SlideShare a Scribd company logo
1 of 95
กลยุทธการสอนของครูมืออาชีพ
วิจารณ์ พานิช
บรรยายในการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาสมรรถนะอาจารย์ด้านการจัดการเรียนการสอน สถาบันพระบรมราชชนก ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ วันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๒
ข้อจำกัด
• ไม่เคยเรียนในสาขาการศึกษา ไม่ใช่ “ผู้รู้”
• เรียนรู้จากการอ่าน และสังเกต และไต่ถาม
• ไม่ได้ปฏิบัติในหัวข้อที่พูด
• ไม่รู้จริง ไม่รู้ลึก
• พึงฟังอย่างมีวิจารณญาณ ปฏิบัติตามกาลามสูตร
ประเด็นนำเสนอ
• การประเมินผล
• การพัฒนาครู (CPD)
• สรุป
• ศตวรรษที่ ๒๑
• ผลลัพธ์การเรียนรู้
• กลไกการเรียนรู้
• การสอน กับการเรียนรู้
ลักษณะของ (คริสต) ศตวรรษที่ ๒๑
VUCA
• Volatile
• Uncertain
• Complex
• Ambiguous
Era of Disruptive Changes
or
Extinct
http://www.bbc.com/future/story/20170331-50-grand-challenges-for-the-21st-century
BBC FutureNow
17 Great Challenges of the 21st Century
• Conquering Disease
• Expanding Human Potential
• The Singularity
• Confronting Existential Risk
• Exploring Transhumanism
• Planning an Advanced Civilization
• Modeling the Planet’s Systems
• Bridging the Skill and Wisdom Gap
• Saving the Earth
• Reversing Poverty
• Steadying Population Growth
• Achieving Sustainable Lifestyles
• Preventing All-Out War
• Dealing Effectively with Globalism
• Protecting the Biosphere
• Defusing Terrorism
• Cultivating Creativity
http://www.elon.edu/docs/e-web/predictions/17_Great_Challenges.pdf
https://sustainabledevelopment.un.org/?menu=1300
ชีวิตที่ดีของมนุษย์ในศตวรรษที่ ๒๑
• อยู่ได้ในโลก/สังคม VUCA (Volatile, Uncertain, Complex,
Ambiguous)
• สังคมที่เปลี่ยนแปลงเร็ว พลิกผัน
• ต้องเปลี่ยนแปลงตัวเองเป็น เรียนรู้เป็น : Learn, Unlearn, Relearn
• ต้องเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Change Agent)
ประเด็นนำเสนอ
• การประเมินผล
• การพัฒนาครู (CPD)
• สรุป
• ศตวรรษที่ ๒๑
• ผลลัพธ์การเรียนรู้
• กลไกการเรียนรู้
• การสอน กับการเรียนรู้
http://www3.weforum.org/docs/WEFUSA_NewVisionforEducation_Report2015.pdf
WEF
Professional
Skills
มี “ปัจจัยสี่” เพื่อชีวิตในสำมโลก
• ใช้ความรู้เป็น (Literacy) : อ่านออกเขียนได้, คิดเลขเป็น,
รู้ธรรมชาติ, รู้ ICT, รู้การเงิน, รู้วัฒนธรรมและความเป็นพลเมือง,
รู้เรื่องสุขภาพ
• มีสมรรถนะ (Competency) : วิจารณญาณ, สร้างสรรค์,
สื่อสาร, ร่วมมือ
• มีบุคลิก/คุณลักษณะ (Character) : ใคร่รู้ ริเริ่ม มานะ
อดทน ปรับตัว ภาวะผู้นา สังคมวัฒนธรรม เห็นแก่ส่วนรวม
• เรียนรู้ตลอดชีวิต (Learning Skils / Affinity)
โลกประจาวัน
โลกซับซ้อน
โลกเปลี่ยนแปลง
รู้
เข้าใจ
นาไปใช้
วิเคราะห์
สังเคราะห์
ประเมิน/เปรียบเทียบ
เปลี่ยนวิธีเรียนรู้
เปลี่ยนกระบวนทัศน์/ตัวตนTransformative Learning
ผลกำรเรียนรู้ ๘ ระดับ
Modified Bloom’s Taxonomy of Learning
สมรรถนะ
อารมณ์
อิสระ -
เกื้อกูลกัน
มนุษยสัมพันธ์
อัตลักษณ์
เป้าหมาย
ชีวิต
มั่นคง
คุณธรรม
พัฒนำตัวตน ๗ ด้ำน ของ Chickering
บันได ๖ ขั้นของการพัฒนาคุณธรรม
• ขั้นที่ ๑ ปฏิบัติเพราะความกลัว ไม่อยากเดือดร้อน
• ขั้นที่ ๒ ปฏิบัติเพราะอยากได้รางวัล
• ขั้นที่ ๓ ปฏิบัติเพราะอยากเอาใจคนบางคน
• ขั้นที่ ๔ ปฏิบัติเพราะต้องปฏิบัติตามกฎ
• ขั้นที่ ๕ ปฏิบัติเพราะต้องการให้ตนดูดี ให้ได้ชื่อว่าเป็นคนดี ให้ได้ชื่อว่ามีน้าใจ
• ขั้นที่ ๖ ปฏิบัติตามหลักการ หรืออุดมการณ์ของตน ไม่ต้องการให้มีคนยกย่องชมเชยหรือให้รางวัล
Lawrence Kohlberg's stages of moral development
ลักษณะนิสัย - Executive Function (EF)
ความมุมานะ (เชื่อพรแสวง - Growth Mindset) ความใฝ่รู้
อดทนรอเพื่อสิ่งที่ดีกว่า การควบคุมตนเอง มีวินัย
ในตนเอง สานึกผิดชอบชั่วดี ความรับผิดชอบ
ความมั่นคงทางอารมณ์ ความมั่นใจในตนเอง (self-
esteem) ความขยันหมั่นเพียร ความกระตือรือร้น
เห็นอกเห็นใจผู้อื่น (empathy)
Non-cognitive Development
Characters
สาคัญต่อความสาเร็จในชีวิตยิ่งกว่าความรู้
http://developingchild.harvard.edu/science/key-concepts/executive-function/
สร้ำงควำมเชื่อในพรแสวง (Growth
Mindset)
ชมความมานะพยายาม
ไม่ชมความเก่ง (Fixed Mindset)
ให้คะแนนความก้าวหน้า
ความมานะพยายาม
เก่งไม่พอ ต้องปรับปรุงตัวเองเป็น
Growth Mindset
https://www.gotoknow.org/posts/645908
ครูและพ่อแม่ต้องเข้าใจ เพื่อไม่บั่นทอนศักยภาพเด็กด้วยความรัก
GRIT
ความมุมานะต่อเนื่องเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ในระยะยาว
• Passion
• Perseverance
https://www.gotoknow.org/posts/613528
PEAK
Absolute Pitch
Innate
Cultivated
ปลูกฝังได้อย่ำงไร?
Critical Reflection
Compassion Meditation เมตตาภาวนา
เป็นหน้าที่ของพ่อแม่และการศึกษา ในการปลูกฝัง
คุณสมบัติความรักและความเห็นแก่ผู้อื่น
emotional balance
resilience
insight
empathy
ปลูกฝัง “จิตบวก”
https://www.gotoknow.org/posts/tags/the yes brain
เรียนให้บรรลุ
• Transformative Learning
Informative -> Formative -> Transformative
Leadership / Change Agent
• Mastery Learning
• Learning Skills
Learn, Unlearn, Relearn
• มนุษย์ระดับ ๖
Moral Develoment of Lawrence Kohlberg
เป้าหมายการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑
•เรียนให้ได้(ความรู้และ) ทักษะ และ อุปนิสัย เพื่อชีวิตที่
เปลี่ยนแปลง เรียนให้รู้จริง (mastery learning) เป็นฐานที่มั่นคงใน
การต่อยอด เรียนเพื่ออนาคตของตนเอง ไม่ใช่เรียนเพื่อสอบ
•เรียนโดยลงมือทา และคิด ทั้งในห้องเรียน และในสภาพจริง
•ครูไม่สอนความรู้สาเร็จรูป ทาหน้าที่ออกแบบโจทย์(ปฏิบัติ) ตั้ง
คาถาม เอื้ออานวย (facilitate) หรือโค้ช ประเมิน (formative
assessment) และให้คาแนะนาป้อนกลับ (feedback)
•สอนน้อย เรียนรู้มาก (Teach less, Learn more)
•นักเรียนทุกคนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้
เป้ำหมำย (๒)
ไม่ใช่แค่รู้วิชา แต่เพื่อพัฒนาการหลายด้านไปพร้อมๆ
กัน
• สมรรถนะ (competence)
• จัดการอารมณ์ (emotion management)
• เป็นตัวของตัวเอง และร่วมกับผู้อื่น (autonomy & interdependence)
• ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น (interpersonal relationship)
• อัตลักษณ์ (identity)
• พัฒนาเป้าหมายในชีวิต (purpose)
• มั่นคงในคุณธรรม (integity) Chickering’s Seven Vectors of
Identity Development
เป้ำหมำย (๓)
• ศิษย์ทั้งชั้นบรรลุสภาพ “รู้จริง” (Mastery Learning) ไม่ใช่เพพาะเด็กเรียนเก่ง
• เรียนวิธีเรียน (Metacognition) เพื่อเรียนรู้ตลอดชีวิต
• เรียนให้บรรลุ Transformative Learning เรียนรู้สู่การ
เปลี่ยนแปลง งอกงามความเป็น “ผู้นาการเปลี่ยนแปลง”
(Change Agent)
เป้ำหมำย (๓)
• ศิษย์ทั้งชั้นบรรลุสภาพ “รู้จริง” (Mastery Learning) ไม่ใช่เพพาะเด็กเรียนเก่ง
• เรียนวิธีเรียน (Metacognition) เพื่อเรียนรู้ตลอดชีวิต
• เรียนให้บรรลุ Transformative Learning เรียนรู้สู่การ
เปลี่ยนแปลง งอกงามความเป็น “ผู้นาการเปลี่ยนแปลง”
(Change Agent)
เป้ำหมำยผลลัพธ์กำรเรียนรู้
•คิดตามแบบแผน
•มีความรู้ตามที่รับถ่ายทอด
•รู้วิชา สอบได้คะแนนดี
ตามหลักสูตร
•Informative learning
• มีความคิดของตนเอง
• มีความรู้ตามที่ตนปฏิบัติ
และสะท้อนคิด
• มีทักษะแห่งศตวรรษที่
๒๑
• Transformative learning
20 21ศตวรรษที่
กำรเรียนรู้ที่แท้ จึง
• เรียนจากชีวิตจริง การทางานจริง ดีที่สุด
• เป็นการเรียนจากการปฏิบัติ ไม่มีขอบเขตวิชา
• ตามด้วย reflection / AAR เพื่อนาข้อมูลจากการปฏิบัติ มา
ตรวจสอบกับทฤษฎี / สาขาวิชา มองหลายมุม จากต่างทฤษฎี ต่างสาขาวิชา
• เพื่อให้การเรียนรู้ลึกและเชื่อมโยง
• เตรียมพร้อม transfer ไปใช้ในบริบทอื่น
ประเด็นนำเสนอ
• การประเมินผล
• การพัฒนาครู (CPD)
• สรุป
• ศตวรรษที่ ๒๑
• ผลลัพธ์การเรียนรู้
• กลไกการเรียนรู้
• การสอน กับการเรียนรู้
การเรียนรู้
•การเรียนรู้เป็นผลของการกระทาและการคิดของ
นักเรียน
•เกิดจากการกระทาและการคิดของนักเรียนเอง
เท่านั้น
•ครูช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้ได้โดยเข้าไปจัดการ
สิ่งที่นักเรียนทา (ปฏิบัติ และคิด) เพื่อการเรียนรู้
Herbert A. Simon
https://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/5462
การเรียนรู้ไม่ได้เกิดจากการถ่ายทอดความรู้สาเร็จรูป
ค. สาเร็จรูป
ถ่ายทอดแบบกลไก
งอกงามขึ้นเอง
ภายในตน
จากการทาและคิด
ของตน
หลัก Cognitive Science
ถามคือสอน สะท้อนคิด (reflect) คือเรียนรู้
เหตุการณ์ ความจาใช้งาน
ความจาระยะยาว
ตระหนักรู้ และคิด
รู้ข้อเท็จจริงและกระบวนการ
เรียนรู้ จา
สังเกต เก็บข้อมูล
ลืม
Ref.: Daniel T. Willingham. Why Don’t Students Like School?, 2009
Working
Memory
Longterm
Memory
Adult Learning
Observation &
Reflection
Forming Abstract
Concepts
Testing in New
Situations
Concrete
Experience
1
2
3
4
Student Learning = AL + Scaffolding
Constructionism นิรนัย
อุปนัย
กำรเรียนรู้
• เป็น journey (การเดินทาง) มากกว่าเป็น destination (เป้าหมาย)
• เป็นวงจร ไม่ใช่เส้นตรง
• เป็นพลวัต ไม่ใช่หยุดนิ่ง มี 3 phase (learn, unlearn, relearn)
• เป็นทั้งกิจกรรมทางสังคม (socialization) และ กิจกรรมส่วนตัว (personal)
• เป็นกิจกรรมตลอดชีวิต ไม่ใช่เฉพาะตอนเข้าเรียน
• เป็นกระบวนการเชื่อมโยงใยประสาท ในสมอง
๓ ระดับของกำรเรียนรู้
• Informative
• Formative
• Transformative
- เปลี่ยนแปลงระดับรากฐาน (transform)
- บ่มเพาะภาวะผู้นา สู่ change agent
- เชื่อมโยงความรู้ใหม่ เข้ากับความรู้เดิม ขยายความรู้
หรือ ได้ความรู้/competency ที่ต่างจากเดิม (transform)
- เปลี่ยน neuronal network ในสมอง
น้าใจ
ทักษะ
ปัญญา
เรียนโดยการปฏิบัติ สร้างใส่ตน
ไม่ใช่เรียนโดยรับถ่ายทอด เพื่อให้เกิดทักษะภาวะผู้นา
น้าใจ
ทักษะ
ปัญญา
เรียนโดยการปฏิบัติ สร้างใส่ตน
เรียนเป็นทีม เพื่อให้เกิดทักษะความร่วมมือ
ปฏิบัติแล้วคิด
• ใคร่ครวญสะท้อนคิด (reflection)
• ใคร่ครวญสะท้อนคิดอย่างจริงจัง (critical reflection) โยนิโส
มนสิการ
• ใคร่ครวญสะท้อนคิดร่วมกัน (group/collective reflection)
• ฟังข้อคิดเห็นที่ต่าง เพื่อเข้าใจความซับซ้อน (complexity)
ฝึกปฏิบัติสิ่งยาก
• ได้เผชิญสภาพที่ยากลาบาก เกิดความท้อ ยุ่งยากใจ
• ได้รับ scaffolding / coaching จาก อจ. ให้ไม่ถอย สู้สิ่งยาก
• ได้ประสบการณ์ คิด & ฟันฝ่า
• ฟันฝ่าร่วมกัน
• อดทน มานะพยายาม สู้จนสาเร็จ
ไม่สำมำรถบรรลุได้
โดยกำรถ่ำยทอด
ควำมรู้สำเร็จรูป
กำรพัฒนำคนทั้งคน
เพื่อสร้ำงพลเมืองแห่งศตวรรษที่ ๒๑
ประเด็นนำเสนอ
• การประเมินผล
• การพัฒนาครู (CPD)
• สรุป
• ศตวรรษที่ ๒๑
• ผลลัพธ์การเรียนรู้
• กลไกการเรียนรู้
• การสอน กับการเรียนรู้
วิถีกำรเรียนรู้ใหม่
•เรียนโดยลงมือทา เพื่อให้เกิดทักษะ (Learning by Doing)
•สุดยอดทักษะ ๔ ประการ (๓ร ๑ว) : แรงบันดาลใจ/ไฟ
(Inspiration Skills) เรียนรู้ (Learning Skills) ร่วมมือ
(Collaboration Skills) วินัย (ในตน) (Self-Discipline Skills)
•เรียนโดยการลงมือทาเป็นทีม แล้วร่วมกันไตร่ตรองสะท้อนคิด
(Reflection) ว่าได้เรียนรู้อะไร ต้องการเรียนอะไรต่อ/เพิ่ม
ไม่เน้นสอนให้ครบตามหลักสูตร
• หลักสูตรมาตรฐานมักเน้นความ
ครอบคลุมระบุเนื้อหามากเกินไป
• ครูต้องร่วมกันกาหนดสาระส่วนที่
จาเป็นต้องสอน(สาหรับนักเรียนกลุ่มนั้น)
เพื่อให้นร. เรียนรู้พัฒนา ๔ ด้าน
• แล้วกาหนด สเกลความเข้าใจ สาหรับ
ใช้สื่อสารเป้าหมายการเรียนรู้แก่ นร.
https://www.gotoknow.org/posts/tags/ศาสตร์และศิลป์ของการสอน
สอนแบบโฟกัสเป้ำหมำย
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ของครู
• ทักษะ facilitator / coach ไม่ใช่สอนเน้นบรรยาย
• ทักษะการออกแบบ
• ทักษะการสร้างแรงบันดาลใจ
• ทักษะ OELE
• ทักษะ student engagement
• ทักษะการตั้งคาถาม เพื่อหนุนการเรียนรู้ของ นศ.
เป็น scaffolding, คาถามใน reflection
• ทักษะการประเมิน และให้ constructive feedback
https://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/16032
เน้นให้ครู และ นักเรียน รู้เป้ำชัด
สอนแบบโฟกัสเป้ำหมำย
ด้วยเครื่องมือ
สเกลความเข้าใจ
Proficiency Scale
https://www.gotoknow.org/posts/643523
ตีควำม OLE เสียใหม่
Objective 
Evaluation 
Learning Experience 
Evaluation
ตีควำม OLE เสียใหม่
Objective 
Evaluation 
Learning Experience 
Evaluation
มีขั้นตอนดาเนินการเพื่อให้นร. เป็นเจ้าของกระบวนการ OELE
ศาสตร์และศิลป์ ของการสอน (๑)
• เตรียมเป้าหมายและสื่อสารการเรียนรู้ที่คมชัด
• ใช้การประเมิน
• กากับเนื้อหาของบทเรียน
• สร้างการปฏิบัติและทาความเข้าใจบทเรียนอย่างลึกซึ้ง
• สร้างบทเรียนประยุกต์ใช้ความรู้
• สร้างการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง
ศาสตร์และศิลป์ ของการสอน (๒)
• ใช้ยุทธศาสตร์ทาให้นักเรียนเอาใจใส่การเรียน
• ใช้กติกาและข้อพึงปฏิบัติ
• สร้างความสัมพันธ์
• สื่อสารความคาดหวังสูง
• สร้างการเปลี่ยนแปลงในระบบ
5 คำถำมหลักในกำรออกแบบกำรเรียนรู้
• ต้องกำรให้ นร. ได้ทักษะ และ ค. ที่จำเป็นอะไรบ้ำง (ตรวจสอบเอกสำรหลักสูตร
หนังสือทักษะแห่งอนำคตใหม่ ฯลฯ)่่
• จัดกำรเรียนรู้อย่ำงไรให้ได้ทักษะเหล่ำนั้น
• รู้ได้อย่ำงไรว่ำได้
• ทำอย่ำงไร กับ นร. บำงคนที่ไม่ได้
• ทำอย่ำงไรกับ นร.บำงคนที่เรียนเก่งก้ำวหน้ำไปแล้ว
•Prior Knowledge
•K Organization
•Motivation
•Develop Mastery
•Practice & Feedback
•Student Development
& Climate
•Self-directed Learner
http://www.scbfoundation.com/news_publish_detail.php?cat_id=6&nid=880
ควำมรู้เดิม (prior knowledge)
• คนเราเรียนรู้โดยใช้ความรู้เดิมจับความรู้ใหม่
• ครูทาหน้าที่ปลุกความรู้เดิมของนักเรียน เอามาจับความรู้ใหม่
• ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียน
• ครูมีวิธี จัดการความรู้เดิมของศิษย์
- กรณีความรู้เดิมไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม
- กรณีความรู้เดิมไม่เพียงพอ
กำรจัดระเบียบควำมรู้ (knowledge organization)
• เป็นการจัดเครือข่ายใยสมองให้เชื่อมโยงกว้างขวางหนาแน่น
• มือใหม่เครือข่ายเบาบาง
• ครูให้ศิษย์ฝึกทา concept map
• ฝึกทา task analysis
• ครูบอกโครงสร้างภาพใหญ่ของรายวิชา และแต่ละคาบ
• มีตัวอย่างการจัดระเบียบความรู้หลายแบบ
แรงจูงใจให้อยำกเรียน (motivation)
• นร. เห็นคุณค่า
• เชื่อมั่นว่าบรรลุได้
• สภาพแวดล้อมเอื้อ
• ท่าที่สนใจกระตือรือร้นของครู
แรงจูงใจให้อยำกเรียน (motivation)
High Expectation + High Support
เรียนแล้วรู้จริง (mastery learning)
• ฝึกประยุกต์ใช้ความรู้
• ตามด้วยการใคร่ครวญสะท้อนคิด (reflection) ตอบ
คาถาม what, how, why สะท้อนคิดคนเดียว เขียน
reflective journal
• สะท้อนคิดเป็นกลุ่ม
ฝึกปฏิบัติ
สมรรถนะ
ที่เห็น
ป้อนกลั
บมุ่งเป้า
เป้าหมาย
ให้ฝึกปฏิบัติ (practice) ตำมด้วย ให้คำแนะนำป้อนกลับ
(feedback)
พัฒนำกำรของ นร. และ บรรยำกำศในชั้นเรียน
• พัฒนาการองค์รวม
• บรรยากาศเปิดกว้าง ไม่เน้นถูก-ผิด
• ปฏิสัมพันธ์ที่ดี
• จัดให้มีการสะท้อนกลับ (feedback)
บรรยากาศการเรียน
• ส่งเสริม active listening
นร. เป็นผู้กำกับกำรเรียนรู้ของตนเอง
• ทักษะประเมินชิ้นงาน
• ทักษะประเมินความสามารถของตนเองต่อ
งานนั้น
• ทักษะวางแผนทางาน
• ทักษะประเมินความก้าวหน้า
• ทักษะปรับปรุงยุทธศาสตร์การทางาน
Metacognition
skills
ห้องเรียนกลับทาง
•Flip the Classroom กลับทาง
ห้องเรียน
•เรียนวิชาที่บ้าน ทา “การบ้าน”
ที่ห้องเรียน
•ครูเครื่องสอนวิชา ครูคนสอน
คน/ปัญญา
•ใช้ห้องเรียนเพื่อการเรียนแบบรู้
จริง (Mastery Learning)
http://www.scbfoundation.com/projects/wcms/docs/uploads/doc_13727357101058185889.pdf
Activity-Based Learning
• เรียนจากการทากิจกรรม
• เรียนเป็นทีม
• ตามด้วย critical reflection คนเดียว โดยเขียน reflective
journal ส่วนตัว หรือแชร์ใน social media ของกลุ่ม
• และ collective reflection เพื่อฟังการตีความของเพื่อน
• ครูตั้งคาถาม เพื่อตีความทฤษฎีจากประสบการณ์จากการ
ทางาน และเพื่อตรวจสอบการบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้
Inquiry-Based Learning
• เริ่มที่ความสงสัย อยากรู้ ของ นร.
• ตามด้วย Activity-Based Learning
• AAR / Reflection ว่าบรรลุเป้าแค่ไหน มีเป้าอะไรอีก (เป้าของ
นศ. Scaffolding โดย อจ.)
Service Learning
• เรียนโดยทากิจกรรมรับใช้ผู้อื่น
• ได้ASK (Attitude, Skills, Knowledge) ตามที่กาหนดในเป้าหมาย
การเรียนรู้
• และได้พัฒนาจิตสาธารณะ จิตใจที่มุ่งทาเพื่อผู้อื่น เพื่อส่วนรวม
https://www.gotoknow.org/posts/136804
บุริม โอทกานนท์
https://www.gotoknow.org/posts/543466 ผศ. ดร. ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
ครูทาอะไรให้แก่ศิษย์
• Inspirer กระตุ้นแรงบันดาลใจ
• Designer ออกแบบกิจกรรม และ “นั่งร้าน” (Scaffold)
• Facilitator โดยตั้งคาถาม ชวนคิด
• Assessor (Formative Assessment) ประเมินเพื่อพัฒนา
• Constructive Feedback ให้คิดไปข้างหน้า มุมานะ GrowthMindset
• Summative Evaluation ยืนยันว่าบรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งเป้าหมายไว้
ครูในศตวรรษที่ ๒๑ มีคุณค่ามากกว่าครูในศตวรรษที่ ๒๐
•สอน สั่งสอน
• ถ่ายทอดความรู้
• รู้ผิวเผิน
• สอนวิชา
• รู้วิชา
• ผู้รู้
• รอบรู้วิชา
• ฝึก/โค้ช/อานวย
• อานวยการสร้าง
• รู้จริง (mastery)
• พัฒนาครบด้าน
• มีทักษะ
• ผู้เรียนรู้ (PLC)
• กากับการเรียนรู้ของตน
20 21
Learning by Doing
• Action-Oriented / Active Learning เรียนโดยการปฏิบัติ
: PBL, CBL, RBL, ABL, IBL
• เรียนเป็นทีม
• ตามด้วยการใคร่ครวญสะท้อนคิด (Reflection) ร่วมกัน
• อจ. : ออกแบบ, ชวนตั้งเป้า, ตั้งคาถามให้คิด
ทักษะกำรเรียนรู้
• ปฏิบัติ -> สังเกต -> ไตร่ตรองสะท้อนคิด -> เรียนรู้
• ตั้งเป้า -> ปฏิบัติ -> ประเมิน
• ประเมิน : ผล (Summative) & วิธีปฏิบัติ (Formative)
• รู้วิธีเรียน (metacognition)
• ปรับปรุง(เปลี่ยน) วิธีเรียนรู้ (Transform Learning Strategy/Method)
เรียนรู้สู่กำรเปลี่ยนแปลง
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Mezirow
https://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/001/118/349/original_8a511172e210f2942a79c400363f4033.jpg
การท้าทายระบบโลกทัศน์
เปลี่ยนระบบคุณค่าและโลกทัศน์
ประสบการณ์ตรง + ไตร่ตรองสะท้อนคิด
+ อารมณ์
เรียนรู้สู่กำรเปลี่ยนแปลง
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Mezirow
https://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/001/118/349/original_8a511172e210f2942a79c400363f4033.jpg
การท้าทายระบบโลกทัศน์
เปลี่ยนทั้งเนื้อทั้งตัว
ประสบการณ์ตรง + ไตร่ตรองสะท้อนคิด
ใจ คิด พฤติกรรม
+ อารมณ์
พลังทั้งหก
พลังทั้งหก
•ประสบการณ์ของปัจเจก
•การสะท้อนคิดอย่างจริงจัง (Critical Reflection)
•สุนทรียสนทนา (Dialogue)
•มุมมอง/วิธีการที่ครบด้าน (holistic)
•บริบท(Context)
•ความสัมพันธ์ที่จริงใจ
ปัจจัยทั้งหก
• การปฏิบัติ เป็นทั้งเป้าหมายและวิธีการ
• เผชิญอานาจ และยอมรับความแตกต่าง
• ใช้/ยอมรับ พลังจินตนาการ
• นาการเรียนรู้สู่ชายขอบ/ดินแดนไม่ชัดเจน/สับสน
• Reflection เป็นทั้งเครื่องมือและเป้าหมายการฝึกฝน
• Modeling
Transformative Learning
• เป็นการเรียนรู้ที่พึงประสงค์ของทุกคน ทุกฐานะ ทุกวัย
• เน้น experiential learning
• ให้ความสาคัญต่อความรู้สึกของปัจเจก แต่ ลปรร. กัน
• บรรยากาศไว้วางใจกัน
• ใช้พลังของความอึดอัด ไม่ชัดเจน
• ใช้พลังของความมุ่งมั่น ทาเพื่อผู้อื่น (altruism)
• ฟังหลายๆ ความคิด/ตีความ
• นากลับไปทดลองปฏิบัติใหม่ เป็นวัฏจักร
ปรับปรุงการสอนเล็กน้อย ให้ผลยิ่งใหญ่
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Small%20Teaching
ครูประณีต คิดนอกกรอบ
http://www.lertchaimaster.com/doc/teachingoutsidethebox.pdf
บทเรียนจากฟินแลนด์
• โรงเรียนที่ดีเพื่อเด็กทุกคน
• น้อยแต่มาก
พื้นที่ 2/3
• ข้อได้เปรียบ ... ครู
- หลักสูตรฝึกหัดครูที่มีการวิจัยเป็นฐาน
- ครูเป็นนักวิจัย
- ผู้นาโรงเรียนก็เป็นครู
ประเด็นนำเสนอ
• การประเมินผล
• การพัฒนาครู (CPD)
• สรุป
• ศตวรรษที่ ๒๑
• ผลลัพธ์การเรียนรู้
• กลไกการเรียนรู้
• การสอน กับการเรียนรู้
กำรประเมินผล ๒ แบบ
• ประเมินเพื่อพัฒนา (Formative Assessment)
• ประเมินเพื่อตัดสิน (Summative Evaluation)
80 : 20
ประเมินขณะสอน(แบบไม่สอน)
• ประเมินเพื่อหนุนการเรียนรู้ (Formative Assessment)
• ตามด้วยคาแนะนาป้อนกลับแบบสร้างสรรค์
(Constructive Feedback)
• แล้วจึงประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ (Summative
Evaluation) เพื่อยืนยันว่าบรรลุเป้าหมาย
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Dylan_Wiliam
กำรประเมินผล ๒ แบบ
• ประเมินเฉพาะส่วนที่ให้คะแนนได้เห็นชัดเจน … K
• ประเมินครบด้าน … ASK (Attitude, Skills, Knowledge)
ประเด็นนำเสนอ
• การประเมินผล
• การพัฒนาครู (CPD)
• สรุป
• ศตวรรษที่ ๒๑
• ผลลัพธ์การเรียนรู้
• กลไกการเรียนรู้
• การสอน กับการเรียนรู้
กำรพัฒนำอำจำรย์ ๒ แบบ
• ส่งไป / จัด ฝึกอบรม
• PLC – Professional Learning Community
20 : 80
สร้ำง/พัฒนำ A.S.K.
• สร้าง/พัฒนา จากการปฏิบัติงานได้อย่างไร
ของผู้บริหารสถานศึกษาและครู
คาตอบ เรียนรู้ร่วมกันจากการปฏิบัติ
… KM
ร่วมกันกับ ?
ควำมรู้(ASK) ที่ต้องกำรใน
สถำบันกำรศึกษำ
• ด้านผลลัพธ์การเรียนรู้ (outcome) ในศตวรรษที่ ๒๑
• ด้านการจัดการเรียนรู้ (process) และวัดผล
• ด้านสาระ (content)
• ด้านการจัดการ (management) เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมและ
บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ทั้งในโรงเรียน ในครอบครัว และในชุมชนโดยรอบ
ปฏิบัติ
เก็บข้อมูล
reflect
ความรู้ใหม่
ตั้งเป้า
วำงแผน
แยกกัน
ร่วมกันร่วมกัน
วงจร KM / PLC ครู และ ผู้บริหำร
เป้ำ LO
และ/หรือเป้าเทคนิค
ร่วมกัน
Reflecting
• Lateralizing (Lateral
Thinking)
• Intuitioning
• Comparing
• Doubting
• Arguing
• Give new meaning
• Etc
• Questioning
• Theorizing
• Reasoning
• Interpreting
• Analyzing
• Synthesizing
โยนิโสมนสิการ?
วงจร KM / PLC อำจำรย์
ผลลัพธ์ที่ได้
• LO ของ นร. / การฝึกเทคนิคของครู
• ความรู้ปฏิบัติ (practical knowledge)
• บรรยากาศการทางานเป็นทีม และ Happy Workplace
• ทักษะการเรียนรู้จากการปฏิบัติ … lifelong learning
วิจัยชั้นเรียนเปลี่ยนครู
https://www.gotoknow.org/posts/tags/วิจัยชั้นเรียนเปลี่ยนครู
R2R ของครู
ครูคุณภำพสร้ำงได้
• แรงบันดาลใจ จาก ....
• ความหลงใหลในการเป็นครู
• โอกาสสร้างสรรค์การสอนใหม่ๆ
• ไม่พอใจการสอนแบบเดิมๆ
• ตั้งคาถาม
• เสวนากับกัลยาณมิตร ... โรงเรียนพัฒนาวิชาชีพ
ครูคุณภำพสร้ำงได้
• แรงบันดาลใจ จาก ....
• ความหลงใหลในการเป็นครู
• โอกาสสร้างสรรค์การสอนใหม่ๆ
• ไม่พอใจการสอนแบบเดิมๆ
• ตั้งคาถาม
• เสวนากับกัลยาณมิตร ... โรงเรียนพัฒนาวิชาชีพ
สร้ำงจำกห้องเรียน สร้ำงตัวเอง สร้ำงกันเอง
ครูคุณภำพเป็นอย่ำงไร บทส่งท้าย
• อยากรู้คาตอบที่ผิด พอๆ กับคาตอบที่ถูก. สนับสนุนให้
ศิษย์ทาผิดพลาด
• ไม่เห็นด้วยกับข้อปฏิบัติมาตรฐานของสังคม
• ตั้งคาถามเพื่อกระตุ้นการใช้เหตุผล ไม่ใช่การท่องจา
• ทาให้ความคิดของนักเรียนปรากฏ
• ได้รับการสนับสนุนจากโครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษาที่
มั่นคง
ชีวิตครู
• อยู่ใน Doubtful/Inquiry Zone
• ต้องการหาวิธีการให้ศิษย์บรรลุ TL & ML (Mastery)
• เรียนรู้จากความไม่ชัดเจน
• เรียนรู้ร่วมกัน - PLC (Professional LearningCommunity)
• เรียนจากครูในโลกกว้าง
• เรียนรู้จากศิษย์
The mediocre teacher tells
The good teacher explains
The superior teacher demonstrates
The great teacher inspires
William Arthur Ward
The 21st Century Teacher ….
ประเด็นนำเสนอ
• การประเมินผล
• การพัฒนาครู (CPD)
• สรุป
• ศตวรรษที่ ๒๑
• ผลลัพธ์การเรียนรู้
• กลไกการเรียนรู้
• การสอน กับการเรียนรู้
สรุป กลยุทธการสอนของครูมืออาชีพ
• สอนแบบไม่สอน
• เพื่อพัฒนารอบด้าน เป็นองค์รวม (holistic)
• เรียนแบบ Active Learning : Action + Reflection เรียนเป็นทีม เพื่อ
ผลลัพธ์การเรียนรู้รอบด้าน (holistic)
• ครูก็เรียนแบบเดียวกัน
• ครูฝึกทักษะ “ครูแห่งศตวรรษที่ ๒๑” จากห้องเรียน … PLC / วิจัย
ชั้นเรียน ... เรียนรู้อย่างไม่รู้จบ

More Related Content

What's hot

เพลินพัฒนา นำเสนอ PLC ในงาน EDUCA 2017
เพลินพัฒนา นำเสนอ PLC ในงาน EDUCA 2017เพลินพัฒนา นำเสนอ PLC ในงาน EDUCA 2017
เพลินพัฒนา นำเสนอ PLC ในงาน EDUCA 2017Orange Wongwaiwit
 
เพลินพัฒนา นำเสนอการเตรียมครูสู่ PLC ในงาน EDUCA 2017
เพลินพัฒนา นำเสนอการเตรียมครูสู่ PLC ในงาน EDUCA 2017เพลินพัฒนา นำเสนอการเตรียมครูสู่ PLC ในงาน EDUCA 2017
เพลินพัฒนา นำเสนอการเตรียมครูสู่ PLC ในงาน EDUCA 2017Orange Wongwaiwit
 
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐Pattie Pattie
 
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105Pattie Pattie
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teachingAnucha Somabut
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่Moss Worapong
 
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728Pattie Pattie
 
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-lastการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-lastPattie Pattie
 
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-firstการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-firstPattie Pattie
 

What's hot (20)

Tl 620719 n_2
Tl 620719 n_2Tl 620719 n_2
Tl 620719 n_2
 
Thinkoutside630526
Thinkoutside630526Thinkoutside630526
Thinkoutside630526
 
Tl 620719 n_1
Tl 620719 n_1Tl 620719 n_1
Tl 620719 n_1
 
เพลินพัฒนา นำเสนอ PLC ในงาน EDUCA 2017
เพลินพัฒนา นำเสนอ PLC ในงาน EDUCA 2017เพลินพัฒนา นำเสนอ PLC ในงาน EDUCA 2017
เพลินพัฒนา นำเสนอ PLC ในงาน EDUCA 2017
 
เพลินพัฒนา นำเสนอการเตรียมครูสู่ PLC ในงาน EDUCA 2017
เพลินพัฒนา นำเสนอการเตรียมครูสู่ PLC ในงาน EDUCA 2017เพลินพัฒนา นำเสนอการเตรียมครูสู่ PLC ในงาน EDUCA 2017
เพลินพัฒนา นำเสนอการเตรียมครูสู่ PLC ในงาน EDUCA 2017
 
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
 
Te620118
Te620118Te620118
Te620118
 
Sripatum learning
Sripatum learningSripatum learning
Sripatum learning
 
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
 
C and m
C and mC and m
C and m
 
CREATIVE YOUR IMAGINATION
CREATIVE  YOUR IMAGINATIONCREATIVE  YOUR IMAGINATION
CREATIVE YOUR IMAGINATION
 
Todsalak610802
Todsalak610802Todsalak610802
Todsalak610802
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teaching
 
L2
L2L2
L2
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
 
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
 
Rung aroon
Rung aroonRung aroon
Rung aroon
 
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-lastการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
 
Chapter9mii
Chapter9miiChapter9mii
Chapter9mii
 
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-firstการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
 

Similar to Proteach moph 620123

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
LifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptxLifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptxPattie Pattie
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่Praphatsara Nuy
 
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastPattie Pattie
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1Praphatsara Nuy
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรthana1989
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
Kirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of Training
Kirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of TrainingKirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of Training
Kirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of TrainingJirasap Kijakarnsangworn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยJiramet Ponyiam
 

Similar to Proteach moph 620123 (20)

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
LifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptxLifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptx
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Maejo 620711 n2
Maejo 620711 n2Maejo 620711 n2
Maejo 620711 n2
 
Ubon u 620215
Ubon u 620215Ubon u 620215
Ubon u 620215
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
 
RealEdu600905_n
RealEdu600905_nRealEdu600905_n
RealEdu600905_n
 
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
งาน8และ construcionvism
งาน8และ construcionvismงาน8และ construcionvism
งาน8และ construcionvism
 
Kirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of Training
Kirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of TrainingKirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of Training
Kirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of Training
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 

More from Pattie Pattie

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdfPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
 

Proteach moph 620123

Editor's Notes

  1. รู้จำ เข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน/เปรียบเทียบ เปลี่ยนวิธีเรียน เปลี่ยนอัตตาตัวตน / กระบวนทัศน์
  2. สมรรถนะ อารมณ์ อิสระ - เกื้อกูลกัน มนุษยสัมพันธ์ อัตลักษณ์ เป้าหมายชีวิต มั่นคงในคุณธรรม