู้สอน การสรุปความรู้เก็บไว้บนเว็บส่วนตัว หรือเผยแพร่ความรู้ต่างๆ ตามความเข้าใจบนสื่อทางอินเตอร์เน็ต รวมทั้งการสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เป็นต้น สิ่งเหล่านี้สามารถ ปลูกฝังได้โยผู้ปกครอง ครู/อาจารย์ รวมทั้งเพื่อนหรือคนรอบข้าง ยิ่งถ้าสังคมมีแนวโน้มที่ใช้ Social Media ในเชิงการศึกษามากขึ้นเท่าใด เยาวชนทุกคนก็จะมีแนวโน้นที่จะคล้อยตามและปฏิบัติตามเป็นนิสัยและกิจวัตร มากขึ้น 2. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) Wordpressหมายถึง โปรแกรมสาเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้างบล็อก หรือ เว็บไซต์ สามารถใช้ งานได้ฟรี ถูกจัดอยู่ในประเภท CMS (Contents Management System) เฟชบุ๊ก ( Facebook ) เป็นเว็บไซต์เครือข่ายสังคมสาหรับติดต่อแลกข้อมูลข่าวสาร เปิดใช้งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ในช่วงแรกนั้นเฟชบุ๊ก เป็นให้ใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ซึ่งต่อมาได้ขยายตัวออกไปสาหรับมหาวิทยาลัยทั่ว สหรัฐอเมริกา และตั้งแต่ 11 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้ขยายมาสาหรับผู้ใช้ทั่วไปทุกคนเหมือนในปัจจุบัน
  • 12. 7 หลายท่านอาจจะสงสัยว่าเฟชบุ๊กนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างไร ซึ่งจะขออธิบายว่าการ จัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media นั้น ไม่ได้หมายความว่าจะต้องใช้ Facebook เป็นเครื่องมือหลัก ในการจัดการเรียนการสอน แต่จากสภาพสังคมในปัจจุบันที่เยาวชนหรือนักเรียนส่วนใหญ่ สามารถเข้าถึง อินเตอร์เน็ตได้นั้น ทาให้หลายคนมีการใช้เฟชบุ๊กอยู่เป็นประจาอยู่แล้ว ซึ่งจากปัญหาที่พบก็คือนักเรียนให้ ความสนใจกับเฟชบุ๊กมากเกินไป เช่น ใช้ในการพูดคุยกับเพื่อน เล่มเกม แสดงความคิดเห็น หรือแสดงรูป และ วีดีโอของตนเอง เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้เป็นกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์หากใช้เวลามากเกินไป หรืออาจเรียกได้ว่านักเรียนมีความหมกมุ่นกับสิ่งเหล่านี้มากเกินไป ความสนใจที่จะศึกษา ทบทวนบทเรียน จึง มีน้อยลงตามไปด้วย ดังนั้น ถ้าครูผู้สอนสามารถใช้เครื่องมือเหล่านี้ เพื่อชักจูงให้นักเรียนใช้เฟชบุ๊กในเชิงที่ สร้างสรรค์ เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ในด้านการสร้างความรู้ พัฒนาสติปัญญา ก็จะเป็นสิ่งที่เกิดประโยชน์อย่าง ยิ่ง การใช้ Facebook ในการจัดการเรียนการสอนนั้น ไม่ได้ใช้โดยตรง แต่จะใช้ในลักษณะของการ ติดตามดูแลช่วยเหลือนักเรียน การส่งงาน การบ้าน หรือการตอบปัญหาข้อสงสัยต่างๆ ให้นักเรียน อีกทั้งครูยัง สามารถติดตามดูแลนักเรียนได้ เมื่อนักเรียนขาดเรียน หรือไม่ส่งงานตามกาหนดเวลา ซึ่งเป็นการกระตุ้น นักเรียนให้เกิดการเรียนรู้และป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้อีกวิธีการหนึ่ง ซึ่งสามารถสรุปข้อดีและข้อจากัด ของเฟชบุ๊กได้ดังนี้ ข้อดี  สามารถติดตามดูพฤติกรรมของนักเรียนได้ตลอดเวลา  ช่วยให้ครูและนักเรียนสามารถพบปะ พูดคุย สอบถามปัญหาได้สะดวกมากขึ้น  ใช้ในการส่งงาน หรือส่งการบ้าน แสดงความคิดเห็น หรือทาแบบทดสอบได้ ข้อจำกัด  นักเรียนและครูจาเป็นที่จะต้องมีอินเตอร์เน็ต  เปิดกว้างในการแสดงความคิดเห็น ซึ่งต้องระมัดระวังในบางเรื่องหรือบางกรณี  การใช้เวลากับเฟชบุ๊กมากเกินไปอาจจะเกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมาได้ กติกา สายเสนีย์ ( 2552 ) ได้กล่าวว่าทวิตเตอร์ ( Twitter ) คือ เว็บไซต์ที่ให้บริการ blog สั้นหรือที่ ภาษาอังกฤษเรียกกันว่า Micro-Blog ซึ่งสามาระให้ผู้ใช้ส่งข้อความของตนเอง ให้เพื่อนๆ ที่ติดตาม twitter ของเราอยู่อ่านได้ และเราเองก็สามารถอ่านข้อความของเพื่อน หรือคนที่เราติดตามเค้าอยู่ได้ ซึ่ง twitter ก็ถือ ได้ว่าเป็นเว็บไซต์ประเภท Social Mediaด้วยเช่นกัน ในรูปแบบของ twitter นี้ ที่เรียกว่าเป็น blog สั้นก็เพราะว่า twitter ให้เขียนข้อความได้ครั้งละไม่ เกิน 140 ตัวอักษร ซึ่งข้อความนี้เมื่อเขียนแล้วจะไปแสดงอยู่ในหน้า profile ของผู้เขียนนั้นเองและจะทาการ ส่งข้อความนี้ไปยังสมาชิกที่ติดตามผู้เขียนคนนั้นอยู่ ( follower ) โดยอัตโนมัติ สาเหตุสาคัญที่ twitter นั้นฮิตไปทั่วโลก ก็เพราะว่ามีเครื่องมือที่อานวยความสะดวกให้ ผู้เขียนสามารถอัพเดทหรือเขียนข้อความ ( Twitter ) จากที่ไหนก็ได้ ตั้งแต่หน้าเว็บไซต์ บนโปรแกรมที่ติดตั้ง ลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแม้กระทั่งบนโทรศัพท์มือถือ จึงทาให้ผู้เขียน twitter นั้นสามารถอัพเดทได้บ่อย เท่าที่ต้องการ การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Twitter นั้นสามารถทาได้เช่นเดียวกับการใช้เฟชบุ๊ก ซึ่งครูสามารถใช้ ในการติดตามดูพฤติกรรมนักเรียน การพูดคุย ตอบปัญหาข้อสงสัย การให้คาแนะนาต่างๆ ผ่านทาง Twitter ได้เช่นกัน โดยเฉพาะการแจ้งข่าวสาร การบ้าน หรือข้อมูลสาคัญต่างๆ ระหว่างกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มที่เรียน
  • 13. 8 ด้วยกัน ซึ่งเป็นสื่อกลางที่จะสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้การแสดงความคิดเห็น การระดมความคิด หรือ การวิพากษ์วิจารณ์สิ่งต่าง ๆ กันผ่านทาง Twitter ก็สามารถทาได้ ไม่ได้อยู่ในสถานการณ์ที่เดียวกัน ซึ่งก็จะ ก่อให้เกิดเป็นข้อสรุปที่สาคัญในเรื่องนั้น หรือองค์ความรู้ที่กลุ่มได้ร่วมกันระดมความคิดนั่นเอง แต่ก็มีข้อจากัด บางประการก็คือ การสื่อสารผ่านทาง Twitter นั้น จาเป็นที่จะต้องใช้โทรศัพท์มือถือที่สามารถเชื่อมต่อกับ อินเตอร์เน็ตได้ เพราะการสื่อสารผ่านทาง Twitter ที่ได้รับความนิยมมากเพราะสามารถสื่อสารผ่านทาง โทรศัพท์มือถือได้ หรือหากไม่มีโทรศัพท์มือถือที่สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ ก็จะได้มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้แทน Slideshareและ Youtube Slideshareและ Youtubeเป็นสื่อSocial Media อีกประเภทหนึ่งที่สามารถนาไปใช้ประกอบการ จัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนได้ โดยการใช้งานร่วมกัน Blog นั่นก็คือ การนาเอกสารต่างๆ ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ สไลด์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ฯลฯ จาก Slideshare มาแสดงเป็นบทเรียนไว้ใน Blog หรือการนาวีดีโอที่น่าสนใจต่างๆ จาก Youtube มาแสดงไว้ใน Blog เพื่อให้นักเรียนได้เข้ามาศึกษา แสดง ความคิดเห็น หรือวิพากษ์วิจารณ์ จนเกิดเป็นข้อสรุปที่เป็นองค์ความรู้ ความเข้าใจ ที่สร้างขึ้นด้วยตนเอง 3. กำรเรียนกำรสอนผ่ำนออนไลน์ การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนเป็นการนาเอาคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ตมาออกแบบเพื่อใช้ใน การศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียกหลายลักษณะเช่นการ จัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web-Based Learning) เว็บฝึกอบรม (Web-Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training) อินเทอร์เน็ตช่วยสอน(Internet- Based Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-Based Training) และเวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW- Based Instruction) (สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2545) ทั้งนี้มีผู้นิยามและให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่าน เว็บเอาไว้หลายนิยามได้แก่ คาน (Khan, 1997) ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction)ไว้ว่า เป็นการเรียนการสอนที่อาศัยโปรแกรมไฮเปอร์มีเดียที่ช่วยในการสอน โดยการใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะ และทรัพยากรของอินเทอร์เน็ตมาสร้างให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายโดยส่งเสริมและสนับสนุนการ เรียนรู้อย่างมากมายและสนับสนุนการเรียนรู้ในทุกทาง ดริสคอล (Driscoll, 1997) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าเป็นการใช้ทักษะหรือ ความรู้ต่างๆถ่ายโยงไปสู่ที่ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลด์ไวด์เว็บเป็นช่องทางในการเผยแพร่สิ่งเหล่านั้น คาร์ลสันและคณะ (Carlson et al., 19100) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นภาพที่ชัดเจนของ การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีในยุคปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสที่ชัดเจนในการนาการศึกษาไปสู่ที่ด้อยโอกาสเป็นการจัดหาเครื่องมือใหม่ๆสาหรับ ส่งเสริมการเรียนรู้และเพิ่มเครื่องมืออานวยความสะดวกที่ช่วยขจัดปัญหา เรื่องสถานที่และเวลา สาหรับประโยชน์ทางการศึกษาแก่ผู้เรียนภายในประเทศไทยการเรียนการสอนผ่านเว็บถือเป็นรูปแบบ ใหม่ของการเรียนการสอนที่เริ่มนาเข้ามาใช้ทั้งนี้นักการศึกษาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนการสอน ผ่านเว็บไว้ดังนี้ กิดานันท์ มลิทอง (2543) ให้ความหมายว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการใช้เว็บในการเรียนการ สอนโดยอาจใช้เว็บเพื่อนาเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชาทั้งหมดตามหลักสูตรหรือใช้เพียงการ เสนอข้อมูลบางอย่างเพื่อประกอบการสอนก็ได้รวมทั้งใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะต่างๆของการสื่อสารที่มีอยู่
  • 14. 9 ในระบบอินเทอร์เน็ต เช่นการเขียนโต้ตอบกันทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และการพูดคุยสดด้วยข้อความและ เสียงมาใช้ประกอบด้วยเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ถนอมพร เลาจรัสแสง (2544) ให้ความหมายว่า การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการ ผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยีปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้ คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้ ใจทิพย์ ณ สงขลา (2542) ได้ให้ความหมายการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าหมายถึง การผนวกคุณสมบัติ ไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติของเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บเพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนในมิติที่ไม่มีขอบเขต จากัดด้วยระยะทางและเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียน (Learning without Boundary) วิชุดา รัตนเพียร (2542) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการนาเสนอโปรแกรมบทเรียนบนเว็บ เพจโดยนาเสนอผ่านบริการเวิลด์ไวด์เว็บในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งผู้ออกแบบและสร้างโปรแกรมการสอนผ่าน เว็บจะต้องคานึงถึงความสามารถและบริการที่หลากหลายของอินเทอร์เน็ตและนาคุณสมบัติต่างๆเหล่านั้นมา ใช้เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอนให้มากที่สุด จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษาทั้งในต่างประเทศและภายใน ประเทศไทย ดังที่กล่าวมาแล้วนั้นสามารถสรุปได้ว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัดสภาพการเรียนการสอนที่ได้รับการ ออกแบบอย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บมาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเพื่อ ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยอาจจัด เป็นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการหรือ นามาใช้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกระบวนการทั้งหมดและช่วยขจัดปัญหาอุปสรรคของการเรียนการสอนทางด้าน สถานที่และเวลาอีกด้วย 4. ประเภทของกำรเรียนกำรสอนผ่ำนเว็บ การเรียนการสอนผ่านเว็บสามารถทาได้ในหลายลักษณะโดยแต่ละเนื้อหาของหลักสูตรก็จะมีวิธีการ จัดการเรียนการสอนผ่านเว็บที่แตกต่างกันออกไปซึ่งในประเด็นนี้มีนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ ดังต่อไปนี้ พาร์สัน(Parson,1997) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บออกเป็น 3 ลักษณะคือ 1. เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone Courses) เป็นรายวิชาที่มีเครื่องมือและแหล่ง ที่เข้าไปถึงและเข้าหาได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ตอย่างมากที่สุดถ้าไม่มีการสื่อสารก็สามารถที่จะไปผ่านระบบ คอมพิวเตอร์สื่อสารได้ลักษณะของเว็บช่วยสอนแบบนี้มีลักษณะเป็นแบบวิทยาเขตมีนักศึกษาจานวนมากที่เข้า มาใช้จริงแต่จะมีการส่งข้อมูลจากรายวิชาทางไกล 2. เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) เป็นรายวิชาที่มีลักษณะเป็น รูปธรรมที่มีการพบปะระหว่างครูกับนักเรียนและมีแหล่งให้มาก เช่น การกาหนดงานที่ให้ทาบนเว็บ การ กาหนดให้อ่านการสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์หรือการมีเว็บที่สามารถชี้ตาแหน่งของแหล่งบนพื้นที่ของ เว็บไซต์โดยรวมกิจกรรมต่างๆ เอาไว้ 3. เว็บช่วยสอนแบบศูนย์การศึกษา (Web Pedagogical Resources) เป็นชนิดของเว็บไซต์ที่มีวัตถุดิบ เครื่องมือซึ่งสามารถรวบรวมรายวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกันหรือเป็นแหล่งสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษาซึ่ง ผู้ที่เข้ามาใช้ก็จะมีสื่อให้บริการอย่างรูปแบบอย่างเช่น เป็นข้อความเป็นภาพกราฟิก การสื่อสารระหว่างบุคคล และการทาภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น โดเฮอร์ตี้ (Doherty, 19100) แนะนาว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บ มีวิธีการใช้ใน 3 ลักษณะ คือ
  • 15. 10 1. การนาเสนอ (Presentation) ในลักษณะของเว็บไซต์ที่ประกอบไปด้วยข้อความ ภาพกราฟิกโดยมีวิธี การนาเสนอ คือ 1.1 การนาเสนอแบบสื่อเดี่ยว เช่น ข้อความ หรือ รูปภาพ 1.2 การนาเสนอแบบสื่อคู่ เช่น ข้อความกับรูปภาพ 1.3 การนาเสนอแบบมัลติมีเดีย คือ ประกอบด้วยข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง 2. การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารเป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องใช้ทุกวันในชีวิตซึ่งเป็นลักษณะ สาคัญของอินเทอร์เน็ต โดยมีการสื่อสารบนอินเทอร์เน็ตหลายแบบ เช่น 2.1 การสื่อสารทางเดียว เช่น การดูข้อมูลจากเว็บเพจ 2.2 การสื่อสารสองทาง เช่น การส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์โต้ตอบกัน 2.3 การสื่อสารแบบหนึ่งแหล่งไปหลายที่เป็นการส่งข้อความจากแหล่งเดียวแพร่กระจายไปหลาย แหล่ง เช่นการอภิปรายจากคนเดียวให้คนอื่นๆ ได้รับฟังด้วยหรือการประชุมผ่านคอมพิวเตอร์ (Computer conferencing) 2.4 การสื่อสารหลายแหล่งไปสู่หลายแหล่ง เช่น การใช้กระบวนการกลุ่มในการสื่อสารบนเว็บ โดยมี คนใช้หลายคนและคนรับหลายคนเช่นกัน 3. การทาให้เกิดความสัมพันธ์ (Dynamic Interaction) เป็นคุณลักษณะที่สาคัญของอินเทอร์เน็ตและ สาคัญที่สุด ซึ่งมี 3 ลักษณะคือ 3.1 การสืบค้นข้อมูล 3.2 การหาวิธีการเข้าสู่เว็บ 3.3 การตอบสนองของมนุษย์ต่อการใช้เว็บ นอกจากนี้ แฮนนัม (Hannum, 19100) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ ออกเป็น 4 ลักษณะ ใหญ่ๆ คือ 1. รูปแบบการเผยแพร่ รูปแบบนี้สามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 ชนิด คือ 1.1 รูปแบบห้องสมุด (Library Model) เป็นรูปแบบที่ใช้ประโยชน์จากความสามารถในการเข้าไปยัง แหล่งทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยู่หลากหลายโดยวิธีการจัดหาเนื้อหาให้ผู้เรียนผ่านการเชื่อมโยงไปยังแหล่ง เสริมต่างๆเช่นสารานุกรม วารสาร หรือหนังสือออนไลน์ทั้งหลาย ซึ่งถือได้ว่าเป็นการนาเอาลักษณะทาง กายภาพของห้องสมุดที่มีทรัพยากรจานวนมหาศาลมาประยุกต์ใช้ ส่วน ประกอบของรูปแบบนี้ ได้แก่ สารานุกรมออนไลน์ วารสารออนไลน์หนังสือออนไลน์ สารบัญการอ่าน ออนไลน์ (Online Reading List) เว็บ ห้องสมุดเว็บงานวิจัย รวมทั้งการรวบรวมรายชื่อเว็บที่สัมพันธ์กับวิชาต่างๆ 1.2 รูปแบบหนังสือเรียน (Textbook Model) การเรียนการสอนผ่านเว็บรูปแบบนี้เป็นการจัดเนื้อหา ของหลักสูตรในลักษณะออนไลน์ให้แก่ผู้เรียน เช่น คาบรรยายสไลด์ นิยามคาศัพท์และส่วนเสริมผู้สอนสามารถ เตรียมเนื้อหาออนไลน์ที่ใช้เหมือนกับที่ใช้ในการเรียนในชั้นเรียนปกติและสามารถทาสาเนาเอกสารให้กับ ผู้เรียนได้รูปแบบนี้ต่างจากรูปแบบห้องสมุดคือรูปแบบนี้จะเตรียมเนื้อหาสาหรับการเรียนการสอนโดยเฉพาะ ขณะที่รูปแบบห้องสมุดช่วยให้ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหาที่ต้องการจากการเชื่อมโยงที่ได้เตรียมเอาไว้ส่วนประกอบ ของรูปแบบหนังสือเรียนนี้ประกอบด้วยบันทึกของหลักสูตรบันทึกคาบรรยาย ข้อแนะนาของห้องเรียน สไลด์ที่ นาเสนอ วิดีโอและภาพที่ใช้ในชั้นเรียน เอกสารอื่นที่มีความสัมพันธ์กับชั้นเรียน เช่นประมวลรายวิชา รายชื่อใน ชั้นกฏเกณฑ์ข้อตกลงต่างๆตารางการสอบและตัวอย่างการสอบครั้งที่แล้วความคาดหวังของชั้นเรียน งานที่ มอบหมาย เป็นต้น 1.3 รูปแบบการสอนที่มีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Instruction Model) รูปแบบนี้จัดให้ผู้เรียน ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับเนื้อหาที่ได้รับ โดยนาลักษณะของบทเรียน คอมพิวเตอร์
  • 16. 11 ช่วยสอน (CAI) มาประยุกต์ใช้เป็นการสอนแบบออนไลน์ที่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ มีการให้คาแนะนา การปฏิบัติ การให้ผลย้อนกลับ รวมทั้งการให้สถานการณ์จาลอง 2. รูปแบบการสื่อสาร (Communication Model) การเรียนการสอนผ่านเว็บรูปแบบนี้เป็นรูปแบบที่อาศัยคอมพิวเตอร์มาเป็นสื่อเพื่อการสื่อสาร (Computer - MediatedCommunications Model) ผู้เรียนสามารถที่จะสื่อสารกับผู้เรียนคนอื่นๆผู้สอน หรือกับผู้เชี่ยวชาญได้โดยรูปแบบการสื่อสารที่หลากหลายในอินเทอร์เน็ต ซึ่งได้แก่ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลุ่ม อภิปรายการสนทนาและการอภิปรายและการประชุมผ่านคอมพิวเตอร์ เหมาะสาหรับการเรียนการสอนที่ ต้องการส่งเสริมการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 3. รูปแบบผสม (Hybrid Model) รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บรูปแบบนี้เป็นการนาเอารูปแบบ 2 ชนิด คือรูปแบบการเผยแพร่กับ รูปแบบการสื่อสารมารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่นเว็บไซต์ที่รวมเอารูปแบบห้องสมุดกับรูปแบบหนังสือเรียนไว้ ด้วยกันเว็บไซต์ที่รวบรวมเอาบันทึกของหลักสูตรรวมทั้งคาบรรยายไว้กับกลุ่มอภิปรายหรือเว็บไซต์ที่รวมเอา รายการแหล่งเสริมความรู้ต่างๆและความสามารถของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ไว้ด้วยกันเป็นต้นรูปแบบนี้มี ประโยชน์เป็นอย่างมากกับผู้เรียนเพราะผู้เรียนจะได้ใช้ประโยชน์ของทรัพยากรที่มีในอินเทอร์เน็ตในลักษณะที่ หลากหลาย 4. รูปแบบห้องเรียนเสมือน (Virtual classroom model) รูปแบบห้องเรียนเสมือนเป็นการนาเอาลักษณะเด่นหลายๆประการของแต่ละรูปแบบที่กล่าวมาแล้ว ข้างต้นมาใช้ ฮิลทซ์ (Hiltz, 1993) ได้นิยามว่าห้องเรียนเสมือนเป็นสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนที่นาแหล่ง ทรัพยากรออนไลน์มาใช้ในลักษณะการเรียนการสอนแบบร่วมมือโดยการร่วมมือระหว่างนักเรียนด้วยกัน นักเรียนกับผู้สอนชั้นเรียนกับสถาบันการศึกษาอื่น และกับชุมชนที่ไม่เป็นเชิงวิชาการ (Khan, 1997) ส่วนเท อรอฟฟ์ (Turoff, 1995)กล่าวถึงห้องเรียนเสมือนว่าเป็นสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนที่ตั้งขึ้นภายใต้ระบบ การสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์ในลักษณะของการเรียนแบบร่วมมือซึ่งเป็นกระบวนการที่เน้นความสาคัญของกลุ่ม ที่จะร่วมมือทากิจกรรมร่วมกันนักเรียนและผู้สอนจะได้รับความรู้ใหม่ๆจากกิจกรรมการสนทนาแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและข้อมูลลักษณะเด่นของการเรียนการสอนรูปแบบนี้ก็คือความสามารถในการลอกเลียนลักษณะ ของห้องเรียนปกติมาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยอาศัยความสามารถ ต่างๆ ของอินเทอร์เน็ต โดยมีส่วนประกอบคือ ประมวลรายวิชาเนื้อหาในหลักสูตร รายชื่อแหล่งเนื้อหาเสริม กิจกรรมระหว่างผู้เรียนผู้สอน คาแนะนาและการให้ผลป้อนกลับ การนาเสนอในลักษณะมัลติมีเดียการเรียน แบบร่วมมือ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกันรูปแบบนี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการเรียนโดยไม่มี ข้อจากัดในเรื่องของเวลาและสถานที่ 5. กำรออกแบบกำรเรียนกำรสอนผ่ำนเว็บ ในการออกแบบและพัฒนาเว็บการเรียนการสอนผ่านให้มีประสิทธิภาพนั้นมีนักการศึกษาหลายท่านให้ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกระบวนการที่จะใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอน ดังนี้ ดิลลอน (Dillon,1991) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนในการสร้างบทเรียนที่มีลักษณะเป็นสื่อหลายมิติ (Hypermedia) ซึ่งหลักการนี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบและพัฒนาเว็บเพื่อการเรียนการสอน แนวคิดดังกล่าวมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ศึกษาเกี่ยวกับผู้เรียนและเนื้อหาที่จะนามาพัฒนาเพื่อกาหนดวัตถุประสงค์และหาแนวทางในการจัด กิจกรรมการเรียน