SlideShare a Scribd company logo
บทที่
๑.๑ ความนำ
พุทธปรัชญา เปนปรัชญาระบบหนึ่งของปรัชญาตะวันออก
กอกำเนิดขึ้นในประเทศอินเดียโบราณ เมื่อ ๒,๕๐๐ กวาปกอน ประเทศ
อินเดียในสมัยนั้นเรียกวา ชมพูทวีป โดยเจาชายสิทธัตถะแหงกรุง
กบิลพัสดุ แควนสักกะ ผูที่เกิดความสงสัยในสภาพปญหาชีวิตของมนุษย
คือ ความแก ความเจ็บ และความตาย วา ทำไม มนุษยตองตกอยูในสภาพ
เชนนั้น
แมปญหาเหลานี้เปนสภาพปญหาที่ประจักษในชีวิต แตก็ไมมีใคร
ตั้งขอสงสัยวา ทำไม จึงเปนเชนนั้น ไมมีใครคิดที่จะแกปญหานี้ อาจเพราะ
ไมไดมองไมไดคิดวา มันเปนปญหาชีวิต จึงมองวาเปนเรื่องธรรมดาของ
ชีวิต แตสำหรับเจาชายสิทธัตถะเมื่อไดพบเห็นสภาพปญหาเหลานี้ กลับ
ทรงเห็นวา นี่คือปญหาใหญสำหรับมนุษย เมื่อทรงมองยอนกลับเขาหา
พระองควา จะทรงตกอยูในสภาวะเชนนั้นดวยเชนกัน ยิ่งทรงไมสามารถ
ยอมรับสภาพปญหาเชนนี้ได ยิ่งไปกวานี้ ทรงไมตองการใหมวลมนุษยตอง
ตกอยูในสภาวะเชนนั้น จึงทรงมีความคิดที่จะหาทางแกไขปญหาที่วา จะ
ทำอยางไร มนุษยจึงจะไมแก ไมเจ็บ และไมตาย สภาวะที่ไมมีความแก
ความเจ็บ และความตาย มีอยูหรือไม ?
บทนำ
AW_Bhuddhist#4.indd 1AW_Bhuddhist#4.indd 1 4/23/13 12:43:09 PM4/23/13 12:43:09 PM
2 พุทธอภิปรัชญา
เพื่อจะไขปญหาดังกลาว พระองคไดทรงตั้งสมมติฐานจากสภาพ
แวดลอมที่ประจักษอันมีภาวะที่ตรงกันขามวา สรรพสิ่งในโลกมีภาวะที่
ตรงกันขามกัน เชน มีความรอน มีความเย็น มีความมืด มีความสวาง มีขาว
มีดำ ดังนั้น เมื่อมีความแก ความเจ็บ และความตาย จึงตองมีความไมแก
ความไมเจ็บ และความไมตายดวยเชนกัน ในที่สุดทรงเห็นวา หนทางที่จะ
สามารถขบคิด แสวงหาคำตอบนี้ได ตองเปนหนทางที่สงบ ไมมีภาระหรือ
พันธะหนาที่ที่จะตองรับผิดชอบมากนัก ไมมีความวุนวาย แนวทางแกไขปญหา
นี้ ตองเอื้ออำนวยดวย และแนวทางที่วานี้ ทรงตระหนักชัดวา เพศของความ
เปนนักบวชเทานั้น ที่จะเอื้อใหทำหนาที่นี้สำเร็จลุลวงได เพราะเสนทางของ
ความเปนฆราวาสหรือคนที่ครองเรือนคับแคบไมเอื้อตอการทำภารกิจนี้๑
เจาชายสิทธัตถะจึงทรงเลือกเพศสมณะแลวเสด็จออกผนวช ใชเวลา
ประมาณ ๖ ป ในการคิดคนวิเคราะหคำตอบของโจทยที่ตั้งไว ในที่สุด ทรง
พบวา ปญหาชีวิตเรื่องความแก ความเจ็บ และความตายของมนุษยนั้น มี
ความเชื่อมโยงถึงกัน การที่มนุษยตองตายนั้น เพราะมีสภาวะรางกายตก
อยูในความเจ็บปวย ที่เกิดขึ้นเมื่อรางกายไดทรุดโทรมไปดวยเงื่อนไขดาน
กาลเวลาและปจจัยอื่น ๆ และความแกทรุดโทรมนี้เกิดขึ้นสืบเนื่องมาจาก
การเกิด หากมนุษยมีการเกิดขึ้น จึงหลีกเลี่ยงไมไดที่จะตองแก เจ็บ และ
ตายในที่สุด ดังนั้น หากมนุษยไมตองการแก เจ็บ และตายอีกตอไป ตองไม
เกิดอีก ไมวาในภพภูมิไหน ๆ
พระพุทธเจาทรงตรัสย้ำเสมอวา การเกิด เปนความทุกข๒
ทั้งในตัว
ของมันเองและเหตุปจจัยใหความทุกขอื่นตามมาอีก เชน ความทุกขเพราะ
ความแก ความเจ็บ ความตาย ยิ่งการเกิดขึ้นมีบอยมากเทาไร ชีวิตมนุษยมี
๑
มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณาสก ๑๓/๗๓๘/๖๖๙.
๒
วินัยปฎก มหาวรรค ๔/๑๔/๑๘.
AW_Bhuddhist#4.indd 2AW_Bhuddhist#4.indd 2 4/23/13 12:43:09 PM4/23/13 12:43:09 PM
พุทธอภิปรัชญา 3
๓
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๒๑/๓๕.
๔
อังคุตรนิกาย จตุกกนิบาต ๒๑/๕/๗., ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๓๔/๖๑.
๕
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๔๔/๓๙.
ความทุกขมากขึ้นเทานั้น๓
โดยเฉพาะอยางยิ่ง ชีวิตของมนุษยปุถุชนที่
ไมสำรวมในกามคุณทั้งหลาย ผูที่ยังมีตัณหาอยู๔
อยางไรก็ตาม ทรงคนพบวา
ความเกิดเปนมนุษยและสัตว ไมใชเปนการเกิดขึ้นลอย ๆ โดยไมมีเหตุ
ไมมีปจจัย และเหตุปจจัยที่ทำใหเกิดชีวิตมนุษยและสัตวนั้น มีทั้งเหตุ
ปจจัยภายในและเหตุปจจัยภายนอกประกอบกันขึ้น เหตุปจจัยภายนอกนั้น
ไดแก การมีเพศสัมพันธทุกรูปแบบที่ไมมีการปองกันการเกิด แมกระทั่ง
กระบวนการทางวิทยาศาสตรที่นำกระบวนการธรรมชาติมาดำเนินการใน
หองทดลอง โดยผานเครื่องมือทางเทคโนโลยีสมัยใหมที่นำมาใชประกอบ
กับวิทยาการที่พัฒนาขึ้นหรือที่เรียนรูกฎเกณฑของธรรมชาติมากขึ้น เหตุ
ปจจัยภายใน ไดแก กระแสความอยาก ความใคร ความกระสันทางกามารมณ
ที่อยูในใจของมนุษย ตลอดจนบุญกุศลที่สะสมอบรมมาใหถือกำเนิด
ในมนุษย ดวยเหตุปจจัยหลากหลายดังกลาว การเกิดเปนมนุษยจึงเปน
เรื่องยาก๕
อยางไรก็ตาม การเกิดเปนมนุษย แมเปนเรื่องยากก็จริง แตเมื่อเกิด
เปนมนุษยแลว การจะไมเกิดในภพอื่นอีกตอไป ยิ่งยากกวา เพราะการไม
เกิดอีกตอไปนั้น จะตองควบคุม ขจัด ขัดเกลาเหตุปจจัยทั้งภายนอกและ
ภายในดังกลาวไปพรอม ๆ กัน การควบคุมปองกันเหตุปจจัยภายนอกนั้น
สามารถทำไดทั้งวิธีการตามธรรมชาติและวิธีการทางเทคโนโลยีการแพทย
สมัยใหมมีการพัฒนาขึ้นตามลำดับ แตกระนั้นก็ตาม วิธีการที่วานี้ยังไม
ปลอดภัยรอยเปอรเซ็นต และตองใชตนทุนทางวัตถุสูง อาจตองเสียทั้งเงิน
จำนวนมากและความรูสึก ตลอดจนผลกระทบดานรางกาย โดยเฉพาะ
AW_Bhuddhist#4.indd 3AW_Bhuddhist#4.indd 3 4/23/13 12:43:09 PM4/23/13 12:43:09 PM
4 พุทธอภิปรัชญา
อยางยิ่ง หากใชวิธีการนี้เปนผลสำเร็จจริง คือ ไมมีการเกิดขึ้นของมนุษย
แตสัมฤทธิผลที่วานี้ เปนเพียงวิธีการทำไมใหคนอื่นเกิดขึ้นเทานั้น ไมได
ทำใหมนุษยผูเกิดมาแลวหมดสาเหตุแหงการเกิดตอไปแตประการใด วิธีการ
ทางวิทยาศาสตรจึงปองกันไดเฉพาะการเกิดของผูอื่นเทานั้น ไมไดปองกัน
การเกิดของตนเอง แตเปาหมายสูงสุดของพุทธปรัชญามิไดประสงค
เพียงการไมใหผูอื่นเกิดเทานั้น แตเปาหมายที่แทจริงคือ การทำใหตนเอง
ไมตองเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏอีกตอไปดวย การจะทำใหบรรลุ
เปาหมายดังกลาวนี้ ไมมีใครสามารถทำแทนได ไมวาจะเปนพรหม เทวดา
ยักษ หรือมาร นอกจากมนุษยจะทำดวยตนเองเทานั้น ดังนั้น การขจัด
ขัดเกลาปจจัยภายในใจของมนุษยนั้น มนุษยตองกระทำดวยตนเอง
แมพระสัมมาสัมพุทธเจาก็ทรงเปนเพียงผูบอกทางใหเทานั้น การดำเนิน
ตามทางนั้นเปนหนาที่ของผูจะดำเนินตาม๖
ดวยเหตุผลนี้ พระพุทธเจาจึงทรงชี้แนะวิธีการเพื่อบรรลุเปาหมาย
ดังกลาวใหครอบคลุม ปองกันและจัดการกับเหตุปจจัยทั้ง ๒ อยางไป
พรอมๆ กัน เพื่อใหไดผลทั้งตนเองและผูอื่น หลังจากพระองคทรงไดขอคิด
นี้จากอุปมา ๓ ขอ คือ เปรียบเสมือนไมสดที่แชน้ำ (ชีวิตที่ครองเรือน) ไม
สามารถนำมาสีใหเกิดไฟได (ไมสามารถทำที่สุดแหงทุกขได) หรือไมสดที่อยู
บนบก (ชีวิตที่ไมครองเรือน) ไมสามารถนำมาสีใหเกิดไฟได (เพราะยังมีเหตุ
ภายในที่เปนกิเลสตัณหาอยู) ไมที่จะนำสีใหเกิดไฟไดนั้น ตองเปนไมแหง
และอยูบนบก ลำพังชีวิตนักบวชที่ไมครองเรือนอยางเดียวหากยังมียาง
เหนียวแหงทุกขอยูในใจยอมไมถึงที่สุดแหงทุกขเชนกัน๗
ระบบความคิด
แบบพุทธปรัชญาจึงเกิดขึ้นดวยเหตุผลดังกลาว
๖
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๓๐/๕๑.
๗
มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก ๑๒/๔๑๔/๓๑๖-๓๑๗.
AW_Bhuddhist#4.indd 4AW_Bhuddhist#4.indd 4 4/23/13 12:43:10 PM4/23/13 12:43:10 PM
พุทธอภิปรัชญา 5
พุทธปรัชญาจึงเสนอวา สาเหตุที่แทจริงของการเกิดและความทุกข
ของมนุษย คือ ตัณหา๘
ดังนั้น การที่มนุษยตองการที่จะไมเกิดอีกตอไป
จำตองฝกฝนอบรมตนเพื่อขัดเกลาตัณหา ขจัดใหหมดไปจากจิตใจอยาง
สิ้นเชิง เมื่อทำไดเชนนั้น มนุษยจะปราศจากความทุกขเพราะการเกิดและ
ความทุกขอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องดวยการเกิดนั้น
การคุมกำเนิดจึงไมใชการคุมการเกิดของตนเอง แตเปนการคุมการ
เกิดของบุคคลอื่น การคุมการเกิดของตนเอง มนุษยตองทำดวยตนเอง
พุทธปรัชญานำเสนอมรรควิธีในการขจัดตัณหาพาใหเกิดนั้นเรียกวา อริย-
มรรคมีองค ๘ หากมนุษยไมอยากจะเกิดอีกตอไปดวยเล็งเห็นชัดดวย
ปญญาวา การเกิดเปนความทุกข ทั้งของผูทำใหเกิดและของผูเกิดมาเอง
จึงควรอยางยิ่งที่จะดำเนินตามแนวทางแหงอริยมรรคมีองค ๘ ดังกลาว
๘
วินัยปฎก มหาวรรค ๔/๑๔/๑๙.
AW_Bhuddhist#4.indd 5AW_Bhuddhist#4.indd 5 4/23/13 12:43:10 PM4/23/13 12:43:10 PM
6 พุทธอภิปรัชญา
๑.๒ ลักษณะเดนของพุทธปรัชญา
ลักษณะที่เดนของพุทธปรัชญา คือ การมองชีวิตโลกตามความเปนจริง
ไมไดมองดวยความตองการใหมันเปนไปตามที่ประสงค ความเปนจริงที่วา
นั้นมีเหตุปจจัยที่โยงใยกันอยูเปนเครือขาย พุทธปรัชญาจึงมุงชี้ใหเห็น
ความเปนจริงถึงความมีเหตุปจจัยนั้น และวิธีการจัดการกับเหตุปจจัยเหลานั้น
อยางเทาทัน๙
พุทธปรัชญาจะเปนระบบปรัชญาที่เสนอความจริง ความรู
และการปฏิบัติเพื่อเขาถึงความจริงนั้นในกระบวนเดียวกัน เปนระบบปรัชญา
ที่เสนอเฉพาะความจริงที่มีประโยชนตอการดำเนินชีวิตพรอมวิธีการ
ทำความเขาใจและการปฏิบัติไปดวยในตัว
พุทธปรัชญามองภาพชีวิตมนุษยตามความเปนจริง ๒ ภาพใหญ คือ
(๑) ภาพที่เห็นวาเปนปญหาชีวิต เรียกวา ทุกข (๒) ภาพชีวิตที่เห็นวาเปนสภาวะ
ที่ปราศจากปญหาเรียกวา สุข ไมวาจะภาพชีวิตในดานไหน พุทธปรัชญา
ไดแสดงเหตุผลแหงความเปนเชนนั้น เพื่อชี้ใหเห็นวา ทุกขหรือสุขก็ตาม ไมได
เกิดขึ้นเองโดยไมมีเหตุปจจัยใด ๆ การแสดงเหตุปจจัยแหงความทุกขและ
ความสุขนี้ จึงเปนการแสดงถึงระบบการปฏิบัติหรือระบบจริยธรรมเพื่อให
บรรลุถึงเปาหมายไวดวย
พุทธปรัชญาจึงมีลักษณะเปนปรัชญาชีวิต ที่มุงสรางสรรคภูมิปญญา
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและแกไขปญหาชีวิตของมนุษยใหมากที่สุด
โดยเฉพาะอยางยิ่ง พุทธปรัชญาเถรวาท จะเนนเรื่องนี้เปนประการสำคัญ
ดังนั้น หากมีประเด็นปญหาที่ไมเกี่ยวกับการแกปญหาชีวิต เมื่อถกเถียง
ปญหาใดกันแลว คุณภาพชีวิตไมไดดีขึ้น ปญหานั้น พุทธปรัชญาจะไมให
ความสนใจมากนัก มีหลักฐานในคัมภีรที่บงชี้วา พระพุทธองคทรงปฏิเสธ
๙
วินัยปฎก มหาวรรค ๔/๖๘/๗๖.
AW_Bhuddhist#4.indd 6AW_Bhuddhist#4.indd 6 4/23/13 12:43:10 PM4/23/13 12:43:10 PM
พุทธอภิปรัชญา 7
ที่จะตอบปญหาที่ไมชวยแกไขปญหาชีวิตหรือไมชวยใหมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
เชน อัพยากตปญหา ที่มุงใหยืนยันแนวคิดแบบสุดขั้ว๑๐
เนื่องจากพุทธปรัชญาเปนปรัชญาตะวันออก จึงมีลักษณะบางประการ
ที่แตกตางจากตะวันตก ประการแรก พุทธปรัชญาจะสนใจศึกษาเรื่อง
ที่เกี่ยวกับมนุษย โดยเฉพาะแนวทางที่จะทำใหชีวิตมนุษยมีความสุข
ปราศจากความทุกข ประการที่ ๒ พุทธปรัชญาไมไดมุงเนนแตเพียงทฤษฎี
เทานั้น แตมุงใหนำความรูไปปฏิบัติใหไดผลจริงดวย ซึ่งปรัชญาตะวันตก
จะไมเนนใหประพฤติปฏิบัติ แตใหอิสระในการเลือกปฏิบัติ กลาวคือจะนำ
ไปใชในชีวิตประจำวันหรือไมก็ได กระนั้นก็ตาม พุทธปรัชญา แมมีเนื้อหา
สาระที่บอกวา อะไรดี อะไรไมดี ควรทำอะไร ไมควรทำอะไร แตก็ยังใหอิสระ
ในการเลือกปฏิบัติ โดยปลอยเปนหนาที่ของผูฟงหรือสาวกในการตัดสินใจ
พระพุทธเจาเปนแตเพียงผูบอกชี้แนะเทานั้น๑๑
ลักษณะหลังนี้ ทำให
พระพุทธศาสนามีความเหมือนกับปรัชญาตามแนวคิดทางตะวันตก
อยางไรก็ตาม ลักษณะการใหอิสระในการเลือกถือปฏิบัตินี้ ดูเหมือน
ในลักษณะที่เดนของปรัชญาทุกระบบ แมวาจะไมมีขอผูกมัดในการนำไป
ปฏิบัติก็ตาม แตหากผูศึกษาเกิดความรูตามที่ศึกษาวิเคราะหแลว อาจนำ
ไปเปนแนวทางในการดำเนินชีวิตได โดยเฉพาะอยางยิ่ง การถือวามนุษยมี
ความรู มีเกณฑการตัดสินอยูประการหนึ่ง คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ใหสอดคลองกับความรูนั้นอยางมีเปาหมายและอยางตั้งใจ ดังนั้น โดยนัยนี้
หากมนุษยมีความรูมากมายหลายสาขา แตมีพฤติกรรมที่ไมสอดคลองกับ
ความรูนั้น หรือไมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดีที่พึงประสงคแลว
ยังไมนับวาเปนผูที่มีความรูสมบูรณ ถือไดวาเปนเพียงผูมีความรูจำมาก
๑๐
ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค ๙/๒๙๒/๒๓๒.
๑๑
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๓๐/๕๑.
AW_Bhuddhist#4.indd 7AW_Bhuddhist#4.indd 7 4/23/13 12:43:11 PM4/23/13 12:43:11 PM
8 พุทธอภิปรัชญา
เทานั้น เพราะยังไมเปนหนึ่งเดียวกับความรูนั้น ขอนี้นาขบคิดมากทีเดียว
เพราะมิเชนนั้นแลว โลกจะคาดหวังสันติสุขไมไดจากการมีความรูของมนุษย
ปรัชญาตะวันออกสวนมาก มักจะใหความสำคัญตอการมีประโยชน
จริง การนำไปใชไดจริง แตไมถึงกับผูกขาด เพราะมีบางสำนักยังคงใหอิสระ
ในการเลือกถือปฏิบัติ ดวยตระหนักและใหอิสระแกมนุษยไดเลือกดวย
ตนเอง จากประเด็นนี้เองที่ทำใหปรัชญามีความแตกตางจากศาสนา เพราะ
ศาสนาสวนมากจะผูกมัดอยูกับการปฏิบัติควบคูกับความเชื่อที่ตองไปดวยกัน
การปฏิบัติหรือยอมดำเนินการในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สะทอนใหเห็นถึงความเชื่อ
ในสิ่งนั้น การที่มนุษยมีความเชื่อในเรื่องใด มนุษยจะทำพฤติกรรมที่
สอดคลองกับความเชื่อนั้น กลาวอีกนัยหนึ่งวา การที่มนุษยไมประพฤติ
ในเรื่องใด แสดงใหเห็นชัดวา มนุษยนั้น ไมมีความเชื่อในเรื่องนั้น เพราะ
ความเชื่อจะแสดงออกเปนการยอมรับและปฏิบัติตาม มักจะไดยินผูใหญ
พูดกันเสมอวา ใหเชื่อฟง หมายความวา การเชื่อฟงไมไดเปนเพียงการฟง
เทานั้น หากตองมีการทำตามดวย ไมใชเปนเพียงรับรูตามที่ไดยินแลว
ไมสนใจปฏิบัติ หากเปนเชนนี้ มนุษยมักถูกตำหนิเสมอวาเปนผูไมเชื่อฟง
มนุษยจะเกี่ยวพันกับความเชื่อมากกวาความรู เพราะถึงแมจะมีความรู
มากมาย แตถาไมมีความเชื่อถือในความรูนั้นวาใชใหเกิดประโยชนไดจริง
มนุษยจะไมมีการนำความรูนั้นมาใช คงปลอยใหเปนความรูนอนนิ่งอยูใน
ความทรงจำหรืออาจถูกลืมไปแลวก็ได ตรงกันขาม หากมนุษยนำความรู
ที่มีอยูออกมาใช นั่นแสดงวา มนุษยไดยอมรับ คือ เชื่อในความรูนั้น โดย
นัยนี้ จะเห็นวา ความรูกับความเชื่อมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด แตถา
มองจากมุมสูง จะเห็นวา ความเชื่อจะมีบทบาทมากกวาความรู เพราะ
ความเชื่อมีนัยแหงการยอมรับมาปฏิบัติดวย แมบางทานจะบอกวา ฉัน
เรียนรูเพื่อที่จะเชื่อ หรือฉันเชื่อเพื่อที่จะรู ก็ตาม แตทายที่สุด เมื่อเกิด
กระบวนการกระทำขึ้น กระบวนการกระทำนั้นเปนบทสรุปของความเชื่อ
AW_Bhuddhist#4.indd 8AW_Bhuddhist#4.indd 8 4/23/13 12:43:11 PM4/23/13 12:43:11 PM
พุทธอภิปรัชญา 9
เปนความเชื่อที่มีความรูและเปนความเชื่อในความรู
พุทธปรัชญาจึงใหความสำคัญทั้งแกศรัทธาและปญญา (ความเชื่อ
กับความรู) วาจะตองฝกฝน พัฒนาใหมีในอัตราที่เทาเทียมกัน จะรูกอน
แลวจึงเชื่อ หรือจะเชื่อกอนแลวจึงรู ไมเปนปญหา แตที่สำคัญ คือ ตอง
ปรับทั้งความเชื่อและความรูใหเกิดขึ้นอยางเทาเทียม ไมควรใหโนมเอียงไป
ในฝายหนึ่งฝายใด ทั้งในแงการดำเนินชีวิตในสังคมและการปฏิบัติเพื่อ
บรรลุเปาหมายบางอยางในชีวิต เพราะมนุษยหากมีศรัทธามากไป หรือมีแต
ศรัทธาแตขาดปญญา จะกลายเปนคนงมงายเชื่องาย ไมเปนตัวของตัวเอง
หากมีปญญามากไปแตขาดศรัทธา จะกลายเปนคนกาวราว ถือดี ซึ่งมี
ปญหาพอ ๆ กัน โดยนัยนี้ พุทธปรัชญาจึงมีทั้งลักษณะเปนศาสนาและ
ปรัชญา อันเปนลักษณะประการหนึ่งของปรัชญาตะวันออก ที่สวนใหญ
จะไมแยกศาสนาและปรัชญาออกจากกันอยางเด็ดขาด แนวคิดและทฤษฎี
นั้นตองควบคูไปกับการปฏิบัติดวย
ในความเปนจริง ไมใชเรื่องงายที่จะทำใหความเชื่อกับความรู
เทาเทียมกัน และไมงายที่จะปรับใหมีความเสมอกัน ทั้งยังรูไดไมงายนักวา
ทั้งสองนั้นเสมอกันแลวหรือยัง ทั้งของตนเองและของผูอื่น ยิ่งของบุคคลอื่น
ยิ่งยากที่จะหยั่งรู ปรากฏการณชีวิตของมนุษยปจจุบันจึงมีความเหลื่อมล้ำ
ระหวางศรัทธากับปญญาปรากฏใหเห็นอยูเสมอ เมื่อไรก็ตาม ที่มนุษย
สามารถปรับศรัทธาและปญญาใหสมดุลกันไดแลว การดำเนินชีวิตของ
มนุษยในโลกจะมีความเกี่ยวพันกับศรัทธาและปญญาอยางใกลจริง เพราะ
ทั้งสองเปนพลังภายในที่คอยขับเคลื่อนใหเกิดการกระทำกิจกรรมของ
มนุษยอยางมีประสิทธิภาพ
อยางไรก็ตาม ศรัทธาและปญญาเปนธรรมชาติประการหนึ่งของ
มนุษย เปนธรรมชาติที่เปนนามธรรมอยูภายในจิตใจ ซึ่งพุทธปรัชญาเรียกวา
เจตสิก หรือ เจตสิกธรรม คือ คุณสมบัติหนึ่งของจิตใจที่เกิด ดับพรอมกับ
AW_Bhuddhist#4.indd 9AW_Bhuddhist#4.indd 9 4/23/13 12:43:11 PM4/23/13 12:43:11 PM
10 พุทธอภิปรัชญา
จิต มีที่อยูอันเดียวกันกับจิต๑๒
และมีอารมณสำหรับยึดเหนี่ยวอันเดียวกัน
กับจิต เรียกอีกอยางหนึ่งวา สังขารขันธ อันเปนขันธหนึ่งในขันธ ๕ ที่เปน
องคประกอบหนึ่งของมนุษย เปนธรรมชาติอยางหนึ่งของมนุษยที่เปนการ
ปรุงแตงจิต ในมหาสติปฏฐานสูตร๑๓
มีขอความกลาวถึงธรรมชาตินี้วา
จิตในจิต ในแงปฏิบัติเพื่อขัดเกลากิเลส ฝกฝนอบรมตน ผูปฏิบัติตองใสใจ
กับจิตในจิตนี้อยางเครงครัด เฝาระวังและกำหนดความคิดตาง ๆ ที่เกิดขึ้น
ใหเทากัน พูดโดยภาษาสามัญทั่วไป คือ กำหนดรูเทาทันความคิด (จิต)
ของผูคิด (ในจิต) รูเทาทันความคิดในความคิด
พุทธปรัชญาเถรวาทจะใหความสำคัญแกศรัทธาและปญญาทั้งสองนี้
อยางมาก หากเราศึกษาคนควาดูในพระไตรปฎก โดยเฉพาะพระสุตตันต-
ปฎกจะพบวา ทุกครั้งที่พระพุทธเจาตรัสสอนคำสอนที่ขึ้นตนดวยศรัทธาและ
ตอดวยคำสอนอื่น ๆ เชน ความเพียร (วิริยะ) หรืออื่น ๆ ใด เมื่อจบการตรัส
สอนในชุดนี้ ทรงลงทายดวยคำสอนเรื่องปญญาเสมอ เชน พละ ๕ (ศรัทธา
วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา) อินทรีย ๕ (ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา)
อิทธิบาท ๔ (ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) พรหมวิหาร ๔ (เมตตา กรุณา
มุทิตา อุเบกขา) หมวดธรรมที่ยกเปนตัวอยางนี้ แสดงใหเห็นถึงการให
คุณคาของศรัทธาและปญญา และที่สำคัญหมวดธรรมตองดำเนินไปเปนชุด
และปฏิบัติใหครบชุด จึงใหผลอยางสมบูรณได ไมใชเนนเฉพาะขอใด
ขอหนึ่งในหมวดธรรมนั้น ๆ แสดงใหเห็นวา หลักการเบื้องตนของพุทธ-
ปรัชญาถือวา ชีวิตมนุษยจะเขาสูภาวะความสมดุลไดตองมีความเพียบพรอม
ทั้งศรัทธาและปญญา การดำเนินชีวิตของผูนั้น ยอมเปนแนวทางที่สงบสุขได
๑๒
อภิธรรมปฎก กถาวัตถุ ๓๗/๑๑๓๖/๔๖๐-๔๖๑.
๑๓
ทีฆนิกาย มหาวรรค ๑๐/๒๘๙/๒๒๒.
AW_Bhuddhist#4.indd 10AW_Bhuddhist#4.indd 10 4/23/13 12:43:12 PM4/23/13 12:43:12 PM

More Related Content

What's hot

บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
Padvee Academy
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
native
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
Chainarong Maharak
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
niralai
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
Padvee Academy
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
 

What's hot (20)

บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 

Similar to พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ

กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิดกลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
freelance
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
freelance
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบsarawu5
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
Padvee Academy
 
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
Muttakeen Che-leah
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGmsประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
pyopyo
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 
Bhaddhatath Dhamma
Bhaddhatath Dhamma  Bhaddhatath Dhamma
Bhaddhatath Dhamma
Sarayuth Codeblue
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
Padvee Academy
 

Similar to พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ (20)

กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิดกลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
02life
02life02life
02life
 
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGmsประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
Bhaddhatath Dhamma
Bhaddhatath Dhamma  Bhaddhatath Dhamma
Bhaddhatath Dhamma
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ

  • 1. บทที่ ๑.๑ ความนำ พุทธปรัชญา เปนปรัชญาระบบหนึ่งของปรัชญาตะวันออก กอกำเนิดขึ้นในประเทศอินเดียโบราณ เมื่อ ๒,๕๐๐ กวาปกอน ประเทศ อินเดียในสมัยนั้นเรียกวา ชมพูทวีป โดยเจาชายสิทธัตถะแหงกรุง กบิลพัสดุ แควนสักกะ ผูที่เกิดความสงสัยในสภาพปญหาชีวิตของมนุษย คือ ความแก ความเจ็บ และความตาย วา ทำไม มนุษยตองตกอยูในสภาพ เชนนั้น แมปญหาเหลานี้เปนสภาพปญหาที่ประจักษในชีวิต แตก็ไมมีใคร ตั้งขอสงสัยวา ทำไม จึงเปนเชนนั้น ไมมีใครคิดที่จะแกปญหานี้ อาจเพราะ ไมไดมองไมไดคิดวา มันเปนปญหาชีวิต จึงมองวาเปนเรื่องธรรมดาของ ชีวิต แตสำหรับเจาชายสิทธัตถะเมื่อไดพบเห็นสภาพปญหาเหลานี้ กลับ ทรงเห็นวา นี่คือปญหาใหญสำหรับมนุษย เมื่อทรงมองยอนกลับเขาหา พระองควา จะทรงตกอยูในสภาวะเชนนั้นดวยเชนกัน ยิ่งทรงไมสามารถ ยอมรับสภาพปญหาเชนนี้ได ยิ่งไปกวานี้ ทรงไมตองการใหมวลมนุษยตอง ตกอยูในสภาวะเชนนั้น จึงทรงมีความคิดที่จะหาทางแกไขปญหาที่วา จะ ทำอยางไร มนุษยจึงจะไมแก ไมเจ็บ และไมตาย สภาวะที่ไมมีความแก ความเจ็บ และความตาย มีอยูหรือไม ? บทนำ AW_Bhuddhist#4.indd 1AW_Bhuddhist#4.indd 1 4/23/13 12:43:09 PM4/23/13 12:43:09 PM
  • 2. 2 พุทธอภิปรัชญา เพื่อจะไขปญหาดังกลาว พระองคไดทรงตั้งสมมติฐานจากสภาพ แวดลอมที่ประจักษอันมีภาวะที่ตรงกันขามวา สรรพสิ่งในโลกมีภาวะที่ ตรงกันขามกัน เชน มีความรอน มีความเย็น มีความมืด มีความสวาง มีขาว มีดำ ดังนั้น เมื่อมีความแก ความเจ็บ และความตาย จึงตองมีความไมแก ความไมเจ็บ และความไมตายดวยเชนกัน ในที่สุดทรงเห็นวา หนทางที่จะ สามารถขบคิด แสวงหาคำตอบนี้ได ตองเปนหนทางที่สงบ ไมมีภาระหรือ พันธะหนาที่ที่จะตองรับผิดชอบมากนัก ไมมีความวุนวาย แนวทางแกไขปญหา นี้ ตองเอื้ออำนวยดวย และแนวทางที่วานี้ ทรงตระหนักชัดวา เพศของความ เปนนักบวชเทานั้น ที่จะเอื้อใหทำหนาที่นี้สำเร็จลุลวงได เพราะเสนทางของ ความเปนฆราวาสหรือคนที่ครองเรือนคับแคบไมเอื้อตอการทำภารกิจนี้๑ เจาชายสิทธัตถะจึงทรงเลือกเพศสมณะแลวเสด็จออกผนวช ใชเวลา ประมาณ ๖ ป ในการคิดคนวิเคราะหคำตอบของโจทยที่ตั้งไว ในที่สุด ทรง พบวา ปญหาชีวิตเรื่องความแก ความเจ็บ และความตายของมนุษยนั้น มี ความเชื่อมโยงถึงกัน การที่มนุษยตองตายนั้น เพราะมีสภาวะรางกายตก อยูในความเจ็บปวย ที่เกิดขึ้นเมื่อรางกายไดทรุดโทรมไปดวยเงื่อนไขดาน กาลเวลาและปจจัยอื่น ๆ และความแกทรุดโทรมนี้เกิดขึ้นสืบเนื่องมาจาก การเกิด หากมนุษยมีการเกิดขึ้น จึงหลีกเลี่ยงไมไดที่จะตองแก เจ็บ และ ตายในที่สุด ดังนั้น หากมนุษยไมตองการแก เจ็บ และตายอีกตอไป ตองไม เกิดอีก ไมวาในภพภูมิไหน ๆ พระพุทธเจาทรงตรัสย้ำเสมอวา การเกิด เปนความทุกข๒ ทั้งในตัว ของมันเองและเหตุปจจัยใหความทุกขอื่นตามมาอีก เชน ความทุกขเพราะ ความแก ความเจ็บ ความตาย ยิ่งการเกิดขึ้นมีบอยมากเทาไร ชีวิตมนุษยมี ๑ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณาสก ๑๓/๗๓๘/๖๖๙. ๒ วินัยปฎก มหาวรรค ๔/๑๔/๑๘. AW_Bhuddhist#4.indd 2AW_Bhuddhist#4.indd 2 4/23/13 12:43:09 PM4/23/13 12:43:09 PM
  • 3. พุทธอภิปรัชญา 3 ๓ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๒๑/๓๕. ๔ อังคุตรนิกาย จตุกกนิบาต ๒๑/๕/๗., ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๓๔/๖๑. ๕ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๔๔/๓๙. ความทุกขมากขึ้นเทานั้น๓ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ชีวิตของมนุษยปุถุชนที่ ไมสำรวมในกามคุณทั้งหลาย ผูที่ยังมีตัณหาอยู๔ อยางไรก็ตาม ทรงคนพบวา ความเกิดเปนมนุษยและสัตว ไมใชเปนการเกิดขึ้นลอย ๆ โดยไมมีเหตุ ไมมีปจจัย และเหตุปจจัยที่ทำใหเกิดชีวิตมนุษยและสัตวนั้น มีทั้งเหตุ ปจจัยภายในและเหตุปจจัยภายนอกประกอบกันขึ้น เหตุปจจัยภายนอกนั้น ไดแก การมีเพศสัมพันธทุกรูปแบบที่ไมมีการปองกันการเกิด แมกระทั่ง กระบวนการทางวิทยาศาสตรที่นำกระบวนการธรรมชาติมาดำเนินการใน หองทดลอง โดยผานเครื่องมือทางเทคโนโลยีสมัยใหมที่นำมาใชประกอบ กับวิทยาการที่พัฒนาขึ้นหรือที่เรียนรูกฎเกณฑของธรรมชาติมากขึ้น เหตุ ปจจัยภายใน ไดแก กระแสความอยาก ความใคร ความกระสันทางกามารมณ ที่อยูในใจของมนุษย ตลอดจนบุญกุศลที่สะสมอบรมมาใหถือกำเนิด ในมนุษย ดวยเหตุปจจัยหลากหลายดังกลาว การเกิดเปนมนุษยจึงเปน เรื่องยาก๕ อยางไรก็ตาม การเกิดเปนมนุษย แมเปนเรื่องยากก็จริง แตเมื่อเกิด เปนมนุษยแลว การจะไมเกิดในภพอื่นอีกตอไป ยิ่งยากกวา เพราะการไม เกิดอีกตอไปนั้น จะตองควบคุม ขจัด ขัดเกลาเหตุปจจัยทั้งภายนอกและ ภายในดังกลาวไปพรอม ๆ กัน การควบคุมปองกันเหตุปจจัยภายนอกนั้น สามารถทำไดทั้งวิธีการตามธรรมชาติและวิธีการทางเทคโนโลยีการแพทย สมัยใหมมีการพัฒนาขึ้นตามลำดับ แตกระนั้นก็ตาม วิธีการที่วานี้ยังไม ปลอดภัยรอยเปอรเซ็นต และตองใชตนทุนทางวัตถุสูง อาจตองเสียทั้งเงิน จำนวนมากและความรูสึก ตลอดจนผลกระทบดานรางกาย โดยเฉพาะ AW_Bhuddhist#4.indd 3AW_Bhuddhist#4.indd 3 4/23/13 12:43:09 PM4/23/13 12:43:09 PM
  • 4. 4 พุทธอภิปรัชญา อยางยิ่ง หากใชวิธีการนี้เปนผลสำเร็จจริง คือ ไมมีการเกิดขึ้นของมนุษย แตสัมฤทธิผลที่วานี้ เปนเพียงวิธีการทำไมใหคนอื่นเกิดขึ้นเทานั้น ไมได ทำใหมนุษยผูเกิดมาแลวหมดสาเหตุแหงการเกิดตอไปแตประการใด วิธีการ ทางวิทยาศาสตรจึงปองกันไดเฉพาะการเกิดของผูอื่นเทานั้น ไมไดปองกัน การเกิดของตนเอง แตเปาหมายสูงสุดของพุทธปรัชญามิไดประสงค เพียงการไมใหผูอื่นเกิดเทานั้น แตเปาหมายที่แทจริงคือ การทำใหตนเอง ไมตองเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏอีกตอไปดวย การจะทำใหบรรลุ เปาหมายดังกลาวนี้ ไมมีใครสามารถทำแทนได ไมวาจะเปนพรหม เทวดา ยักษ หรือมาร นอกจากมนุษยจะทำดวยตนเองเทานั้น ดังนั้น การขจัด ขัดเกลาปจจัยภายในใจของมนุษยนั้น มนุษยตองกระทำดวยตนเอง แมพระสัมมาสัมพุทธเจาก็ทรงเปนเพียงผูบอกทางใหเทานั้น การดำเนิน ตามทางนั้นเปนหนาที่ของผูจะดำเนินตาม๖ ดวยเหตุผลนี้ พระพุทธเจาจึงทรงชี้แนะวิธีการเพื่อบรรลุเปาหมาย ดังกลาวใหครอบคลุม ปองกันและจัดการกับเหตุปจจัยทั้ง ๒ อยางไป พรอมๆ กัน เพื่อใหไดผลทั้งตนเองและผูอื่น หลังจากพระองคทรงไดขอคิด นี้จากอุปมา ๓ ขอ คือ เปรียบเสมือนไมสดที่แชน้ำ (ชีวิตที่ครองเรือน) ไม สามารถนำมาสีใหเกิดไฟได (ไมสามารถทำที่สุดแหงทุกขได) หรือไมสดที่อยู บนบก (ชีวิตที่ไมครองเรือน) ไมสามารถนำมาสีใหเกิดไฟได (เพราะยังมีเหตุ ภายในที่เปนกิเลสตัณหาอยู) ไมที่จะนำสีใหเกิดไฟไดนั้น ตองเปนไมแหง และอยูบนบก ลำพังชีวิตนักบวชที่ไมครองเรือนอยางเดียวหากยังมียาง เหนียวแหงทุกขอยูในใจยอมไมถึงที่สุดแหงทุกขเชนกัน๗ ระบบความคิด แบบพุทธปรัชญาจึงเกิดขึ้นดวยเหตุผลดังกลาว ๖ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๓๐/๕๑. ๗ มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก ๑๒/๔๑๔/๓๑๖-๓๑๗. AW_Bhuddhist#4.indd 4AW_Bhuddhist#4.indd 4 4/23/13 12:43:10 PM4/23/13 12:43:10 PM
  • 5. พุทธอภิปรัชญา 5 พุทธปรัชญาจึงเสนอวา สาเหตุที่แทจริงของการเกิดและความทุกข ของมนุษย คือ ตัณหา๘ ดังนั้น การที่มนุษยตองการที่จะไมเกิดอีกตอไป จำตองฝกฝนอบรมตนเพื่อขัดเกลาตัณหา ขจัดใหหมดไปจากจิตใจอยาง สิ้นเชิง เมื่อทำไดเชนนั้น มนุษยจะปราศจากความทุกขเพราะการเกิดและ ความทุกขอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องดวยการเกิดนั้น การคุมกำเนิดจึงไมใชการคุมการเกิดของตนเอง แตเปนการคุมการ เกิดของบุคคลอื่น การคุมการเกิดของตนเอง มนุษยตองทำดวยตนเอง พุทธปรัชญานำเสนอมรรควิธีในการขจัดตัณหาพาใหเกิดนั้นเรียกวา อริย- มรรคมีองค ๘ หากมนุษยไมอยากจะเกิดอีกตอไปดวยเล็งเห็นชัดดวย ปญญาวา การเกิดเปนความทุกข ทั้งของผูทำใหเกิดและของผูเกิดมาเอง จึงควรอยางยิ่งที่จะดำเนินตามแนวทางแหงอริยมรรคมีองค ๘ ดังกลาว ๘ วินัยปฎก มหาวรรค ๔/๑๔/๑๙. AW_Bhuddhist#4.indd 5AW_Bhuddhist#4.indd 5 4/23/13 12:43:10 PM4/23/13 12:43:10 PM
  • 6. 6 พุทธอภิปรัชญา ๑.๒ ลักษณะเดนของพุทธปรัชญา ลักษณะที่เดนของพุทธปรัชญา คือ การมองชีวิตโลกตามความเปนจริง ไมไดมองดวยความตองการใหมันเปนไปตามที่ประสงค ความเปนจริงที่วา นั้นมีเหตุปจจัยที่โยงใยกันอยูเปนเครือขาย พุทธปรัชญาจึงมุงชี้ใหเห็น ความเปนจริงถึงความมีเหตุปจจัยนั้น และวิธีการจัดการกับเหตุปจจัยเหลานั้น อยางเทาทัน๙ พุทธปรัชญาจะเปนระบบปรัชญาที่เสนอความจริง ความรู และการปฏิบัติเพื่อเขาถึงความจริงนั้นในกระบวนเดียวกัน เปนระบบปรัชญา ที่เสนอเฉพาะความจริงที่มีประโยชนตอการดำเนินชีวิตพรอมวิธีการ ทำความเขาใจและการปฏิบัติไปดวยในตัว พุทธปรัชญามองภาพชีวิตมนุษยตามความเปนจริง ๒ ภาพใหญ คือ (๑) ภาพที่เห็นวาเปนปญหาชีวิต เรียกวา ทุกข (๒) ภาพชีวิตที่เห็นวาเปนสภาวะ ที่ปราศจากปญหาเรียกวา สุข ไมวาจะภาพชีวิตในดานไหน พุทธปรัชญา ไดแสดงเหตุผลแหงความเปนเชนนั้น เพื่อชี้ใหเห็นวา ทุกขหรือสุขก็ตาม ไมได เกิดขึ้นเองโดยไมมีเหตุปจจัยใด ๆ การแสดงเหตุปจจัยแหงความทุกขและ ความสุขนี้ จึงเปนการแสดงถึงระบบการปฏิบัติหรือระบบจริยธรรมเพื่อให บรรลุถึงเปาหมายไวดวย พุทธปรัชญาจึงมีลักษณะเปนปรัชญาชีวิต ที่มุงสรางสรรคภูมิปญญา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและแกไขปญหาชีวิตของมนุษยใหมากที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่ง พุทธปรัชญาเถรวาท จะเนนเรื่องนี้เปนประการสำคัญ ดังนั้น หากมีประเด็นปญหาที่ไมเกี่ยวกับการแกปญหาชีวิต เมื่อถกเถียง ปญหาใดกันแลว คุณภาพชีวิตไมไดดีขึ้น ปญหานั้น พุทธปรัชญาจะไมให ความสนใจมากนัก มีหลักฐานในคัมภีรที่บงชี้วา พระพุทธองคทรงปฏิเสธ ๙ วินัยปฎก มหาวรรค ๔/๖๘/๗๖. AW_Bhuddhist#4.indd 6AW_Bhuddhist#4.indd 6 4/23/13 12:43:10 PM4/23/13 12:43:10 PM
  • 7. พุทธอภิปรัชญา 7 ที่จะตอบปญหาที่ไมชวยแกไขปญหาชีวิตหรือไมชวยใหมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น เชน อัพยากตปญหา ที่มุงใหยืนยันแนวคิดแบบสุดขั้ว๑๐ เนื่องจากพุทธปรัชญาเปนปรัชญาตะวันออก จึงมีลักษณะบางประการ ที่แตกตางจากตะวันตก ประการแรก พุทธปรัชญาจะสนใจศึกษาเรื่อง ที่เกี่ยวกับมนุษย โดยเฉพาะแนวทางที่จะทำใหชีวิตมนุษยมีความสุข ปราศจากความทุกข ประการที่ ๒ พุทธปรัชญาไมไดมุงเนนแตเพียงทฤษฎี เทานั้น แตมุงใหนำความรูไปปฏิบัติใหไดผลจริงดวย ซึ่งปรัชญาตะวันตก จะไมเนนใหประพฤติปฏิบัติ แตใหอิสระในการเลือกปฏิบัติ กลาวคือจะนำ ไปใชในชีวิตประจำวันหรือไมก็ได กระนั้นก็ตาม พุทธปรัชญา แมมีเนื้อหา สาระที่บอกวา อะไรดี อะไรไมดี ควรทำอะไร ไมควรทำอะไร แตก็ยังใหอิสระ ในการเลือกปฏิบัติ โดยปลอยเปนหนาที่ของผูฟงหรือสาวกในการตัดสินใจ พระพุทธเจาเปนแตเพียงผูบอกชี้แนะเทานั้น๑๑ ลักษณะหลังนี้ ทำให พระพุทธศาสนามีความเหมือนกับปรัชญาตามแนวคิดทางตะวันตก อยางไรก็ตาม ลักษณะการใหอิสระในการเลือกถือปฏิบัตินี้ ดูเหมือน ในลักษณะที่เดนของปรัชญาทุกระบบ แมวาจะไมมีขอผูกมัดในการนำไป ปฏิบัติก็ตาม แตหากผูศึกษาเกิดความรูตามที่ศึกษาวิเคราะหแลว อาจนำ ไปเปนแนวทางในการดำเนินชีวิตได โดยเฉพาะอยางยิ่ง การถือวามนุษยมี ความรู มีเกณฑการตัดสินอยูประการหนึ่ง คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ใหสอดคลองกับความรูนั้นอยางมีเปาหมายและอยางตั้งใจ ดังนั้น โดยนัยนี้ หากมนุษยมีความรูมากมายหลายสาขา แตมีพฤติกรรมที่ไมสอดคลองกับ ความรูนั้น หรือไมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดีที่พึงประสงคแลว ยังไมนับวาเปนผูที่มีความรูสมบูรณ ถือไดวาเปนเพียงผูมีความรูจำมาก ๑๐ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค ๙/๒๙๒/๒๓๒. ๑๑ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ๒๕/๓๐/๕๑. AW_Bhuddhist#4.indd 7AW_Bhuddhist#4.indd 7 4/23/13 12:43:11 PM4/23/13 12:43:11 PM
  • 8. 8 พุทธอภิปรัชญา เทานั้น เพราะยังไมเปนหนึ่งเดียวกับความรูนั้น ขอนี้นาขบคิดมากทีเดียว เพราะมิเชนนั้นแลว โลกจะคาดหวังสันติสุขไมไดจากการมีความรูของมนุษย ปรัชญาตะวันออกสวนมาก มักจะใหความสำคัญตอการมีประโยชน จริง การนำไปใชไดจริง แตไมถึงกับผูกขาด เพราะมีบางสำนักยังคงใหอิสระ ในการเลือกถือปฏิบัติ ดวยตระหนักและใหอิสระแกมนุษยไดเลือกดวย ตนเอง จากประเด็นนี้เองที่ทำใหปรัชญามีความแตกตางจากศาสนา เพราะ ศาสนาสวนมากจะผูกมัดอยูกับการปฏิบัติควบคูกับความเชื่อที่ตองไปดวยกัน การปฏิบัติหรือยอมดำเนินการในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สะทอนใหเห็นถึงความเชื่อ ในสิ่งนั้น การที่มนุษยมีความเชื่อในเรื่องใด มนุษยจะทำพฤติกรรมที่ สอดคลองกับความเชื่อนั้น กลาวอีกนัยหนึ่งวา การที่มนุษยไมประพฤติ ในเรื่องใด แสดงใหเห็นชัดวา มนุษยนั้น ไมมีความเชื่อในเรื่องนั้น เพราะ ความเชื่อจะแสดงออกเปนการยอมรับและปฏิบัติตาม มักจะไดยินผูใหญ พูดกันเสมอวา ใหเชื่อฟง หมายความวา การเชื่อฟงไมไดเปนเพียงการฟง เทานั้น หากตองมีการทำตามดวย ไมใชเปนเพียงรับรูตามที่ไดยินแลว ไมสนใจปฏิบัติ หากเปนเชนนี้ มนุษยมักถูกตำหนิเสมอวาเปนผูไมเชื่อฟง มนุษยจะเกี่ยวพันกับความเชื่อมากกวาความรู เพราะถึงแมจะมีความรู มากมาย แตถาไมมีความเชื่อถือในความรูนั้นวาใชใหเกิดประโยชนไดจริง มนุษยจะไมมีการนำความรูนั้นมาใช คงปลอยใหเปนความรูนอนนิ่งอยูใน ความทรงจำหรืออาจถูกลืมไปแลวก็ได ตรงกันขาม หากมนุษยนำความรู ที่มีอยูออกมาใช นั่นแสดงวา มนุษยไดยอมรับ คือ เชื่อในความรูนั้น โดย นัยนี้ จะเห็นวา ความรูกับความเชื่อมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด แตถา มองจากมุมสูง จะเห็นวา ความเชื่อจะมีบทบาทมากกวาความรู เพราะ ความเชื่อมีนัยแหงการยอมรับมาปฏิบัติดวย แมบางทานจะบอกวา ฉัน เรียนรูเพื่อที่จะเชื่อ หรือฉันเชื่อเพื่อที่จะรู ก็ตาม แตทายที่สุด เมื่อเกิด กระบวนการกระทำขึ้น กระบวนการกระทำนั้นเปนบทสรุปของความเชื่อ AW_Bhuddhist#4.indd 8AW_Bhuddhist#4.indd 8 4/23/13 12:43:11 PM4/23/13 12:43:11 PM
  • 9. พุทธอภิปรัชญา 9 เปนความเชื่อที่มีความรูและเปนความเชื่อในความรู พุทธปรัชญาจึงใหความสำคัญทั้งแกศรัทธาและปญญา (ความเชื่อ กับความรู) วาจะตองฝกฝน พัฒนาใหมีในอัตราที่เทาเทียมกัน จะรูกอน แลวจึงเชื่อ หรือจะเชื่อกอนแลวจึงรู ไมเปนปญหา แตที่สำคัญ คือ ตอง ปรับทั้งความเชื่อและความรูใหเกิดขึ้นอยางเทาเทียม ไมควรใหโนมเอียงไป ในฝายหนึ่งฝายใด ทั้งในแงการดำเนินชีวิตในสังคมและการปฏิบัติเพื่อ บรรลุเปาหมายบางอยางในชีวิต เพราะมนุษยหากมีศรัทธามากไป หรือมีแต ศรัทธาแตขาดปญญา จะกลายเปนคนงมงายเชื่องาย ไมเปนตัวของตัวเอง หากมีปญญามากไปแตขาดศรัทธา จะกลายเปนคนกาวราว ถือดี ซึ่งมี ปญหาพอ ๆ กัน โดยนัยนี้ พุทธปรัชญาจึงมีทั้งลักษณะเปนศาสนาและ ปรัชญา อันเปนลักษณะประการหนึ่งของปรัชญาตะวันออก ที่สวนใหญ จะไมแยกศาสนาและปรัชญาออกจากกันอยางเด็ดขาด แนวคิดและทฤษฎี นั้นตองควบคูไปกับการปฏิบัติดวย ในความเปนจริง ไมใชเรื่องงายที่จะทำใหความเชื่อกับความรู เทาเทียมกัน และไมงายที่จะปรับใหมีความเสมอกัน ทั้งยังรูไดไมงายนักวา ทั้งสองนั้นเสมอกันแลวหรือยัง ทั้งของตนเองและของผูอื่น ยิ่งของบุคคลอื่น ยิ่งยากที่จะหยั่งรู ปรากฏการณชีวิตของมนุษยปจจุบันจึงมีความเหลื่อมล้ำ ระหวางศรัทธากับปญญาปรากฏใหเห็นอยูเสมอ เมื่อไรก็ตาม ที่มนุษย สามารถปรับศรัทธาและปญญาใหสมดุลกันไดแลว การดำเนินชีวิตของ มนุษยในโลกจะมีความเกี่ยวพันกับศรัทธาและปญญาอยางใกลจริง เพราะ ทั้งสองเปนพลังภายในที่คอยขับเคลื่อนใหเกิดการกระทำกิจกรรมของ มนุษยอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม ศรัทธาและปญญาเปนธรรมชาติประการหนึ่งของ มนุษย เปนธรรมชาติที่เปนนามธรรมอยูภายในจิตใจ ซึ่งพุทธปรัชญาเรียกวา เจตสิก หรือ เจตสิกธรรม คือ คุณสมบัติหนึ่งของจิตใจที่เกิด ดับพรอมกับ AW_Bhuddhist#4.indd 9AW_Bhuddhist#4.indd 9 4/23/13 12:43:11 PM4/23/13 12:43:11 PM
  • 10. 10 พุทธอภิปรัชญา จิต มีที่อยูอันเดียวกันกับจิต๑๒ และมีอารมณสำหรับยึดเหนี่ยวอันเดียวกัน กับจิต เรียกอีกอยางหนึ่งวา สังขารขันธ อันเปนขันธหนึ่งในขันธ ๕ ที่เปน องคประกอบหนึ่งของมนุษย เปนธรรมชาติอยางหนึ่งของมนุษยที่เปนการ ปรุงแตงจิต ในมหาสติปฏฐานสูตร๑๓ มีขอความกลาวถึงธรรมชาตินี้วา จิตในจิต ในแงปฏิบัติเพื่อขัดเกลากิเลส ฝกฝนอบรมตน ผูปฏิบัติตองใสใจ กับจิตในจิตนี้อยางเครงครัด เฝาระวังและกำหนดความคิดตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ใหเทากัน พูดโดยภาษาสามัญทั่วไป คือ กำหนดรูเทาทันความคิด (จิต) ของผูคิด (ในจิต) รูเทาทันความคิดในความคิด พุทธปรัชญาเถรวาทจะใหความสำคัญแกศรัทธาและปญญาทั้งสองนี้ อยางมาก หากเราศึกษาคนควาดูในพระไตรปฎก โดยเฉพาะพระสุตตันต- ปฎกจะพบวา ทุกครั้งที่พระพุทธเจาตรัสสอนคำสอนที่ขึ้นตนดวยศรัทธาและ ตอดวยคำสอนอื่น ๆ เชน ความเพียร (วิริยะ) หรืออื่น ๆ ใด เมื่อจบการตรัส สอนในชุดนี้ ทรงลงทายดวยคำสอนเรื่องปญญาเสมอ เชน พละ ๕ (ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา) อินทรีย ๕ (ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา) อิทธิบาท ๔ (ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) พรหมวิหาร ๔ (เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา) หมวดธรรมที่ยกเปนตัวอยางนี้ แสดงใหเห็นถึงการให คุณคาของศรัทธาและปญญา และที่สำคัญหมวดธรรมตองดำเนินไปเปนชุด และปฏิบัติใหครบชุด จึงใหผลอยางสมบูรณได ไมใชเนนเฉพาะขอใด ขอหนึ่งในหมวดธรรมนั้น ๆ แสดงใหเห็นวา หลักการเบื้องตนของพุทธ- ปรัชญาถือวา ชีวิตมนุษยจะเขาสูภาวะความสมดุลไดตองมีความเพียบพรอม ทั้งศรัทธาและปญญา การดำเนินชีวิตของผูนั้น ยอมเปนแนวทางที่สงบสุขได ๑๒ อภิธรรมปฎก กถาวัตถุ ๓๗/๑๑๓๖/๔๖๐-๔๖๑. ๑๓ ทีฆนิกาย มหาวรรค ๑๐/๒๘๙/๒๒๒. AW_Bhuddhist#4.indd 10AW_Bhuddhist#4.indd 10 4/23/13 12:43:12 PM4/23/13 12:43:12 PM