SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
บทที่ 10 พฤติกรรมสัตว์
ความหมาย

      พฤติกรรม หมายถึง กิริยาของสิ่งมีชีวิตที่
แสดงออกมาเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น
เช่น การอพยพ การเกี้ยวพาราสี การหาอาหาร
การต่อสู้ เป็นต้น

                       สิ่งเร้ามีทั้งสิ่งเร้าภายนอก
                       เช่น อุณหภูมิ แสงสว่าง
                       กลิ่น และสิ่งเร้าภายใน
                       เช่น ความหิว ความโกรธ
                       ความรัก เป็นต้น
10.1 กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์

การศึกษาพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตทาได้ 2 วิธี คือ

1. วิธีการทางสรีรวิทยา (Physiological approach)
   มีจุดมุ่งหมายเพื่ออธิบายพฤติกรรมในรูปของกลไก
   การทางานของระบบประสาท

2. วิธีการทางจิตวิทยา (Psychological approach)
   เป็นการศึกษาถึงผลของปัจจัยต่าง ๆ รอบตัวและ
   ปัจจัยภายในร่างกายที่มีต่อการพัฒนาและการแสดงออก
   ของพฤติกรรมที่มองเห็นได้ชัดเจน
10.2 ประเภทพฤติกรรมของสัตว์

       เพื่อให้ง่ายแก่การศึกษาและทาความเข้าใจ
จึงแบ่งประเภทของพฤติกรรมออกเป็น 2 แบบคือ

1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด (inherited behavior)
2. พฤติกรรมการเรียนรู้ (learned behavior)
1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด (inherited behavior)

        เป็นพฤติกรรมแบบง่ายๆ และเป็นลักษณะเฉพาะตัว
ที่ใช้ในการตอบสนองต่อสิ่งเร้า เช่น แสง เสียง สารเคมี หรือ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่างๆ
        จะตอบสนองโดยการเคลื่อนไหวเพื่อปรับตาแหน่งให้
อยู่ในสภาพที่เหมาะสม หรือหลีกเลี่ยงสภาพที่ไม่เหมาะสม

       ความสามารถในการแสดงพฤติกรรมนี้
ได้มาจากพันธุกรรมเท่านั้น โดยไม่จาเป็น
ต้องเรียนรู้มาก่อน จึงมักมีแบบแผนที่
แน่นอนเฉพาะตัว สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
จะแสดงพฤติกรรมเหมือนกันหมด
พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ

1. พฤติกรรมแบบรีแฟล็กซ์

        เป็นพฤติกรรมขั้นพื้นฐานที่แสดงออกด้วยการที่ส่วนใด
ส่วนหนึ่งของร่างกายตอบสนองต่อสิ่งเร้าจากภายนอกที่มา
กระตุ้นได้อย่างรวดเร็ว โดยมีแบบแผนที่แน่นอน ไม่ซับซ้อน
เกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้นๆ เช่น

โอเรียนเตชัน (orientation) หมายถึงพฤติกรรมสัตว์ที่
ทาให้เกิดการวางตัวที่เหมาะสมกับการดารงชีวิต เช่น
การเคลื่อนที่หนีสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
มี 2 รูปแบบ คือ
- ไคนีซิส (kinesis)
  คือ พฤติกรรมการเคลื่อนที่หนี หรือเข้าหาสิ่งเร้าโดยมี
  ทิศทางไม่แน่นอน
  พบในโพรโทซัว หรือสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้นต่า

- แทกซิส (taxis)
 คือ พฤติกรรมการเคลื่อนที่หนี หรือเข้าหาสิ่งเร้าโดยมี
  ทิศทางที่แน่นอน
  พบในสิ่งมีชีวิตที่มีหน่วยรับความรู้สึกเจริญดี เช่น
  จิ้งหรีด ผีเสื้อกลางคืน ค้างคาว และแมลงเม่า เป็นต้น
2. พฤติกรรมแบบรีแฟล็กซ์ต่อเนื่อง

        เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากรีเฟล็กซ์แบบหนึ่งสามารถ
  ไปกระตุ้นรีเฟล็กซ์อื่นๆ ของระบบประสาทให้ทางาน มีผล
  ทาให้เกิดพฤติกรรมย่อยๆ หลายพฤติกรรม เช่น

  - พฤติกรรมการดูดนมของทารก

ความหิว       การดูดนม     การกลืน       การดูดนมต่อ

 - พฤติกรรมการสร้างรังของนก

 การหาวัสดุ         การหาสถานที่          แบบของรัง
2. พฤติกรรมการเรียนรู้ (learned behavior)

       เป็นพฤติกรรมของสัตว์ที่อาศัยประสบการณ์ หรือ
การเรียนรู้ ส่วนใหญ่พบในสัตว์ชั้นสูงที่มีระบบประสาทเจริญดี

   1) แฮบบิชูเอชัน (Habituation)

      หมายถึง พฤติกรรมที่สัตว์ลดการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
แม้จะได้รับการกระตุ้นอยู่ เนื่องจากสิ่งเร้านั้นไม่มีผลต่อ
การดารงชีวิต

      เป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ง่ายที่สุด เช่น ลูกสัตว์
มักกลัว และหนีสิ่งแปลกใหม่ เมื่อลูกสัตว์เกิดการเรียนรู้ก็จะลด
พฤติกรรมลงไป
2) การฝังใจ (Imprinting)

      หมายถึง พฤติกรรมที่เริ่มมีในระยะแรกๆ หลังจากเกิด
และเกิดในระยะเวลาสั้นมาก ซึ่งอาจจะฝังใจเพียงระยะหนึ่ง
หรือจาไปตลอดชีวิต
3) การมีเงื่อนไข (Conditioning)

      หมายถึง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้าหนึ่งเข้าไป
แทนที่สิ่งเร้าเดิม ในการชักนาให้เกิดการตอบสนอง
ชนิดเดียวกัน

เช่น การฝึกสัตว์เลี้ยงที่บ้าน ฝึกสัตว์ไว้ใช้งาน
ฝึกสัตว์แสดงละครสัตว์ ล้วนมีพื้นฐานมาจาก
พฤติกรรมการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไขทั้งสิ้น
การศึกษาของอีวาน พาฟลอฟ


                        อาหาร
 ก่อนเรียนรู้                               สุนัขหลั่งน้าลาย
                  (สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข)

                         อาหาร
ระหว่างเรียนรู้                             สุนัขหลั่งน้าลาย
                      เสียงกระดิ่ง



 หลังเรียนรู้         เสียงกระดิ่ง
                                            สุนัขหลั่งน้าลาย
                  (สิ่งเร้ามีเงื่อนไข)
4) การลองผิดลองถูก (Trial and Error)

      เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกโดยอาศัยการทดลองทา
ดูก่อนโดยไม่รู้ว่าผลของการกระทาเป็นอย่างไร ถ้าได้ผลดี
ก็กระทาต่อไป ถ้าได้ผลเสียก็จะไม่กระทาอีก
5) การใช้เหตุผล ( Reasoning )

       หมายถึง ความสามารถของสัตว์ที่จะตอบสนอง
ได้อย่างถูกต้อง สามารถนาประสบการณ์เดิมมาช่วย
แก้ปัญหาใหม่ๆได้ เช่น

- การใช้เหตุผลของคนในการแก้ปัญหาต่างๆ
- การทดลองของโคเลอร์ ( W. Kohler ) เกี่ยวกับ
  การแก้ปัญหาของลิงชิมแพนซี
10.3 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม
                 กับพัฒนาการของระบบประสาท
 ชนิดของสิ่งมีชีวิต               ระบบประสาท                              พฤติกรรมส่วนใหญ่
1.โพรทิสต์เซลล์                                              พฤติกรรมมีมาแต่กาเนิด พวกไคนีซิสประ
                      ไม่มีระบบประสาทหรือมีเส้นใย
เดียว                                                        สานงานและแทกซิส
2.สัตว์หลายเซลล์ที่ ยังไม่ซับซ้อน                            พฤติกรรมมีมาแต่กาเนิด เช่น รีเฟลกซ์ และ
ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น มีร่างแหประสาทและปมประสาท            รีเฟลกซ์ต่อเนื่อง
3.สัตว์มีกระดูกสัน    สมองส่วนหน้าไม่ค่อยเจริญ แต่สมอง       เริ่มมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้นกว่าสัตว์ไม่มี
หลังชั้นต่า           ส่วนกลางเจริญดีมาก                     กระดูกสันหลัง แต่ยังไม่รู้จักใช้เหตุผล
4.สัตว์เลี้ยงลูก      สมองส่วนหน้าเจริญดี แต่สมองส่วนกลาง มีการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น และมีพฤติกรรมแบบ
ด้วยนม                ลดขนาดลง                            การใช้เหตุผลด้วย
                      สมองส่วนหน้าเจริญดี แต่สมองส่วนกลาง มีการเรียนรู้ และการใช้เหตุผลที่
5.มนุษย์
                      ลดขนาดลงไปมาก                       สลับซับซ้อน
10.4 การสื่อสารระหว่างสัตว์

       เป็นพฤติกรรมทางสังคมของสัตว์ เพราะมีการส่ง
สัญญาณทาให้สัตว์ซึ่งได้รับสัญญาณ มีพฤติกรรมเปลี่ยน
แปลงไป สัตว์ทุกชนิดต้องมีการสื่อสารอย่างน้อยในช่วงใด
ช่วงหนึ่งของชีวิตโดยเฉพาะช่วงที่มีการสืบพันธุ์
       การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวกับการสื่อสารจึงมักจะกระทา
กับสัตว์ที่มีพฤติกรรมทางสังคมซับซ้อน เช่น ผึ้ง ปลวก
มดและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทั้งนี้เพราะ เมื่อสัตว์เหล่านี้
มาอยู่รวมกันมากจะมีการแบ่งหน้าที่กันทางาน จึงต้องมี
การสื่อสารกันตลอดเวลา
1.การสื่อสารด้วยเสียง

       เสียงของสัตว์ที่เปล่งออกมาในแต่ละครั้งจะแสดงถึง
การตอบสนองสิ่งเร้าต่างๆ และสื่อความหมายที่แตกต่างกัน
เช่น
- เสียงที่ทาให้เกิดการรวมกลุ่ม เช่น เสียงของนกร้อง ไก่
   แกะ และกระรอก
- เสียงเรียกคู่เพื่อผสมพันธ์ เช่น เสียงร้องของกบและคางคก
   เสียงขยับปีกของยุงตัวเมียเพื่อเรียกยุงตัวผู้
- เสียงเตือนภัย เช่น เสียงร้องของเป็ด นก และเสียงเห่า
   ของสุนัข
- เสียงแสดงความโกรธ เช่น เสียงร้องของแมว สุนัข และช้าง
       นักวิทยาศาสตร์ได้ทาการวิจัยเกี่ยวกับวาฬ พบว่ามี
หลายชนิดทาเสียงได้ เนื่องจากเสียงสามารถถ่ายทอดไปได้
ไกลในน้า และเสียงทาหน้าที่สื่อสารระหว่างพวกเดียวกันได้
2.การสื่อสารด้วยท่าทาง

       เป็นท่าทางที่สัตว์แสดงออกมาอาจจะเป็นแบบง่ายๆ
หรืออาจมีหลายขั้นตอนที่สัมพันธ์กัน เช่น
- การแยกเขี้ยวของแมว
- การเปลี่ยนสีของปลากัดขณะต่อสู้กัน
- สุนัขหางตกเมื่อต่อสู้แพ้และวิ่งหนี
- นกยูงตัวผู้ราแพนหางขณะเกี้ยวพาราสี นกยูงตัวเมีย
- การเต้นระบาของผึ้งเพื่อบอกแหล่งและปริมาณของอาหาร
  ถ้าแหล่งอาหารอยู่ใกล้ จะเต้นเป็นรูปวงกลม แต่ถ้า
  แหล่งอาหารอยู่ไกล จะเต้นคล้ายรูปเลขแปด และ
  มีการส่ายก้นไปมาด้วย โดยถ้าส่ายก้นเร็ว แสดงว่า
  ปริมาณอาหารมีมาก
3.การสื่อสารด้วยสารเคมี

       สัตว์หลายชนิดใช้สารเคมีที่เรียกว่า ฟีโรโมน
ทาให้เกิดพฤติกรรมต่างๆได้ เช่น
- ดึงดูดเพศตรงข้าม เช่น การที่ผีเสื้อกลางคืนตัวเมียหลั่ง
  สารเคมีออกมา เพื่อให้ดึงดูดผีเสื้อกลางคืนตัวผู้ที่อยู่ห่าง
  หลายกิโลเมตรให้บินมาหาได้ หรือการที่ชะมดหลั่ง
  สารเคมีที่ดึงดูดเพศตรงข้ามได้
- บอกอาณาเขต เช่น กวางบางชนิดจะแตะสารเคมีกับต้นไม้
  เพื่อบอกอาณาเขต และการที่เสือดาวหรือสุนัขถ่ายปัสสาวะ
  ไว้ในที่ต่างๆ เพื่อบอกอาณาเขต
- นาทาง เช่น การหาอาหารของมด มดจะใช้ปลายท้องแตะ
  ที่พื้นแล้วปล่อยสารเคมีออกมาเป็นระยะๆทาให้มดตัวอื่นๆ
  ติดตามไปยังแหล่งอาหารได้ถูก
4.การสื่อสารด้วยการสัมผัส

       เป็นการสื่อสารโดยใช้อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งสัมผัส
กับสัตว์พวกเดียวกันหรือต่างพวกกัน เพื่อกระตุ้นให้เกิด
พฤติกรรมโต้ตอบกัน การสัมผัสเป็นการสื่อสารที่สาคัญ
อย่างหนึ่งของสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
การสัมผัสจะเป็นการถ่ายทอดความรัก และมีส่วนสาคัญต่อ
การพัฒนาของลูกอ่อน ทาให้ลกเกิดความรู้สึกอบอุ่นและ
ปลอดภัย
ตัวอย่างสัตว์ที่มีการสื่อสารด้วยวิธีนี้ ได้แก่
- สุนัขเข้าไปเลียปากสุนัขตัวที่เหนือกว่า เพื่อบ่งบอกถึง
  ความเป็นมิตรหรืออ่อนน้อมด้วย
- ลิงชิมแพนซียื่นมือให้ลิงตัวที่มีอานาจเหนือกว่าจับใน
  ลักษณะหงายมือให้จับ
- ลูกนกนางนวลบางชนิดใช้จะงอยปากจิกที่จะงอยปาก
  ของแม่นกเพื่อขออาหาร
แบบฝึกหัด

คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปนี้ ลงในสมุด

1.

More Related Content

What's hot

ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมนWichai Likitponrak
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 

Similar to บทที่ ๑๐ พฤติกรรม

ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1Abhai Lawan
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioresupreechafkk
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์subhapit
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต Thitaree Samphao
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12pon-pp
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์pronpron
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์pronjit.32
 

Similar to บทที่ ๑๐ พฤติกรรม (20)

Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 

บทที่ ๑๐ พฤติกรรม

  • 2. ความหมาย พฤติกรรม หมายถึง กิริยาของสิ่งมีชีวิตที่ แสดงออกมาเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น เช่น การอพยพ การเกี้ยวพาราสี การหาอาหาร การต่อสู้ เป็นต้น สิ่งเร้ามีทั้งสิ่งเร้าภายนอก เช่น อุณหภูมิ แสงสว่าง กลิ่น และสิ่งเร้าภายใน เช่น ความหิว ความโกรธ ความรัก เป็นต้น
  • 3. 10.1 กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ การศึกษาพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตทาได้ 2 วิธี คือ 1. วิธีการทางสรีรวิทยา (Physiological approach) มีจุดมุ่งหมายเพื่ออธิบายพฤติกรรมในรูปของกลไก การทางานของระบบประสาท 2. วิธีการทางจิตวิทยา (Psychological approach) เป็นการศึกษาถึงผลของปัจจัยต่าง ๆ รอบตัวและ ปัจจัยภายในร่างกายที่มีต่อการพัฒนาและการแสดงออก ของพฤติกรรมที่มองเห็นได้ชัดเจน
  • 4. 10.2 ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ เพื่อให้ง่ายแก่การศึกษาและทาความเข้าใจ จึงแบ่งประเภทของพฤติกรรมออกเป็น 2 แบบคือ 1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด (inherited behavior) 2. พฤติกรรมการเรียนรู้ (learned behavior)
  • 5. 1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด (inherited behavior) เป็นพฤติกรรมแบบง่ายๆ และเป็นลักษณะเฉพาะตัว ที่ใช้ในการตอบสนองต่อสิ่งเร้า เช่น แสง เสียง สารเคมี หรือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่างๆ จะตอบสนองโดยการเคลื่อนไหวเพื่อปรับตาแหน่งให้ อยู่ในสภาพที่เหมาะสม หรือหลีกเลี่ยงสภาพที่ไม่เหมาะสม ความสามารถในการแสดงพฤติกรรมนี้ ได้มาจากพันธุกรรมเท่านั้น โดยไม่จาเป็น ต้องเรียนรู้มาก่อน จึงมักมีแบบแผนที่ แน่นอนเฉพาะตัว สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน จะแสดงพฤติกรรมเหมือนกันหมด
  • 6. พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 1. พฤติกรรมแบบรีแฟล็กซ์ เป็นพฤติกรรมขั้นพื้นฐานที่แสดงออกด้วยการที่ส่วนใด ส่วนหนึ่งของร่างกายตอบสนองต่อสิ่งเร้าจากภายนอกที่มา กระตุ้นได้อย่างรวดเร็ว โดยมีแบบแผนที่แน่นอน ไม่ซับซ้อน เกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้นๆ เช่น โอเรียนเตชัน (orientation) หมายถึงพฤติกรรมสัตว์ที่ ทาให้เกิดการวางตัวที่เหมาะสมกับการดารงชีวิต เช่น การเคลื่อนที่หนีสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม มี 2 รูปแบบ คือ
  • 7. - ไคนีซิส (kinesis) คือ พฤติกรรมการเคลื่อนที่หนี หรือเข้าหาสิ่งเร้าโดยมี ทิศทางไม่แน่นอน พบในโพรโทซัว หรือสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้นต่า - แทกซิส (taxis) คือ พฤติกรรมการเคลื่อนที่หนี หรือเข้าหาสิ่งเร้าโดยมี ทิศทางที่แน่นอน พบในสิ่งมีชีวิตที่มีหน่วยรับความรู้สึกเจริญดี เช่น จิ้งหรีด ผีเสื้อกลางคืน ค้างคาว และแมลงเม่า เป็นต้น
  • 8.
  • 9. 2. พฤติกรรมแบบรีแฟล็กซ์ต่อเนื่อง เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากรีเฟล็กซ์แบบหนึ่งสามารถ ไปกระตุ้นรีเฟล็กซ์อื่นๆ ของระบบประสาทให้ทางาน มีผล ทาให้เกิดพฤติกรรมย่อยๆ หลายพฤติกรรม เช่น - พฤติกรรมการดูดนมของทารก ความหิว การดูดนม การกลืน การดูดนมต่อ - พฤติกรรมการสร้างรังของนก การหาวัสดุ การหาสถานที่ แบบของรัง
  • 10. 2. พฤติกรรมการเรียนรู้ (learned behavior) เป็นพฤติกรรมของสัตว์ที่อาศัยประสบการณ์ หรือ การเรียนรู้ ส่วนใหญ่พบในสัตว์ชั้นสูงที่มีระบบประสาทเจริญดี 1) แฮบบิชูเอชัน (Habituation) หมายถึง พฤติกรรมที่สัตว์ลดการตอบสนองต่อสิ่งเร้า แม้จะได้รับการกระตุ้นอยู่ เนื่องจากสิ่งเร้านั้นไม่มีผลต่อ การดารงชีวิต เป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ง่ายที่สุด เช่น ลูกสัตว์ มักกลัว และหนีสิ่งแปลกใหม่ เมื่อลูกสัตว์เกิดการเรียนรู้ก็จะลด พฤติกรรมลงไป
  • 11. 2) การฝังใจ (Imprinting) หมายถึง พฤติกรรมที่เริ่มมีในระยะแรกๆ หลังจากเกิด และเกิดในระยะเวลาสั้นมาก ซึ่งอาจจะฝังใจเพียงระยะหนึ่ง หรือจาไปตลอดชีวิต
  • 12. 3) การมีเงื่อนไข (Conditioning) หมายถึง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้าหนึ่งเข้าไป แทนที่สิ่งเร้าเดิม ในการชักนาให้เกิดการตอบสนอง ชนิดเดียวกัน เช่น การฝึกสัตว์เลี้ยงที่บ้าน ฝึกสัตว์ไว้ใช้งาน ฝึกสัตว์แสดงละครสัตว์ ล้วนมีพื้นฐานมาจาก พฤติกรรมการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไขทั้งสิ้น
  • 13. การศึกษาของอีวาน พาฟลอฟ อาหาร ก่อนเรียนรู้ สุนัขหลั่งน้าลาย (สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข) อาหาร ระหว่างเรียนรู้ สุนัขหลั่งน้าลาย เสียงกระดิ่ง หลังเรียนรู้ เสียงกระดิ่ง สุนัขหลั่งน้าลาย (สิ่งเร้ามีเงื่อนไข)
  • 14. 4) การลองผิดลองถูก (Trial and Error) เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกโดยอาศัยการทดลองทา ดูก่อนโดยไม่รู้ว่าผลของการกระทาเป็นอย่างไร ถ้าได้ผลดี ก็กระทาต่อไป ถ้าได้ผลเสียก็จะไม่กระทาอีก
  • 15. 5) การใช้เหตุผล ( Reasoning ) หมายถึง ความสามารถของสัตว์ที่จะตอบสนอง ได้อย่างถูกต้อง สามารถนาประสบการณ์เดิมมาช่วย แก้ปัญหาใหม่ๆได้ เช่น - การใช้เหตุผลของคนในการแก้ปัญหาต่างๆ - การทดลองของโคเลอร์ ( W. Kohler ) เกี่ยวกับ การแก้ปัญหาของลิงชิมแพนซี
  • 16. 10.3 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม กับพัฒนาการของระบบประสาท ชนิดของสิ่งมีชีวิต ระบบประสาท พฤติกรรมส่วนใหญ่ 1.โพรทิสต์เซลล์ พฤติกรรมมีมาแต่กาเนิด พวกไคนีซิสประ ไม่มีระบบประสาทหรือมีเส้นใย เดียว สานงานและแทกซิส 2.สัตว์หลายเซลล์ที่ ยังไม่ซับซ้อน พฤติกรรมมีมาแต่กาเนิด เช่น รีเฟลกซ์ และ ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น มีร่างแหประสาทและปมประสาท รีเฟลกซ์ต่อเนื่อง 3.สัตว์มีกระดูกสัน สมองส่วนหน้าไม่ค่อยเจริญ แต่สมอง เริ่มมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้นกว่าสัตว์ไม่มี หลังชั้นต่า ส่วนกลางเจริญดีมาก กระดูกสันหลัง แต่ยังไม่รู้จักใช้เหตุผล 4.สัตว์เลี้ยงลูก สมองส่วนหน้าเจริญดี แต่สมองส่วนกลาง มีการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น และมีพฤติกรรมแบบ ด้วยนม ลดขนาดลง การใช้เหตุผลด้วย สมองส่วนหน้าเจริญดี แต่สมองส่วนกลาง มีการเรียนรู้ และการใช้เหตุผลที่ 5.มนุษย์ ลดขนาดลงไปมาก สลับซับซ้อน
  • 17. 10.4 การสื่อสารระหว่างสัตว์ เป็นพฤติกรรมทางสังคมของสัตว์ เพราะมีการส่ง สัญญาณทาให้สัตว์ซึ่งได้รับสัญญาณ มีพฤติกรรมเปลี่ยน แปลงไป สัตว์ทุกชนิดต้องมีการสื่อสารอย่างน้อยในช่วงใด ช่วงหนึ่งของชีวิตโดยเฉพาะช่วงที่มีการสืบพันธุ์ การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวกับการสื่อสารจึงมักจะกระทา กับสัตว์ที่มีพฤติกรรมทางสังคมซับซ้อน เช่น ผึ้ง ปลวก มดและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทั้งนี้เพราะ เมื่อสัตว์เหล่านี้ มาอยู่รวมกันมากจะมีการแบ่งหน้าที่กันทางาน จึงต้องมี การสื่อสารกันตลอดเวลา
  • 18. 1.การสื่อสารด้วยเสียง เสียงของสัตว์ที่เปล่งออกมาในแต่ละครั้งจะแสดงถึง การตอบสนองสิ่งเร้าต่างๆ และสื่อความหมายที่แตกต่างกัน เช่น - เสียงที่ทาให้เกิดการรวมกลุ่ม เช่น เสียงของนกร้อง ไก่ แกะ และกระรอก - เสียงเรียกคู่เพื่อผสมพันธ์ เช่น เสียงร้องของกบและคางคก เสียงขยับปีกของยุงตัวเมียเพื่อเรียกยุงตัวผู้ - เสียงเตือนภัย เช่น เสียงร้องของเป็ด นก และเสียงเห่า ของสุนัข
  • 19. - เสียงแสดงความโกรธ เช่น เสียงร้องของแมว สุนัข และช้าง นักวิทยาศาสตร์ได้ทาการวิจัยเกี่ยวกับวาฬ พบว่ามี หลายชนิดทาเสียงได้ เนื่องจากเสียงสามารถถ่ายทอดไปได้ ไกลในน้า และเสียงทาหน้าที่สื่อสารระหว่างพวกเดียวกันได้
  • 20. 2.การสื่อสารด้วยท่าทาง เป็นท่าทางที่สัตว์แสดงออกมาอาจจะเป็นแบบง่ายๆ หรืออาจมีหลายขั้นตอนที่สัมพันธ์กัน เช่น - การแยกเขี้ยวของแมว - การเปลี่ยนสีของปลากัดขณะต่อสู้กัน - สุนัขหางตกเมื่อต่อสู้แพ้และวิ่งหนี - นกยูงตัวผู้ราแพนหางขณะเกี้ยวพาราสี นกยูงตัวเมีย - การเต้นระบาของผึ้งเพื่อบอกแหล่งและปริมาณของอาหาร ถ้าแหล่งอาหารอยู่ใกล้ จะเต้นเป็นรูปวงกลม แต่ถ้า แหล่งอาหารอยู่ไกล จะเต้นคล้ายรูปเลขแปด และ มีการส่ายก้นไปมาด้วย โดยถ้าส่ายก้นเร็ว แสดงว่า ปริมาณอาหารมีมาก
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24. 3.การสื่อสารด้วยสารเคมี สัตว์หลายชนิดใช้สารเคมีที่เรียกว่า ฟีโรโมน ทาให้เกิดพฤติกรรมต่างๆได้ เช่น - ดึงดูดเพศตรงข้าม เช่น การที่ผีเสื้อกลางคืนตัวเมียหลั่ง สารเคมีออกมา เพื่อให้ดึงดูดผีเสื้อกลางคืนตัวผู้ที่อยู่ห่าง หลายกิโลเมตรให้บินมาหาได้ หรือการที่ชะมดหลั่ง สารเคมีที่ดึงดูดเพศตรงข้ามได้ - บอกอาณาเขต เช่น กวางบางชนิดจะแตะสารเคมีกับต้นไม้ เพื่อบอกอาณาเขต และการที่เสือดาวหรือสุนัขถ่ายปัสสาวะ ไว้ในที่ต่างๆ เพื่อบอกอาณาเขต
  • 25. - นาทาง เช่น การหาอาหารของมด มดจะใช้ปลายท้องแตะ ที่พื้นแล้วปล่อยสารเคมีออกมาเป็นระยะๆทาให้มดตัวอื่นๆ ติดตามไปยังแหล่งอาหารได้ถูก
  • 26. 4.การสื่อสารด้วยการสัมผัส เป็นการสื่อสารโดยใช้อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งสัมผัส กับสัตว์พวกเดียวกันหรือต่างพวกกัน เพื่อกระตุ้นให้เกิด พฤติกรรมโต้ตอบกัน การสัมผัสเป็นการสื่อสารที่สาคัญ อย่างหนึ่งของสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม การสัมผัสจะเป็นการถ่ายทอดความรัก และมีส่วนสาคัญต่อ การพัฒนาของลูกอ่อน ทาให้ลกเกิดความรู้สึกอบอุ่นและ ปลอดภัย ตัวอย่างสัตว์ที่มีการสื่อสารด้วยวิธีนี้ ได้แก่ - สุนัขเข้าไปเลียปากสุนัขตัวที่เหนือกว่า เพื่อบ่งบอกถึง ความเป็นมิตรหรืออ่อนน้อมด้วย
  • 27. - ลิงชิมแพนซียื่นมือให้ลิงตัวที่มีอานาจเหนือกว่าจับใน ลักษณะหงายมือให้จับ - ลูกนกนางนวลบางชนิดใช้จะงอยปากจิกที่จะงอยปาก ของแม่นกเพื่อขออาหาร
  • 28.
  • 29.
  • 30.