SlideShare a Scribd company logo
การจาแนกจุดมุ่งหมายทางการศึกษา
ดร.กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์
พฤติกรรมการศึกษา
• พฤติกรรมทางการศึกษา
• ระดับของจุดมุ่งหมายการเรียนรู้สู่ตัวชี้วัดผลการเรียนรู้
• การนาตัวชี้วัดผลการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ
สวก.สพฐ. 2
สวก.สพฐ. 3
แนวคิดการจัดแบ่งพฤติกรรมการเรียนรู้
การจาแนกพฤติกรรมการศึกษา
เป็นแนวคิดหลักของการออกแบบการเรียนการสอน โดยกาหนด
เป็นเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน ตลอดจนการกาหนดเป็นจุดประสงค์
การเรียนรู้ เพื่อนาไปสู่การออกแบบกลวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสม
และเฉพาะเจาะจงกับเป้าหมายการเรียนรู้
สวก.สพฐ. 4
learning taxonomies
• Benjamin Samuel Bloom Born
February 21, 1913
Lansford, Pennsylvania
• Died September 13,
1999 (aged 86) Chicago
Nationality American Education
Ph.D. in Education
• Alma mater Pennsylvania State
University, University of Chicago
• Occupation Educational
psychologist
• Employer American Educational
Research Association
สวก.สพฐ. 5
Benjamin Samuel Bloom’s taxonomy
สวก.สพฐ. 6
Robert Mills Gagne learned capabilities
–ทักษะทางปัญญา (Intellectual skill)
–กลวิธีทางปัญญา (Cognitive strategy)
–ภาษาหรือคาพูด (verbal information)
-ทักษะการเคลื่อนไหว (motor skills)
-เจตคติ (attitude)
ขั้นการออกแบบของกาเย่
เร่งเร้าความสนใจ (Gain Attention)
บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective)
ทบทวนความรู้เดิม
(Activate Prior Knowledge)
นาเสนอเนื้อหาใหม่
(Present New Information)
ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้(Guide Learning)
กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
(Elicit Response)
ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide Feedback)
ทดสอบความรู้ใหม่
(Assess Performance)
7
David Merrill and Ruth Clark's
Performance/Content Matrix
I like distinction between knowing
and doing.
David Merrill
Ruth Clark's
8
Romiszowski's Knowledge Schema Romiszowski's Skills Schema
Alexander J. Romiszowski
Benjamin S. Bloom & Others (1956)
ได้จาแนกเป็น 3 ด้าน
1. พฤติกรรมด้านสมอง:พุทธพิสัย
(Cognitive Domain)
2. พฤติกรรมด้านจิตใจ:จิตพิสัย
(Affective Domain)
3. พฤติกรรมด้านการใช้กล้ามเนื้อ:ทักษะพิสัย
(Psycho – motor Domain)
พฤติกรรมทางการศึกษา
ทักษะพิสัย
จิตพิสัย พุทธิพิสัย
QiuZ5
พุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
เป็นการกระทาที่เกี่ยวกับกระบวนการ
ทางสมอง เช่น สติปัญญา
(Intellectual) การเรียนรู้
(Learning) และ การแก้ปัญหา
(Problem solving) แบ่งระดับพุทธิ
พิสัยไว้ 6 ระดับ (Benjamin
S.Bloom & Others ,1956)
พุทธิพิสัย
สวก.สพฐ. 11
สวก.สพฐ. 12
สวก.สพฐ. 13
1. ความรู้ความจา ความสามารถในการเก็บรักษามวลประสบการณ์ต่าง ๆ
จากการที่ได้รับรู้ไว้และระลึกสิ่งนั้นได้เมื่อต้องการเปรียบดังเทปบันทึกเสียง
หรือวีดิทัศน์ที่สามารถเก็บเสียงและภาพของเรื่องราวต่างๆได้ สามารถเปิด
ฟังหรือ ดูภาพเหล่านั้นได้ เมื่อต้องการ
2. ความเข้าใจเป็นความสามารถในการจับใจความสาคัญของสื่อ และ
สามารถแสดงออกมาในรูปของการแปลความ ตีความ คาดคะเน ขยายความ
หรือ การกระทาอื่น ๆ
พฤติกรรมทางพุทธิพิสัย 6 ระดับ
สวก.สพฐ. 14
3. การนาความรู้ไปใช้ เป็นขั้นที่ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ประสบการณ์ไปใช้
ในกาแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ
จึงจะสามารถนาไปใช้ได้
4. การวิเคราะห์
ผู้เรียนสามารถคิด หรือ แยกแยะเรื่องราวสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย เป็น
องค์ประกอบที่สาคัญได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วนที่เกี่ยวข้องกัน
ความสามารถในการวิเคราะห์จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิดของแต่ละคน
พฤติกรรมทางพุทธิพิสัย 6 ระดับ
สวก.สพฐ. 15
5. การสังเคราะห์
ความสามารถในการที่ผสมผสานส่วนย่อย ๆ เข้าเป็นเรื่องราวเดียวกันอย่างมี
ระบบ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกว่าเดิม อาจเป็นการถ่ายทอด
ความคิดให้เข้าใจง่าย วางแผนวิธีการดาเนินงานขึ้นใหม่ หรือความคิดในอัน
ที่จะสร้างความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นนามธรรมในรูปแบบหรือแนวคิดใหม่
6. การประเมินค่า
เป็นความสามารถในการตัดสิน ตีราคาหรือ สรุปเกี่ยวกับคุณค่าของสิ่งต่างๆ
ออกมาในรูปของคุณธรรมอย่างมีกฎเกณฑ์ที่เหมาะสม ซึ่งอาจเป็นไปตาม
เนื้อหาสาระในเรื่องนั้น ๆ หรืออาจเป็นกฎเกณฑ์ที่สังคมยอมรับก็ได้
พฤติกรรมทางพุทธิพิสัย 6 ระดับ
Bloom’s Taxonamy Revised (2001)
• Lorin Anderson และ David
Krathwohl ได้ปรับปรุงแนวคิดการแบ่ง
ประเภทการเรียนรู้ทางปัญญา 6 ขั้น
(Cognitive Processes) และ
ออกแบบการกา หนดวัตถุประสงค์การ
เรียนรู้ (Learning Objective) ให้
พิจารณาเป็น 2 มิติ ได้แก่
• พิจารณาลักษณะของความรู้
(Knowledge Dimension) และ
• พิจารณาการเรียนรู้ทางปัญญา 6 ขั้น
(Cognitive Processes)
จิตพิสัย
17
จิตพิสัย (Affective Domain)
(พฤติกรรมด้านจิตใจ)ค่านิยม ความรู้สึก ความ
ซาบซึ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจและ
คุณธรรม พฤติกรรมด้านนี้อาจไม่เกิดขึ้นทันที
ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยจัด
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และสอดแทรกสิ่งที่ดี
งามอยู่ตลอดเวลา จะทาให้พฤติกรรมของผู้เรียน
เปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ได้
18
1. การรับรู้
เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฏการณ์หรือสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่งในลักษณะ
ของการแปลความหมายของสิ่งเร้านั้นว่าคืออะไร แล้วจะแสดงออกมาในรูปของ
ความรู้สึกที่เกิดขึ้น
2. การตอบสนอง
เป็นการกระทาที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอม และพอใจต่อ
สิ่งเร้านั้น ซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว
พฤติกรรมด้านจิตพิสัย 5 ด้าน
(David R.Krathwohl&Others,1964)
19
3. การเกิดค่านิยม
การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับนับถือในคุณค่า
นั้น ๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จนกลายเป็นความเชื่อ แล้วจึงเกิด
ทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น
4. การจัดระบบ
การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์
ถ้าเข้ากันได้ก็จะยึดถือต่อไปแต่ถ้าขัดกันอาจไม่ยอมรับอาจจะยอมรับค่านิยม
ใหม่โดยยกเลิกค่านิยมเก่า
พฤติกรรมด้านจิตพิสัย 5 ด้าน
20
5. บุคลิกภาพ
การนาค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจาตัว ให้ประพฤติ
ปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงาม จะเกี่ยวกับความรู้สึกและจิตใจ ซึ่งจะเริ่มจาก
การได้รับรู้จากสิ่งแวดล้อม แล้วจึงเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ ขยายเป็นความรู้สึก
ด้านต่าง ๆ จนกลายเป็นค่านิยม และยังพัฒนาต่อไปเป็นความคิด อุดมคติ
ซึ่งจะเป็นควบคุมทิศทางพฤติกรรมของคนคนจะรู้ดีรู้ชั่วอย่างไรนั้น ก็เป็นผล
ของพฤติกรรมด้านนี้
พฤติกรรมด้านจิตพิสัย 5 ด้าน
ลักษณะธรรมชาติของพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
1. เป็นเรื่องของอารมณ์ (feeling)
2. เป็นเรื่องเฉพาะตัว (typical)
3. มีทิศทาง (direction)
4. มีความเข้ม (intensity)
5. มีเป้าหมาย (target)
วิธีที่ใช้วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
1.การรายงานตนเอง (self-report)
2.การสังเกตพฤติกรรม (observation)
3.การสังเกตร่องรอยของพฤติกรรม (obtrusive)
4.การสัมภาษณ์ (interview)
5.เทคนิคการจินตนาการ (projective techniques)
ทักษะพิสัย
23
ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
(พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท)
พฤติกรรมที่บ่งถึงความสามารถในการ
ปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่วชานิ
ชานาญ ซึ่งแสดงออกมาได้โดยตรงโดยมี
เวลาและคุณภาพของงานเป็นตัวชี้ระดับของ
ทักษะ
พฤติกรรมทักษะพิสัย 5 ด้าน (Harrow, 1972: 96-99)
สวก.สพฐ. 24
1. การรับรู้
เป็นการให้ผู้เรียนได้รับรู้หลักการปฏิบัติที่ถูกต้องหรือเลือกหาตัวแบบที่สนใจ
2. กระทาตามแบบ หรือ เครื่องชี้แนะ
เป็นพฤติกรรมที่ผู้เรียนพยายามฝึกตามแบบที่ตนสนใจและพยายามทาซ้า
เพื่อที่จะให้เกิดทักษะตามแบบที่ตนสนใจให้ได้ หรือ สามารถปฏิบัติงานได้
ตามข้อแนะนา
3. การหาความถูกต้อง
พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องชี้แนะ เมื่อ
ได้กระทาซ้าแล้ว ก็พยายามหาความถูกต้องในการปฏิบัติ
25
4. การกระทาอย่างต่อเนื่อง
เป็นขั้นที่กระทาตามรูปแบบที่เลือกนั้นอย่างต่อเนื่อง จนปฏิบัติงานที่ยุ่งยาก
ซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องคล่องแคล่ว ผู้เรียนจะเกิดทักษะได้ต้อง
อาศัยการฝึกฝนและกระทาอย่างสม่าเสมอ
5. การกระทาได้อย่างเป็นธรรมชาติ
พฤติกรรมที่ได้จากการฝึกอย่างต่อเนื่องจนสามารถปฏิบัติ ได้คล่องแคล่ว
ว่องไวโดยอัตโนมัติ เป็นไปอย่างธรรมชาติ ซึ่งถือเป็นความสามารถของ
การปฏิบัติในระดับสูง
พฤติกรรมทักษะพิสัย 5 ด้าน (Harrow, 1972: 96-99)
พฤติกรรมทักษะพิสัย 7 ด้าน (Simpson, 1972)
26
1 การรับรู้
เป็นขั้นการให้ผู้เรียนรับรู้ในสิ่งที่จะทา โดยการให้ผู้เรียนสังเกตการทางาน
นั้นอย่างตั้งใจ
2 การเตรียมความพร้อม
เป็นขั้นการปรับตัวให้พร้อมเพื่อการทางานหรือแสดงพฤติกรรมนั้น ทั้ง
ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ โดยการปรับตัวให้พร้อมที่จะเคลื่อนไหว
หรือแสดงทักษะนั้น ๆ และมีจิตใจและสภาวะอารมณ์ที่ดีต่อการที่จะทาหรือ
แสดงทักษะนั้น ๆ
พฤติกรรมทักษะพิสัย 7 ด้าน (Simpson, 1972)
27
3 การสนองตอบภายใต้การควบคุม
เป็นขั้นที่ให้โอกาสแก่ผู้เรียนในการตอบสนองต่อสิ่งที่รับรู้ ซึ่งอาจใช้วิธีการ
ให้ผู้เรียนเลียนแบบการกระทา หรือการแสดงทักษะนั้น หรืออาจใช้วิธีการ
ให้ผู้เรียนลองผิดลองถูก จนกระทั่งสามารถตอบสนองได้อย่างถูกต้อง
4 การให้ลงมือกระทาจนกลายเป็นกลไกที่สามารถกระทาได้เอง
เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จในการปฏิบัติ และเกิดความเชื่อมั่นใน
การทาสิ่งนั้น ๆ
พฤติกรรมทักษะพิสัย 7 ด้าน (Simpson, 1972)
28
5 การกระทาอย่างชานาญ
เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการกระทานั้น ๆ จนผู้เรียนสามารถทาได้
อย่างคล่องแคล่ว ชานาญ เป็นไปโดยอัตโนมัติ และด้วยความเชื่อมั่นใน
ตนเอง
6 การปรับปรุงและประยุกต์ใช้
เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนปรับปรุงทักษะหรือการปฏิบัติของตนให้ดียิ่งขึ้น และ
ประยุกต์ใช้ทักษะที่ตนได้รับการพัฒนาในสถานการณ์ต่าง ๆ
พฤติกรรมทักษะพิสัย 7 ด้าน (Simpson, 1972)
29
7 การคิดริเริ่ม
เมื่อผู้เรียนสามารถปฏิบัติหรือกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างชานาญ และสามารถ
ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ที่หลากหลายแล้ว ผู้ปฏิบัติจะเริ่มเกิดความคิดใหม่
ๆ ในการกระทา หรือปรับการกระทานั้นให้เป็นไปตามที่ตนต้องการ
ระดับของจุดมุ่งหมายทางการศึกษา
4. จุดประสงค์การเรียนรู้ของบทเรียน/หน่วยเรียน
3. จุดประสงค์ของรายวิชา
2. จุดประสงค์ทั่วไปของวิชา/กลุ่มวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้
1. จุดหมาย/จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
5. จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (ระดับที่ใช้สอน)
การจาแนกจุดประสงค์การเรียนรู้
1. จุดประสงค์ทั่วไป
(General Objectives)
ความหมายกว้าง คลุมเครือ
ความหมายแคบ ชัดเจน
2. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
(Behavioral Objectives)
Company Logo www.themegallery.com
ระดับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2544
มาตรฐานการเรียนรู้ขั้นพื้นฐาน (แต่ละกลุ่มสาระ)
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี/รายภาค
จุดประสงค์การเรียนรู้
“เป้าหมายคุณภาพผู้เรียน”
สวก.สพฐ. 33
 วิสัยทัศน์ แสดงเจตนารมณ์ของหลักสูตร
 จุดมุ่งหมาย ขยายรายละเอียดจากวิสัยทัศน์ เพื่อให้เห็นคุณภาพผู้เรียน
 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน กาหนดความสามารถของผู้เรียน
 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กาหนดคุณภาพผู้เรียนด้านจริยธรรมและคุณธรรม
 มาตรฐานการเรียนรู้ ใช้มาตรฐานการเรียนรู้ใน 8 กลุ่มสาระ
 ตัวชี้วัดผลการเรียนรู้ กาหนดเป็นช่วงชั้นและชั้นปี
 จุดประสงค์การเรียนรู้ กาหนดเพื่อออกแบบการสอน
ระดับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อที่มีในท้องถิ่น
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม นักเรียนสามารถ……….
1. อธิบายความหมายของโรคติดต่อได้
2. บอกชื่อโรคติดต่อที่มีในท้องถิ่นได้
3. บอกอาการของผู้ที่เป็นโรคติดต่อแต่ละโรคได้
4. บอกสาเหตุและวิธีป้องกันโรคแต่ละโรคได้
5. เสนอแนะวิธีป้องกันไม่ให้เกิดโรคติดต่อในท้องถิ่นได้
6. บอกผลเสียที่เกิดจากการมีโรคติดต่อในท้องถิ่นได้
ลักษณะเฉพาะของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
มีส่วนประกอบที่สาคัญ 3 ส่วนคือ
1. พฤติกรรมที่คาดหวัง (expected behavior)
2. สถานการณ์ (situation) หรือเงื่อนไข (condition)
3. เกณฑ์ (criterion) มี 3 แบบ คือ
-เกณฑ์เชิงปริมาณ เช่น ระบุเป็นร้อยละ จานวน
-เกณฑ์เชิงคุณภาพ เช่น ระบุเป็นระดับดี ดีมาก
-เกณฑ์ที่กาหนดเป็นเวลา เช่น ระบุเวลาที่ต้องทาให้สาเร็จ
QiuZ6
ตัวอย่างจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เมื่อกาหนดชื่อสัตว์ต่าง ๆ ให้ 10 ชื่อ นักเรียนจาแนกชื่อสัตว์
เลื้อยคลานได้ถูกต้องทั้ง 3 ชื่อ
2. เมื่อกาหนดชื่อสัตว์ต่าง ๆ ให้ 10 ชื่อ นักเรียนจาแนกชื่อสัตว์ตาม
ประเภทได้ถูกต้องทุกชื่อ
3. เมื่อครูกาหนดโจทย์ปัญหาการหารเลขไม่ลงตัวให้นักเรียนหาผลหาร
ได้ถูกต้องถึงทศนิยม 6 ตาแหน่ง
4. เมื่อกาหนดชื่อโรคติดต่อในท้องถิ่นให้ 2 โรค นักเรียนบอกสาเหตุ
และวิธีป้องกันโรคได้อย่างถูกต้อง
ตัวอย่างจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
5. เมื่อกาหนดชื่อเพลงไทยให้เลือกร้องคนละ 2 เพลง นักเรียนร้อง
เพลงได้ถูกต้องตามทานองและจังหวะ
6. เมื่อกาหนดบทร้อยกรองประเภทกลอนสี่ให้ นักเรียนอ่านเป็น
ทานองเสนาะได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และข้อบังคับการประพันธ์
7. เมื่อเตรียมวัสดุที่จาเป็นให้นักเรียนประดิษฐ์หุ่นตุ๊กตาสัตว์ได้เสร็จ
เรียบร้อยในเวลา 40 นาที
8. นักเรียนหาคาที่กาหนดให้ได้ จากประมวลคาหรือพจนานุกรมที่ครู
เตรียมไว้ได้ ในเวลาที่กาหนด
ข้อจากัดของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. ทาให้ผลของการศึกษาอื่น ๆ ที่ไม่อาจวัดออกมาเป็นพฤติกรรมได้
แต่มีความสาคัญมากถูกละเลย
2. การเปลี่ยนแปลงเจตคติด้านความคิด ความรู้สึกและจิตใจ ซึ่งไม่
อาจแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมอย่างทันทีทันใด
3. บางวิชาไม่สามารถนาหลักเกณฑ์ของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมไป
ใช้ได้ เช่น วิชาศิลปะ ดนตรี
4. เน้นให้เกิดผลเฉพาะสิ่งที่กาหนดให้เท่านั้น แต่สิ่งอื่น ๆ ที่ไม่ได้
กาหนดไว้จะถูกละเลย ในการสอนแต่ละครั้ง
ประเภทของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เป็นจุดประสงค์ที่ระบุพฤติกรรม
การเรียนรู้ทุกอย่างของผู้เรียน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
2. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
คากริยาที่ใช้ในการเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ระดับ คากริยาที่ชี้บ่งการกระทา
ความรู้-ความจา บอก เล่า บรรยาย ชี้บ่ง ระบุ ให้นิยาม แยกประเภท
เรียกชื่อ จับคู่ ฯลฯ
ความเข้าใจ อธิบาย แปล เปลี่ยนรูป คาดหมาย ทานาย ขยายความ
ตีความหมาย ยกตัวอย่าง (ใหม่) สรุป เรียบเรียงใหม่ ฯลฯ
การนาหลักวิชาไป
ประยุกต์ใช้
แก้ปัญหาใหม่ หาสิ่งทดแทน ปรับปรุง ดัดแปลงแก้ไข สาธิต
ผลิต สร้าง เลือกใช้ คานวณหา เตรียม จัดการ ฯลฯ
พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ระดับ คากริยาที่ชี้บ่งการกระทา
การวิเคราะห์ จาแนก แยกย่อย จัดประเภท หาส่วนประกอบหาหลักการร่วม
หาความสัมพันธ์ หาส่วนสาคัญ (บอก) หาสาเหตุ บอกความ
คล้ายคลึง บอกความแตกต่าง ฯลฯ
การสังเคราะห์ แต่ง เขียน สร้าง ประดิษฐ์ ออกแบบ ปรับปรุง วางแผน
วางโครงการ ตรวจสอบ พิสูจน์ แสดงเหตุผล เสนอแนะวิธี
ใหม่ ฯลฯ
การประเมิน สรุปผล ตัดสิน ลงความเห็น ให้เหตุผล สนับสนุน หรือโต้แย้ง
(วิจารณ์) จัดลาดับ (ตามคุณค่า/ความสาคัญ) ฯลฯ
ตัวอย่างของจุดประสงค์ด้านพุทธิพิสัย
1. บอกความหมายของคาต่าง ๆ ในเนื้อเรื่องได้ถูกต้อง
2. บอกขั้นตอนของการตอนกิ่งไม้ได้
3. บอกหลักการบวกลบเศษส่วนแท้
4. แปลความหมายของกลุ่มคาที่เป็นสานวนภาษาไทยได้
5. คาดหมายผลเสียที่เกิดจากการทาลายป่าไม้ได้
6. แก้ไขคาที่ผิดในประโยคข้อความให้ถูกต้องได้
7. ดัดแปลงสูตรอาหารคาวแบบใหม่ที่น่ารับประทานได้
ยินดีให้ความร่วมมือ ยอมรับ คัดค้าน ปฏิบัติงาน
มีส่วนร่วม อาสาสมัคร เชื้อเชิญ ช่วยเหลือ พยายาม
ยกย่อง ตัดสินใจ เอาใจใส่ เสียสละ รับผิดชอบ ฯลฯ
พฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ตัวอย่างของจุดประสงค์ด้านจิตพิสัย
1. ให้ความร่วมมือในการบารุงรักษาและคุ้มครองไม่ให้พืชสูญพันธุ์
2. ช่วยเหลือเพื่อนในขณะรับประทานอาหารได้
3. หลีกเลี่ยงและควบคุมตนเองให้พ้นจากการเสพสิ่งเสพติด เมื่อรับการ
ยั่วยุได้
4. ประพฤติตนเป็นคนดีตามหลักธรรมของพุทธศาสนาได้
5. เอาใจใส่ดูแลสัตว์ที่เลี้ยงให้เจริญเติบโตได้
สร้าง ประดิษฐ์ ผสม ผนึก เย็บ ปะ แต่ง ซ่อมแซม ห่อ
เลื่อย ทา เล่น ใช้เครื่องมือ แสดงท่าทาง รา ร้อง
เลียนแบบ ออกเสียง วาดภาพ ฯลฯ
พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
ตัวอย่างของจุดประสงค์ด้านทักษะพิสัย
1. ประดิษฐ์กล่องใส่ยาสีฟันและแปรงสีฟันได้
2. ทาน้าผลไม้อย่างง่าย ๆ ได้
3. ร้องเพลงอาหารหลัก 5 หมู่ พร้อมทั้งปรบมือเข้าจังหวะได้
4. อ่านทานองเสนาะของบทร้อยกรองที่กาหนดให้ได้
5. เย็บตะเข็บและปะผ้าที่ขาดได้
กิจกรรมการนาตัวชี้วัดผลการเรียนรู้ลงสู่การปฏิบัติ
• แบ่งกลุ่มนาตัวชี้วัดผลการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ที่ได้มอบหมายไป
ศึกษา http://www.thaischool.in.th/course_2551.php
• เขียนจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงพฤติกรรมให้ครอบคลุมทั้ง 3
พฤติกรรมทั้งพุทธิพิสัย จิตพิสัยและทักษะพิสัย
• นาเสนอ ร่วมกันวิพากษ์ ปรับปรุงแก้ไข
สวก.สพฐ. 48
ตัวอย่างข้อสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ตัวอย่างคาถาม
ข้อความ
“เมื่ออาศัยร่มไม้ใดควรหมั่นรดน้าพรวน
ดินให้ต้นไม้นั้น”
คาถามระดับ 1.00 ความรู้ ‟ ความจา
ร่มไม้คืออะไร ?
• ใบของต้นไม้
• เงาของต้นไม้
• รากของต้นไม้
• ลาต้นของต้นไม้
คาถามระดับ 2.00 ความเข้าใจ
ข้อความนี้กล่าวถึงสิ่งใด ?
„ ความกตัญญู
„ ความพากเพียร
„ ความมานะพยายาม
„ ความขยันหมั่นเพียร
คาถามระดับ 3.00 การนาไปใช้
ข้อความนี้ควรใช้ในสถานการณ์ใดจึงจะเหมาะสมที่สุด ?
„ แม่สอนลูก
„ พี่ชักชวนน้อง
„ ตารวจอบรมผู้ร้าย
„ นายจ้างสอนลูกจ้าง
คาถามระดับ 4.00 การวิเคราะห์
ข้อความนี้กล่าวเพื่อจุดประสงค์ใด ?
„ ตาหนิ
„ สั่งสอน
„ เตือนสติ
„ ให้กาลังใจ
ถ้าจะฝึกคนให้มีลักษณะนิสัยตามข้อความนี้
ต้องวางรากฐานในด้านใด ?
• การมีความอดทน
• การไม่รังเกียจงาน
• การมองโลกในแง่ดี
• การทาตัวให้มีประโยชน์
คาถามระดับ 5.00 การสังเคราะห์
ผู้ที่ยึดข้อความนี้เป็นแนวปฏิบัติตนที่เชื่อได้ว่าเป็นคนดี
เพราะอะไร ?
• เป็นคนไม่เย่อหยิ่ง
• เป็นคนไม่เห็นแก่ได้
• เป็นคนไม่แล้งน้าใจ
• เป็นคนไม่หลงตัวเอง
คาถามระดับ 6.00 ประเมินค่า

More Related Content

What's hot

7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
kroofon fon
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
มารินทร์ จานแก้ว
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ssuser66968f
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศthnaporn999
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
นวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
นวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
นวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ssuser66968f
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
Jariya
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
krunueng1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
พงศธร ภักดี
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Pinutchaya Nakchumroon
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 

What's hot (20)

7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
นวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
นวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
นวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 

Viewers also liked

คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้สุเทพ สอนนิล
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
TupPee Zhouyongfang
 
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51krupornpana55
 
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรมการประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
Prachyanun Nilsook
 
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
NU
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลมะม่วงกระล่อน จริงๆ
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้kruteerapol
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
NU
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
TupPee Zhouyongfang
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
Kittipun Udomseth
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้Thotsaphon M'Max
 
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคนหน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคนnongklongdondaeng school khonkaen 3
 
STEM Education
STEM Education STEM Education
STEM Education
Wachira Srikoom
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาการสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
NU
 

Viewers also liked (20)

การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
 
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรมการประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
 
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคนหน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
 
STEM Education
STEM Education STEM Education
STEM Education
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาการสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
 

Similar to ๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
Kobwit Piriyawat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Pitsiri Lumphaopun
 
Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602
Pattie Pattie
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
Chirinee Deeraksa
 
Proteach moph 620123
Proteach moph 620123Proteach moph 620123
Proteach moph 620123
Pattie Pattie
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
Tsheej Thoj
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationtadpinijsawitree
 

Similar to ๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา (20)

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602
 
การเรียนรู้
การเรียนรู้การเรียนรู้
การเรียนรู้
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
Proteach moph 620123
Proteach moph 620123Proteach moph 620123
Proteach moph 620123
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluation
 

More from NU

การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
NU
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
NU
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนNU
 
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
NU
 
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
NU
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
NU
 
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
NU
 
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียนการวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
NU
 
มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
NU
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
NU
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมNU
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลNU
 
มาตการวัดตัวแปร
มาตการวัดตัวแปรมาตการวัดตัวแปร
มาตการวัดตัวแปร
NU
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
NU
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
NU
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
NU
 

More from NU (19)

การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
 
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
 
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
 
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียนการวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
 
มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
 
มาตการวัดตัวแปร
มาตการวัดตัวแปรมาตการวัดตัวแปร
มาตการวัดตัวแปร
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 

๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา