SlideShare a Scribd company logo
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนจุดมุ่งหมายพื้น
ฐานสองประการ ประการแรก คือ การวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียน
และการเรียนรู้ของผู้เรียนในระหว่างการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง บันทึก วิเคราะห์
แปลความหมายข้อมูล แล้วนามาใช้ในการส่งเสริมหรือปรับปรุงแก้ไขการเรียนรู้ของผู้เรียนและ
การสอนของครู การวัดและประเมินผลกับการสอนจึงเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กัน หากขาดสิ่งหนึ่งสิ่
งใดการเรียนการสอนก็ขาดประสิทธิภาพ การประเมินระหว่างการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเ
รียนรู้เช่นนี้เป็นการวัดและประเมินผลย่อย(Formative assessment) ที่เกิด
ขึ้นในห้องเรียนทุกวัน เป็นการประเมินเพื่อให้รู้จุดเด่น จุดที่ต้องปรับปรุง
จึงเป็นข้อมูลเพื่อใช้ในการพัฒนา ในการเก็บข้อมูลผู้สอนต้องใช้วิธีการและเครื่องมือการประเมิ
นที่หลากหลาย
เช่น การสังเกต การซักถาม การระดมความคิดเห็นเพื่อให้ได้มติข้อสรุปของประเด็นที่กาหนด
การใช้แฟ้มสะสมงาน การใช้ภาระงานที่เน้นการปฏิบัติ
การประเมินความรู้เดิม การให้ผู้เรียนประเมินตนเอง
การให้เพื่อนประเมินเพื่อน และการใช้เกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics)
สิ่งสาคัญที่สุดในการประเมินเพื่อพัฒนา คือ
การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนในลักษณะคาแนะนาที่เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ทาให้
การเรียนรู้พอกพูน แก้ไขความคิด ความเข้าใจเดิมที่ไม่ถูกต้อง
ตลอดจนการให้ผู้เรียนสามารถตั้งเป้าหมายและพัฒนาตนได้
จุดมุ่งหมายประการที่สอง คือ
การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เป็นการประเมินสรุปผลการเรียนรู้ (Sum
mative assessment) ซึ่งมีหลายระดับ ได้แก่ เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียน
จบรายวิชาเพื่อตัดสินให้คะแนนหรือให้ระดับผลการเรียน
ให้การรับรองความรู้ความสามารถของผู้เรียนว่าผ่านรายวิชาหรือไม่ ควรได้รับการเลื่อนชั้นหรื
อไม่
หรือสามารถจบหลักสูตรหรือไม่ ในการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนที่ดีต้องให้โอกาสผู้เรียน
แสดงออกซึ่งความรู้ความสามารถด้วยวิธีการที่หลากหลายและพิจารณาตัดสินบนพื้นฐานของเก
ณฑ์ผลการปฏิบัติมากกว่าใช้เปรียบเทียบระหว่างนักเรียน
@ การกากับดูแลคุณภาพการศึกษา
การจัดการศึกษาในปัจจุบันนอกจากให้ทั่วถึงแล้วยังมุ่งเน้นคุณภาพด้ว
ย ผู้ปกครอง สังคมและรัฐต้องการเห็นหลักฐานอันเป็นผลมาจากการจัดการศึกษา นั่นคือ
คุณภาพของผู้เรียนที่เป็นไปตามมาตรฐานของหลักสูตร หน่วยงานที่รับผิดชอบนับตั้งแต่สถาน
ศึกษา ต้นสังกัด หน่วยงานระดับชาติ
ที่ได้รับมอบหมาย จึงมีบทบาทหน้าที่ในการตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนตามความคาดหวังของหลั
กสูตร ดังนั้นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ จึงกาหนดให้มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ใน ๔ ระดับ ได้แก่ ระ
ดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติ
ทุกระดับ มีเจตนารมณ์เช่นเดียวกันคือ ตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียน
เพื่อนาผลการประเมินมาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องต่อไป
¨ การประเมินระดับชั้นเรียน
เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน
ดาเนินการเพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสินผลการเรียนในรายวิชา/กิจกรรมที่ตนสอน ในการประเมิ
นเพื่อพัฒนา
ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดที่กาหนดเป็นเป้าหมายในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ด้วยวิธี
การต่างๆ เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การแสดงออกในการปฏิบัติ ผลงาน
การแสดงกริยาอาการต่างๆ ของผู้เรียน ตลอดเวลาที่จัดกิจกรรม
เพื่อดูว่าบรรลุตัวชี้วัดหรือมีแนวโน้มว่าจะบรรลุตัวชี้วัดเพียงใด
แล้วแก้ไขข้อบกพร่องเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง
การประเมินเพื่อตัดสินเป็นการตรวจสอบ ณ จุดที่กาหนดตัดสินว่า
ผู้เรียนมีผลอันเกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่และมากน้อยเพียงใด ทั้งนี้โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อเก็บคะแนนของหน่วยการเรียนรู้
หรือของการประเมินผลกลางภาคหรือปลายภาคตามรูปแบบการประเมินที่สถานศึกษากาหนด
ผลการประเมินนอกจากจะให้เป็นคะแนนหรือระดับผลการเรียนแก่ผู้เรียนแล้ว
ต้องนามาเป็นข้อมูลใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไปอีกด้วย
¨ การประเมินระดับสถานศึกษา
เป็นการตรวจสอบผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการป
ระเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
และเป็นการประเมินเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่าส่งผลต่อการเรีย
นรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีสิ่งที่ต้องได้รับการพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามาร
ถนาผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติและระดับเขตพื้นที่กา
รศึกษา ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย
หลักสูตร โครงการ
หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาน
ศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และ การรายงานผลการจัดการศึ
กษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและชุม
ชน
¨ การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา
เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใ
นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา
ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพของผู้เรียนด้วยวิธีการและเค
รื่องมือที่เป็นมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา
หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัดและ /
หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังสามารถดาเนินการได้ด้วยการตรวจสอบข้อมูลจาก
การประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
¨ การประเมินระดับชาติ
เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรี
ยนทุกคนที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ชั้นประถม ศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการประเมิน
ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่างๆ
เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพ
การจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ
ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวน
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเ
หลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุน
เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จาแนกตามสภ
าพปัญหาและความต้องการ
ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเ
รียนต่า กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม
กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างก
ายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการ
ช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที อันเป็นโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความสาเร็จใ
นการเรียน
@ การจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา
จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดค
ล้อง
และเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติร่วมกัน
ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึก
ษาเป็นกรอบภาระงานและแนวปฏิบัติด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ซึ่งจะต้องเชื่อมโยงกับการเรียนรู้เป็นกระบวนการเดียวกัน สาระของระเบียบดังกล่าวกาหนดบ
นพื้นฐานของนโยบายด้านการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
สถานศึกษา หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักวิชา หลักเกณฑ์การวัดและประเมิน
ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องและแนวปฏิบัติที่สถานศึกษากาหนดเพิ่มเติม
อันจะสะท้อนคุณภาพและมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษาที่จะช่วยสร้างความมั่นใจใน
กระบวนการดาเนินงานและสร้างความเชื่อมั่นแก่สังคม
ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเป้าหมายการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ กาหนดว่าการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนาปรับปรุงการเรียนรู้
ของผู้เรียนและตัดสินว่าผู้เรียนมีความรู้ ทักษะความสามารถ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ อันเป็
นผลมาจากการเรียนการสอนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดในระดับใด สามารถที่จะได้
รับการเลื่อนชั้นเรียน
หรือจบการศึกษาได้หรือไม่ สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษาจะต้องจัดทาระเบียบ
ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์แ
ละแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยควรมีสาระต่อไปนี้เป็นอย่างน้อย
๑. การตัดสินผลการเรียน
๒. การให้ระดับผลการเรียน
๓. การรายงานผลการเรียน
๔. เกณฑ์การจบการศึกษา
๕. เอกสารหลักฐานการศึกษา
๖. การเทียบโอนผลการเรียน
๗. การประเมินคุณภาพผู้เรียน
@ การจัดการระบบงานวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การจัดการระบบงานวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา
ครอบคลุมงาน ๒ ส่วน ได้แก่ งานวัดและประเมินผลการเรียนรู้
และงานทะเบียน สถานศึกษาควรกาหนดให้มีผู้รับผิดชอบในแต่ละงาน สาหรับสถานศึกษาขน
าดเล็กอาจรวมงานทั้งสองและมอบหมายผู้รับผิดชอบคนเดียว
งานวัดและประเมินผลการเรียนรู้
มีหน้าที่รับผิดชอบการดาเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา ให้คาปรึกษาเ
กี่ยวกับการวัดและประเมินผล การเรียนรู้กับผู้สอนและผู้เรียน ตลอดจนดาเนินการเกี่ยวกับ
การสร้างเสริมความเข้มแข็งในเทคนิควิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ให้บุคลากรของสถาน
ศึกษา
งานทะเบียน
รับผิดชอบด้านเอกสารหลักฐานการศึกษา เอกสารการประเมินผลการจัดทา
จัดเก็บและการออกเอกสารหลักฐานการศึกษาอย่างเป็นระบบ เป็นต้น
ภาระงานวัดและประเมินผลการเรียนรู้มีความเกี่ยวข้องกับฝ่ายต่างๆ
ในสถานศึกษานับตั้งแต่ระดับนโยบายในการกาหนดนโยบายการวัดผล การจัดทาระเบียบว่าด้ว
ยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องถื
อปฏิบัติ
และยังเกี่ยวข้องกับผู้เรียนทุกคนตั้งแต่เข้าเรียนจนจบการศึกษาและออกจากสถานศึกษา จึงจาเป็
นที่สถานศึกษาต้องวิเคราะห์ภาระงาน กาหนดกระบวนการทางานและผู้รับผิดชอบแต่ละขั้นตอ
นอย่างชัดเจนเหมาะสม แผนภาพที่ ๑.๑ นาเสนอ
การบริหารการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษาที่กาหนดขึ้นโดยนานโยบายการจัด
การเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตลอดจนหลักการวัดและประเมินผลกา
รเรียนรู้ตามหลักสูตรในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมาวิเคราะห์ภาระงาน และตารางที่ ๑.๑
แสดงถึงการมอบหมายภารกิจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ให้แก่บุคลากรฝ่ายต่างๆ
ของสถานศึกษารับผิดชอบ
การดาเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ไม่เป็นระบบ จะส่งผลก
ระทบต่อความเชื่อมั่น ในคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา นอกจากนี้
การดาเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นงานที่ต้องอยู่บนพื้นฐานหลักการวิชาการแล
ะหลักธรรมาภิบาล สถานศึกษาต้องเปิดโอกาสให้ทุกฝ่าย มีส่วนร่วมในรูปของคณะกรรม
การฝ่ายต่างๆ
อย่างกว้างขวาง รวมทั้งกาหนดให้คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการบริ
หารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษามีส่วนรับผิดชอบ สาหรับสถานศึกษาขนาดเล็กคณะก
รรมการต่างๆ อาจแต่งตั้งตามความเหมาะสม

More Related Content

What's hot

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์บุษรากร ขนันทอง
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
Padvee Academy
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
tassanee chaicharoen
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
Terapong Piriyapan
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
kasocute
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
dnavaroj
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
dnavaroj
 
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำสมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
Mansong Manmaya สุทธการ
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
พัน พัน
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
Khunnawang Khunnawang
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขThanapol Pacharapha
 

What's hot (20)

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำสมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
 

Viewers also liked

แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51krupornpana55
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้สุเทพ สอนนิล
 
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษาNU
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
oieseau1
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
NU
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
บีน้อย สุชาดา
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 

Viewers also liked (9)

แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 

Similar to จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
SophinyaDara
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)Pochchara Tiamwong
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
Mana Suksa
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
onnichabee
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
talktomongkol
 
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
sitharukkhiansiri
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการTaii Wasana
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางkamonnet
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 

Similar to จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (20)

หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
บทที่ 8.1
บทที่ 8.1บทที่ 8.1
บทที่ 8.1
 
บทที่ 8.1
บทที่ 8.1บทที่ 8.1
บทที่ 8.1
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
 
จุดเน้น
จุดเน้นจุดเน้น
จุดเน้น
 
Techer-centered
Techer-centeredTecher-centered
Techer-centered
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 

จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

  • 1. จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนจุดมุ่งหมายพื้น ฐานสองประการ ประการแรก คือ การวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียน และการเรียนรู้ของผู้เรียนในระหว่างการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง บันทึก วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล แล้วนามาใช้ในการส่งเสริมหรือปรับปรุงแก้ไขการเรียนรู้ของผู้เรียนและ การสอนของครู การวัดและประเมินผลกับการสอนจึงเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กัน หากขาดสิ่งหนึ่งสิ่ งใดการเรียนการสอนก็ขาดประสิทธิภาพ การประเมินระหว่างการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเ รียนรู้เช่นนี้เป็นการวัดและประเมินผลย่อย(Formative assessment) ที่เกิด ขึ้นในห้องเรียนทุกวัน เป็นการประเมินเพื่อให้รู้จุดเด่น จุดที่ต้องปรับปรุง จึงเป็นข้อมูลเพื่อใช้ในการพัฒนา ในการเก็บข้อมูลผู้สอนต้องใช้วิธีการและเครื่องมือการประเมิ นที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การซักถาม การระดมความคิดเห็นเพื่อให้ได้มติข้อสรุปของประเด็นที่กาหนด การใช้แฟ้มสะสมงาน การใช้ภาระงานที่เน้นการปฏิบัติ การประเมินความรู้เดิม การให้ผู้เรียนประเมินตนเอง การให้เพื่อนประเมินเพื่อน และการใช้เกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) สิ่งสาคัญที่สุดในการประเมินเพื่อพัฒนา คือ การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนในลักษณะคาแนะนาที่เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ทาให้ การเรียนรู้พอกพูน แก้ไขความคิด ความเข้าใจเดิมที่ไม่ถูกต้อง ตลอดจนการให้ผู้เรียนสามารถตั้งเป้าหมายและพัฒนาตนได้ จุดมุ่งหมายประการที่สอง คือ การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เป็นการประเมินสรุปผลการเรียนรู้ (Sum mative assessment) ซึ่งมีหลายระดับ ได้แก่ เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียน จบรายวิชาเพื่อตัดสินให้คะแนนหรือให้ระดับผลการเรียน ให้การรับรองความรู้ความสามารถของผู้เรียนว่าผ่านรายวิชาหรือไม่ ควรได้รับการเลื่อนชั้นหรื อไม่ หรือสามารถจบหลักสูตรหรือไม่ ในการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนที่ดีต้องให้โอกาสผู้เรียน
  • 2. แสดงออกซึ่งความรู้ความสามารถด้วยวิธีการที่หลากหลายและพิจารณาตัดสินบนพื้นฐานของเก ณฑ์ผลการปฏิบัติมากกว่าใช้เปรียบเทียบระหว่างนักเรียน @ การกากับดูแลคุณภาพการศึกษา การจัดการศึกษาในปัจจุบันนอกจากให้ทั่วถึงแล้วยังมุ่งเน้นคุณภาพด้ว ย ผู้ปกครอง สังคมและรัฐต้องการเห็นหลักฐานอันเป็นผลมาจากการจัดการศึกษา นั่นคือ คุณภาพของผู้เรียนที่เป็นไปตามมาตรฐานของหลักสูตร หน่วยงานที่รับผิดชอบนับตั้งแต่สถาน ศึกษา ต้นสังกัด หน่วยงานระดับชาติ ที่ได้รับมอบหมาย จึงมีบทบาทหน้าที่ในการตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนตามความคาดหวังของหลั กสูตร ดังนั้นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงกาหนดให้มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ใน ๔ ระดับ ได้แก่ ระ ดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติ ทุกระดับ มีเจตนารมณ์เช่นเดียวกันคือ ตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อนาผลการประเมินมาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องต่อไป ¨ การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน ดาเนินการเพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสินผลการเรียนในรายวิชา/กิจกรรมที่ตนสอน ในการประเมิ นเพื่อพัฒนา ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดที่กาหนดเป็นเป้าหมายในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ด้วยวิธี การต่างๆ เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การแสดงออกในการปฏิบัติ ผลงาน การแสดงกริยาอาการต่างๆ ของผู้เรียน ตลอดเวลาที่จัดกิจกรรม เพื่อดูว่าบรรลุตัวชี้วัดหรือมีแนวโน้มว่าจะบรรลุตัวชี้วัดเพียงใด แล้วแก้ไขข้อบกพร่องเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง การประเมินเพื่อตัดสินเป็นการตรวจสอบ ณ จุดที่กาหนดตัดสินว่า ผู้เรียนมีผลอันเกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่และมากน้อยเพียงใด ทั้งนี้โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเก็บคะแนนของหน่วยการเรียนรู้ หรือของการประเมินผลกลางภาคหรือปลายภาคตามรูปแบบการประเมินที่สถานศึกษากาหนด
  • 3. ผลการประเมินนอกจากจะให้เป็นคะแนนหรือระดับผลการเรียนแก่ผู้เรียนแล้ว ต้องนามาเป็นข้อมูลใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไปอีกด้วย ¨ การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการตรวจสอบผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการป ระเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และเป็นการประเมินเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่าส่งผลต่อการเรีย นรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีสิ่งที่ต้องได้รับการพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามาร ถนาผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติและระดับเขตพื้นที่กา รศึกษา ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาน ศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และ การรายงานผลการจัดการศึ กษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและชุม ชน ¨ การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใ นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพของผู้เรียนด้วยวิธีการและเค รื่องมือที่เป็นมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัดและ / หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังสามารถดาเนินการได้ด้วยการตรวจสอบข้อมูลจาก การประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา ¨ การประเมินระดับชาติ
  • 4. เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรี ยนทุกคนที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ชั้นประถม ศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่างๆ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพ การจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวน พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเ หลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุน เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จาแนกตามสภ าพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเ รียนต่า กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างก ายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการ ช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที อันเป็นโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความสาเร็จใ นการเรียน @ การจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดค ล้อง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติร่วมกัน ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึก ษาเป็นกรอบภาระงานและแนวปฏิบัติด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
  • 5. ซึ่งจะต้องเชื่อมโยงกับการเรียนรู้เป็นกระบวนการเดียวกัน สาระของระเบียบดังกล่าวกาหนดบ นพื้นฐานของนโยบายด้านการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักวิชา หลักเกณฑ์การวัดและประเมิน ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องและแนวปฏิบัติที่สถานศึกษากาหนดเพิ่มเติม อันจะสะท้อนคุณภาพและมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษาที่จะช่วยสร้างความมั่นใจใน กระบวนการดาเนินงานและสร้างความเชื่อมั่นแก่สังคม ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเป้าหมายการจัดการศึกษาของสถานศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดว่าการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนาปรับปรุงการเรียนรู้ ของผู้เรียนและตัดสินว่าผู้เรียนมีความรู้ ทักษะความสามารถ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ อันเป็ นผลมาจากการเรียนการสอนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดในระดับใด สามารถที่จะได้ รับการเลื่อนชั้นเรียน หรือจบการศึกษาได้หรือไม่ สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษาจะต้องจัดทาระเบียบ ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์แ ละแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยควรมีสาระต่อไปนี้เป็นอย่างน้อย ๑. การตัดสินผลการเรียน ๒. การให้ระดับผลการเรียน ๓. การรายงานผลการเรียน ๔. เกณฑ์การจบการศึกษา ๕. เอกสารหลักฐานการศึกษา ๖. การเทียบโอนผลการเรียน ๗. การประเมินคุณภาพผู้เรียน @ การจัดการระบบงานวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การจัดการระบบงานวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา ครอบคลุมงาน ๒ ส่วน ได้แก่ งานวัดและประเมินผลการเรียนรู้
  • 6. และงานทะเบียน สถานศึกษาควรกาหนดให้มีผู้รับผิดชอบในแต่ละงาน สาหรับสถานศึกษาขน าดเล็กอาจรวมงานทั้งสองและมอบหมายผู้รับผิดชอบคนเดียว งานวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีหน้าที่รับผิดชอบการดาเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา ให้คาปรึกษาเ กี่ยวกับการวัดและประเมินผล การเรียนรู้กับผู้สอนและผู้เรียน ตลอดจนดาเนินการเกี่ยวกับ การสร้างเสริมความเข้มแข็งในเทคนิควิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ให้บุคลากรของสถาน ศึกษา งานทะเบียน รับผิดชอบด้านเอกสารหลักฐานการศึกษา เอกสารการประเมินผลการจัดทา จัดเก็บและการออกเอกสารหลักฐานการศึกษาอย่างเป็นระบบ เป็นต้น ภาระงานวัดและประเมินผลการเรียนรู้มีความเกี่ยวข้องกับฝ่ายต่างๆ ในสถานศึกษานับตั้งแต่ระดับนโยบายในการกาหนดนโยบายการวัดผล การจัดทาระเบียบว่าด้ว ยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องถื อปฏิบัติ และยังเกี่ยวข้องกับผู้เรียนทุกคนตั้งแต่เข้าเรียนจนจบการศึกษาและออกจากสถานศึกษา จึงจาเป็ นที่สถานศึกษาต้องวิเคราะห์ภาระงาน กาหนดกระบวนการทางานและผู้รับผิดชอบแต่ละขั้นตอ นอย่างชัดเจนเหมาะสม แผนภาพที่ ๑.๑ นาเสนอ การบริหารการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษาที่กาหนดขึ้นโดยนานโยบายการจัด การเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตลอดจนหลักการวัดและประเมินผลกา รเรียนรู้ตามหลักสูตรในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมาวิเคราะห์ภาระงาน และตารางที่ ๑.๑ แสดงถึงการมอบหมายภารกิจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ให้แก่บุคลากรฝ่ายต่างๆ ของสถานศึกษารับผิดชอบ การดาเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ไม่เป็นระบบ จะส่งผลก ระทบต่อความเชื่อมั่น ในคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา นอกจากนี้ การดาเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นงานที่ต้องอยู่บนพื้นฐานหลักการวิชาการแล ะหลักธรรมาภิบาล สถานศึกษาต้องเปิดโอกาสให้ทุกฝ่าย มีส่วนร่วมในรูปของคณะกรรม การฝ่ายต่างๆ อย่างกว้างขวาง รวมทั้งกาหนดให้คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการบริ