SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
มนุษย์กับการแสวงหาความจริงแ
ละความหมายของชีวิต
GEN311
กลุ่ม น้องเต่าชิกูเมะ
นักเรียนคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
By
1
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
1. นางสาวกุลนันท์ แซ่เฉิน [56130500006]
ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้
หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่รวบรวมปรัชญาและแนวคิดหลายหลายแง่มุม
โดยหนังสือเล่มนี้จะแบ่งเป็นบทโดยแต่ละบทจะมีการตั้งคาถามขึ้นมาแล้วนาแนวคิ
ด ห รื อ ป รั ช ญ า ม า ต อ บ ค า ถ า ม
โดยในแต่ละหัวข้ออาจจะหลายๆปรัชญาที่มีแนวคิดไปในทางเดียวกับหรืออาจขัดแ
ย้ ง กั น
แต่ทุกๆปรัชญาล้วนแล้วแต่เกิดขึ้นมาจากการมองเห็นความจริงจากการชีวิตของม
นุ ษ ย์ แ ล้ ว น า ม าเป็ น แ น ว คิ ด ห รือ เห ตุ ผ ล เพื่ อ ม า เป็ น ข้ อ ส รุป
ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ ไ ม่ ไ ด้ บ อ ก ว่ า สิ่ ง ใ ด ถู ก ห รื อ สิ่ ง ใ ด ผิ ด
แต่จะพูดอธิบายในผู้อ่านได้คิดตามและวิเคราะห์ว่าเห็นด้วยหรือไม่ด้วยตัวเอง
2. นายปุณวัชร ปิ่นสุวรรณ [56130500042]
ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้
ได้รู้ถึงความสาคัญของการใช้ชีวิตและการทาเพื่อส่วนรวมว่าเรานั้นควรทา
ประโยชน์เพื่อส่วนรวมบ้างมิใช่ให้ประโยชน์แก่ผู้อื่นอย่างเดียวแต่ให้ประโยชน์แก่ต
นเองด้วยในแง่ที่ว่าเราใช้วิตให้มีความหมายรึยังได้เกิดสามารถหาคาตอบให้กับชีวิ
ตได้รึยังว่าตนเองนั้นเกิดมาทาไม?หนังสือเรื่องนี้สอนผมหลายๆอย่างและแต่ละอย่า
งสมารถนามาประยุกต์ใช้ได้จริงในการดารงชีวิตขึ้นอยู่กะว่าเราจะเอาแง่ในหนังสือม
าประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
2
3. นายกิตติจิต หลงคะเจ้า [56130500005]
ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้
 ทาให้รู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด สามารถเลือกปฏิบัติในทาง
ที่ถูกที่ควร
 ทาให้รู้ทางดาเนินชีวิตทั้งในส่วนตัวและสังคม
 ทาให้เข้าใจกฏความจริงของชีวิต เป็นสิ่งที่ชีวิตต้องการ ทาให้ชีวิตสมบูร
ณ์ ก า ร ศึ ก ษ า จ ริ ย ธ ร ร ม จึ ง เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า ถึ ง ก ฏ
ธรรมชาติให้รู้ว่าชีวิตที่แท้จริงคืออะไรต้องการอะไร
 การประพฤติหลักจริยธรรมเป็นการพัฒนาสิ่งมีชีวิตให้สูงขึ้นเรียกว่า มีวัฒ
นธรรมทาให้ชีวิตมนุษย์เป็นชีวิตที่ประเสริฐกว่าสัตว์ ถ้าขาดด้านจริยธรรม
แล้วคนไม่ต่างจากสัตว์แต่อย่างใด
 ทาให้รู้จักค่าของชีวิตว่า ค่าของชีวิตอยู่ที่ไหน ทาอย่างไรชีวิตจะมีค่าและ
ก็เลือกทางที่ดีมีค่าชีวิตก็มีค่าตามที่ต้องการ
4. นายพงศกร ชุติมาสกุล [56130500043]
ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้
 ได้รู้ประวัติความเป็นมา
 ได้เห็นปรัชญาต่างๆ ของแต่ละบุคคล
 ได้รู้หลักการทางวิทยาศาตร์และจริยศาสตร์
 ทาให้รู้ และ สามารถนาไปปฎิบัติในชีวิตประจาวัน
 ทาให้รู้ผิดชอบชั่วดี อะไรสมควรทา ไม่สมควรทา
5. นายกฤษฎา นาวาศรีพร [56130500088]
ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้
ทาให้เข้าใจถึงมนุษย์กับความคิดที่แตกต่างออกไปหลายแนวคิดแบ่งแยกเป็นก
ลุ่มที่ได้มาจากการพิจารณาด้านความรู้ ความเป็นจริง สิ่งแวดล้อม ความเชื่อ
ศาสนา หลายๆมุม ทาให้เราสามารถที่จะดาเนินชีวิตไปได้อย่างถูกต้องและแท้จริง
3
6. นายอาทิตย์ จิตร์มงคลสุข [56130500101]
ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้
เป็ น ห นังสือที่ชี้ให้เห็น ถึงแนวท างการดาเนิ นชีวิต ของมนุ ษ ย์
ซึ่งสามารถเป็ นแนวท างให้เราเลือกปฏิบัติที่เห็นว่า ดี เห มาะสม
ที่จะทาให้เราดาเนินชีวิตถูกต้องตามหลักจริยธรรม
7. นายณรงค์เดช นิยมาภา [56130500107]
ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้
 ทาให้รู้จักแนวคิดต่างๆในการดารงชีวิต สิ่งไหนที่เข้ากับตัวเรา
เราก็นาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์
 ทาให้รู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด และสามารถเลือกปฏิบัติใน
ทางที่ถูกและเหมาะสม
 ทาให้รู้จักคุณค่าของชีวิตว่า ทาอย่างไรชีวิตถึงจะมีคุณค่า ถึงจะมีความสุข
และอาจเลือกแนวทางปฎิบัติที่ดีให้กับตัวเองได้
8. นายพงศกร เล็กพอใจ [56130500128]
ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้
 อธิบายถึงลัทธิปรัชญาแบบต่างอย่างละเอียดและรอบคอบ
 แสดงตัวอย่างที่เข้าใจได้ง่าย สามารถเชื่อมโยงแนวคิดได้ด้วยตนเอง
 อธิบายถึงหลักการทางความคิดที่สามารถเห็นได้ในชีวิตประจาวัน
 อธิบายถึงความรับผิดชอบต่อความคิดของตนเองฃ
 ก า ร ใช้ วิธี ก า ร เขี ย น แ บ บ ชั ก จุ ง ให้ ผู้ อ่ า น ค ล้ อ ย ต า ม
ทาให้เนื้อหาน่าสนใจยิ่งขึ้น
4
CHAPTER 1 : มนุษย์คืออะไร ?
ใ น บ ท นี้ จ ะ เ ก ริ่ น น า ว่ า
เมื่อเราอธิบายมนุษย์โดยมองลึกลงไปมากกว่าศาสตร์อื่นๆเช่น วิทยาศาสตร์
ที่มองในเรื่องของสรีระหรือการทางานของอวัยวะต่างๆ โดยจะมองลึกลงไปโดย
อัตยนะ
(ปุณวัชร)ทฤษฎีสสารนิยม
(Materialism)
ทฤษฎีสสารนิยมหรือทฤษฎีวัตถุนิยม (Materialism) ได้แก่พวกที่ถือว่า
ส ส า ร แ ล ะ ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ข อ ง ส ส า ร เท่ า นั้ น เป็ น ค ว า ม แ ท้ จ ริง
จิตเป็นเพียงปรากฏการณ์ของสสาร ดังนั้น สรรพสิ่งในโลกล้วนแต่เป็นสสาร
ทฤษ ฎีสสารนิยมยุคแรก ๆ อาจได้แก่แนวความคิดทางธรรมชาติ
ที่เราเรียกว่าธรรมชาตินิยม เพ ราะถือว่า สสารเป็ นความแท้จริง
ชีวิตคือพลังงานทางฟิสิกส์และเคมีที่ซับซ้อน ส่วนจิตคือปรากฏการณ์ทางสมอง
สสารนิยม เชื่อว่าสสารเป็ นบ่อเกิดของโลกจักรวาล มนุ ษ ย์
มีร่างกายที่ปรากฏอยู่ประกอบด้วยกลไกต่าง ๆ และทางานได้ดุจเครื่องจักรกล
ส่วนจิตนั้นเป็นสิ่งที่ไม่มีอยู่จริง ลักษณะต่าง ๆ ของจิต ไม่ว่าจะเป็นความรู้สึก
นึกคิด ความเข้าใจ เป็นผลมาจากการรวมตัวของวัตถุหรือสสาร
เ มื่ อ เ ป็ น เ ช่ น นี้ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ส ส า ร นิ ย ม
จึงเป็ นความพยายามที่จะหาคาตอบเกี่ยวกับเรื่องสสารโดยเฉพาะ
แนวความคิดเกี่ยวกับสสารนิยม จึงแพร่หลายมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ
และมีทฤษฎีสสารนิยมเกิดขึ้นมากมายที่สาคัญที่สุดได้แก่ ทฤษฎีจักรกลนิยม
(Mechanicism)
ทฤษฎีจักรกลนิยม (Mechanicism) ก่อตั้งโดย โธมัส ฮ็อบส์ (Thomas
Hobbes) นั ก ส ส า ร นิ ย ม ช า ว อั ง ก ฤ ษ ถื อ ว่ า
ชีวิต แ ล ะค ว าม คิด ทุ ก อ ย่างเกิด ขึ้น ต าม ก ฎ ก ล ศ าส ต ร์ที่ ต าย ตัว
โลกเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่ตายตัวประกอบด้วยสสารและพลังงาน ดังนั้น
สสารจึงเป็นความแท้จริง ส่วนจิตคือการทาหน้าที่ของสมอง
5
(กุลนันท์)ทฤษฎีจิตนิยม
(Idealism)
ทฤษฎีจิตนิยม (Idealism) ได้แก่พวกที่ถือว่า จิตเท่านั้นเป็นความแท้จริง
สสารเป็นเพียงปรากฏการณ์ของจิตเท่านั้น ชาวจิตนิยมเชื่อว่า จิต เป็นอมตะ
ไม่สูญสลาย ร่างกายของมนุษย์เป็นเพียงปรากฏการณ์ชั่วขณะหนึ่งของจิต
เป็ น ที่ อ าศัย ชั่ว ค ราว ข อ งจิต เมื่ อ ร่างก าย ดับ ล ง จิต ก็ ยังค งอ ยู่
ไม่แตกดับไปตามร่างกาย
พวกจิตนิยม พยายามที่จะหาคาตอบให้กับตัวเองว่า จิตคืออะไร
มีบ่อเกิดมาจากอะไร มีแหล่งที่มาอย่างไร มีธรรมชาติเป็ นอย่างไร
มีจุดมุ่งหมายอย่างไร เป็นการศึกษาโลกในลักษณ ะที่เป็นนามธรรม
เพราะพวกเขาเชื่อว่า จิตเท่านั้นที่เป็นความแท้จริง สสารเป็นแต่เพียงสิ่งที่ปรากฏ
ห รือ เป็ น ป ราก ฏ ก ารณ์ ข อ งจิต ไม่ ส าม ารถ ด ารงอ ยู่ชั่วก าล น าน
หรือสสารจะต้องมีการแตกสลาย แต่จิตหรือวิญญาณไม่มีการแตกสลาย เป็นอมตะ
ดั ง นั้ น ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง จิ ต ห รือ วิ ญ ญ า ณ จึง มี ลั ก ษ ณ ะ ต่ า ง ๆ
ตามทัศนะหรือแนวความคิดของนักปรัชญาแต่ละท่าน
ช า ว จิ ต นิ ย ม บ า ง ท่ า น เชื่ อ ว่ า เมื่ อ ร่ า ง ก า ย แ ต ก ดั บ
จิตจะกลับไปสู่แหล่งดั้งเดิม กล่าวคือจิตจะกลับเข้าไปสู่จิตสัมบูรณ์
ซึ่ ง เ ป็ น บ่ อ เ กิ ด ข อ ง ส ร ร พ สิ่ ง ด้ ว ย ลั ก ษ ณ ะ ดั ง ก ล่ า ว นี้
จึงมีนักปรัชญ าตั้งลัทธิหรือทฤษฎีขึ้นมาใช้อธิบายอีกทฤษฎีหนึ่งว่า
“ทฤษฎีวิญญาณเป็นเนื้อสาร”
คาว่า “วิญญาณเป็นเนื้อสาร” ก็หมายถึงวิญญาณเป็นอมตะ คงที่
ไม่สูญสลาย ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่ว่าร่างกายจะสูญสลายหรือดับสูญไปก็ตาม
แน วคิด เกี่ ย วกับ จิต วิญ ญ าณ นี้ ได้มีก ารวิวัฒ น าก ารม าเรื่อ ย ๆ
ตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ จนกระทั่งถึงปัจจุบัน ส่วนลักษณะแนวคิดนั้น
จะเหมือนกันบ้าง คล้ายคลึงหรือแตกต่างกันบ้าง เช่น
6
เพลโต้ (Plato) นักปรัชญาเมธีที่สาคัญของกรีกโบราณ ท่านถือว่า
วิญญาณเป็นเนื้อสารทางจิต ทาหน้าที่คิด รู้สึกและจงใจ
วิญญาณส่วนที่ทาหน้าที่คิด เป็นอมตะ เพราะเป็นส่วนที่เป็นเหตุผล
เป็นส่วนแห่งสติปัญญา จะไม่สูญสลายไปในเมื่อร่างกายสูญสลายไป
เพราะไม่ถูกสร้างขึ้น
ส่ ว น วิ ญ ญ า ณ ที่ ท า ห น้ า ที่ รู้ สึ ก แ ล ะ จ ง ใ จ
เป็ น ก า ร ท า ห น้ า ที่ ร ะ ดั บ ต่ า เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ร่ า ง ก า ย โ ด ย ต ร ง
ดังนั้นเมื่อร่างกายสูญสลายไป ความรู้สึกและความจงใจใด ๆ ก็หมดไปด้วย
เพราะถือว่าเป็นกิจกรรมของร่างกายโดยเฉพาะ
เ พ ล โ ต้ ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น นั ก จิ ต นิ ย ม ที่ เ ด่ น ดั ง
ท่านได้พยายามอธิบายหรือค้นหาแหล่งที่เกิดของจิตวิญญาณ โดยท่านสรุปว่า
วิญญาณมนุษย์ มีบ่อเกิดจากวิญญาณโลก (World Soul)วิญญาณโลกนี้
เป็นโลกแห่งแบบ (World of Form) หรือโลกแห่งความคิด (World of Ideas)
ซึ่ งมี ม า ก่ อ น ร่างก า ย ดั งนั้ น วิญ ญ าณ จึงส าคั ญ ก ว่ าร่า งก า ย
เป็นตัวบังคับกิจกรรมของร่างกาย
อ ริส โต เติ้ ล (Aristotle) ถือ ว่า วิญ ญ าณ เป็ น เนื้ อ ส ารท างจิต
ไม่ใช่สิ่งที่ถูกกักขังอยู่ในร่างกาย เป็นแต่เพียงรูปแบบที่ทาหน้าที่จัดระบบร่างกาย
เมื่อเป็นเช่นนี้ระหว่างรูปแบบกับเนื้อสารจึงมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างแน่นแ
ฟ้ น จะอย่างไรก็ตาม อริสโตเติ้ลก็ได้สรุปหน้ าที่ของวิญ ญ าณ ไว้ 2
อย่างเหมือนเพลโต้คือ
หน้าที่ระดับต่า ได้ แ ก่ ก ารรับ รู้ ก ารจา ก ารคิด แล ะก ารจงใจ
เป็นสิ่งที่ไม่เป็นอมตะ เมื่อร่างกายแตกดับ ก็จะสูญสลายไปพร้อมกับร่างกาย
หน้าที่ระดับสูง ได้แก่ ก ารคิด ห าเห ตุ ผ ล เป็ น สิ่งที่ เป็ น อ ม ต ะ
เพราะเป็นเนื้อแท้ของวิญญาณ
เดส์การ์ตส์ (Descartes) บิดาแห่งปรัชญาสมัยใหม่ เป็นนักปรัชญาทวินิยม
เห็นว่าวิญญาณเป็นเนื้อสาร โดยแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
1. เนื้อสารสัมบูรณ์ ได้แก่พระเจ้า (God)
7
2. เนื้อสารสัมพัทธ์ ได้แก่สสารและวิญญาณ สสารมีลักษณะกินที่
อยู่กับที่และย่อมเป็นไปตามกฎกลศาสตร์ ส่วนวิญญาณนั้น เคลื่อนไหว ไม่กินที่
มีความรู้สึกนึกคิด และจงใจ
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(ปุณวั
ชร)
แ น ว คิ ด ข อ ง ส ส า ร นิ ย ม คื อ ยึ ด ถื อ แ ต่ สิ่ ง ที่ จั บ ต้ อ ง ไ ด้
แ ล ะ รั บ รู้ ไ ด้ ด้ ว ย ด้ ว ย ป ร ะ ส า ท สั ม ผั ส ทั้ ง 5
ในบางครั้งแนวคิดนี้อาจจะเป็นประโยน์ต่อเราในการที่จะเตือนให้เรามีสติอย่าคิดอะ
ไรไปก่อน ในสิ่งที่ยังไม่มาถึงทาให้เราใช้ชีวิตอยู่กับปัจจุบันมากขึ้น
หรือการที่ไม่หลงงมงายในสิ่งเหนือธรรมชาติมากเกินไป
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(กุลนั
นท์)
แนวคิดของปรัชญานี้ลึกซึ้งมากว่าสิ่งที่เราสัมผัสได้ เช่นความรู้สึกหรือ
สิ่งที่ เห นื อ ธ รรม ช าติเช่ น ส ว รรค์ น รก เป็ น แ น ว คิด ที่ ท าให้ ค น
มีจิต ใจ อ่ อ น โย น ก ลัว ต่ อ บ าป ตั ว อ ย่ างใน ห นั งสือ ที่ ย ก ม าเช่ น
เมื่ อ ใน วัน ห นึ่ งมีค น ส่ งจด ห ม าย ม าห าเราแล้วเขีย น ข้อ ค วาม ว่า
คุณแม่ของคุณเสียชีวิตแล้วด้วยโรคมะเร็ง คุรเสียใจคุณร้องไห้และเป็นทุกข์
ถ า ม ว่ า ก ร ะ ด า ษ แ ผ่ น นั้ น ซึ่ ง เ ป็ น แ ค่ ส ส า ร ช นิ ด ห นึ่ ง
ท า ไ ม ถึ ง ส า ม า ร ถ ท า ให้ คุ ณ เกิ ด ค ว า ม รู้สึ ก ต่ า ง ๆ ม า ก ม า ย
หรือมีผ ลกระท บ ต่อความรู้สึกและจิต ใจของคนเรา เพ ราะฉะนั้น
มนุษย์ถึงเป็นมากกว่าสสาร
CHAPTER 2 : มนุษย์เป็นอย่างไร
(ณรงค์เดช)ในบทที่ 2มนุษย์เป็นอย่างไร
มีนักปรัชญา 3กลุ่มได้แสดงความคิดเห็นเอาไว้ แบ่งได้3กลุ่ม
1. ชาวนิยัตินิยม 2ชาวอิสระนิยม 3.ชาวทางสายกลาง
8
1. ชาวนิยัตินิยม เชื่อว่ามนุษย์ไม่เคยอิสระ
ชาวนิยัตินิยม มักจะสังเกตต่อสิ่งต่างๆรอบกาย ทั้งที่มี ชีวิตและไม่มีชีวิต
ย ก ตัว อ ย่ าง จาก สิ่งชีวิต ใน คืน ที่ ่ น ต ก ห นั ก ใน ภ าค ใต้
ทาให้เขื่อนที่กักเก็บน้าแตก ทาให้เกิดน้าท่วมใหญ่ขึ้น ชาวนิยัตินิยมมักคิดว่า
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต้องมีสาเหตุไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เช่น ทาไมเขื่อนแตก
เพราะน้ามีปริมาณมาก ทาไมน้ามีปริมาณมาก เพราะ่นตกหนัก ทาไม่นตกหนัก
เพราะเกิดมรสุม และต่อมา สิ่งที่ไม่มีชีวิต ชาวนิยัตินิยมมักจะมองเห็นตรงกันว่า
ส า เห ตุ แ ล ะ เงื่ อ น ไ ข อั น เป็ น ที่ ม า ข อ ง ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ เดิ ม
มันก็มักจะเกิดเหตุการณ์เช่นเดียวกันเสมอ
ในมุมมองของนักจิตวิทยาเชื่อว่า ชาวนิยัตินิยมจะเสนอความคิดว่า
มนุษย์ไม่เคยกระทาอะไรอย่างอสิระ มักอ้างเหตุผลหลัก ทั้ง 3
1.เหตุผลด้านสรีรวิทยา คือ สิ่งที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอยู่ตลอดเวลา
และในการตอบสนอง สิ่งเร้านั้นมีกฎเกณฑ์แน่นอน เช่น เมื่อไม่มีอาหารในท้อง
ก็จะหิว
2.เ ห ตุ ผ ล ด้ า น จิ ต วิ ท ย า ย ก ตั ว อ ย่ า ง คื อ
เมื่อท้องหิวเราไม่สามารถสั่งท้องไม่ให้หิวได้ เราไม่มีทางอื่นที่จะระงับความคิดได้
นอกจากทาความกฎเกณฑ์ของมัน คือ กินนั้นเอง
3.เ ห ตุ ผ ล ด้ า น สั ง ค ม วิ ท ย า
มักเชื่อว่ามนุษย์ที่เกิดและเติบโตท่ามกลางระบบการอมรมและขัดเกลาทางสังคมแล
ะวัฒนธรรมแบบไหน มันจะมีลักษณะเป็นแบบนั้น เช่น เด็กไทยที่เติบโตที่ usa
เมื่อกลับมาเมืองไทย เค้ามักจะกินอาหารไทยไม่เป็น ไม่เข้าใจวัฒนธรรมบางอย่าง
หน้าตาเป็นเพียงคนไทย แต่ความคิด รสนิยม เป็นแบบคน usa
2. อิสรนิยม มนุษย์ในบางระดับเป็นอิสระ
9
ชาวอิสระนิยมเชื่อว่ามนุษย์มีอิสระเต็มที่ และ จงใจ หรือ เลือกทา
ด้วยตนเองไม่ได้อยู่ภายใต้อิทธิผลใดๆ หรือ แรงชักนาของอะไรทั้งสิ้น
ย ก ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น
ชายหนุ่มคนหนึ่งกาลังยืนรอรถเมล์เพื่อไปทางานให้ทันเวลา เพราะ
ถูกเจ้านายตาหนิว่ามาทางานสายบ่อยครั้งแล้ว จึงกลัวว่าจะถูกตาหนิอีก ขณะรอรถ
เขาได้พ บ ห ญิ งชราเป็ น ลม ล้มลงไป ไม่มีใค รสน ใจห ญิ งชราเรย
ในเว ลาฉับพลันชายหนุ่มตัดสินใจอุ้มหญิงชราขึ้นแท็กซี่พาไปส่งที่โรงพยาบาล
ท า ใ ห้ ใ ห้ เ ค้ า ม า ท า ง า น ส า ย แ ล ะ ถู ก หั ก เ งิ น เ ดื อ น
ในการตัดสินใจครั้งนี้ไม่มีใครบังคับเข้าทั้งสิ้น
แต่มโนธรรมในใจเค้าเป็นอิสระ และกระตุ้นให้ตัวเองออกมาจากความนึกคิด
ถึ งแ ต่ ป ระโย ช น์ ส่ ว น ตัว เพื่ อ ท าค ว าม ดี แ ล ะเข าก็ ได้ ท าส าเร็จ
การตัดสินใจครั้งนี้เป็นอิสระ และปราศจากความคิดเชิงผลประโยชน์ใดๆทั้งสิ้น
(อาทิตย์)สรุปทางสายกลางระหว่างสองความคิดที่ขัดแย้ง
นิยัตินิยม กับ อิสรนิยมมีทัศนะที่ขัดแย้งกันในเรื่องของเสรีภาพของมนุษย์
แล้วมีนักปรัชญาอีกกลุ่มหนึ่งเรียกว่าชาวท างสายกลางมีทัศนะที่ประนีประนอมว่าจ
ริงๆ แล้วช าวนิ ยัตินิ ย ม กับ อิส รนิ ยม ไม่ได้มีทัศ น ะที่ ขัด แย้งกัน
แต่มิได้มีการวิเคราะห์ปัญหากันอย่างรอบคอบ
ชาวนิยัตินิยมนั้นมีทัศนะว่าทุกอย่างที่มนุษย์แสดงออกนั้นถูกกาหนดด้วยปัจจัยอย่า
ง ใ ด อ ย่ า ง ห นึ่ ง น อ ก ตั ว ม นุ ษ ย์
ซึ่งมนุษย์ตามความคิดของนักปรัชญากลุ่มนี้คือหุ่นยนต์ที่ถูกกาหนดให้แสดงพฤติก
รรมออกมาอย่างที่เห็นด้วยปัจจัยหลักๆสามประการคือ ปัจจัยด้านสรีรวิทยา
ปัจจัยด้านจิตวิทยา และปัจจัยด้านสังคมวิทยา
นั ก ป รั ช ญ า ก ลุ่ ม ที่ ส อ ง คื อ ช า ว อิ ส ร นิ ย ม เ ห็ น ว่ า
แ ม้ ใน ห ล าย เรื่อ งที่ ม นุ ษ ย์ ดู เหมื อ น จ ะถู ก โด ย ปัจ จัย แ ว ด ล้ อ ม
แต่ในหลายเรื่องสาคัญ ในชีวิตมนุ ษย์เป็ นอิสระสามารถเลือกเองได้
เรื่องที่ชาวอิสรนิยมคิดว่ามนุษย์เป็นอิสระคือ ปรากฏการณ์ทางศีลธรรม
และการสร้างสรรค์งานทางศิลปะและงานสร้างสรรค์ทางสติปัญญา
10
นักปรัชญากลุ่มที่สามคือชาวสายกลางมีทัศนะที่ชี้ให้เห็นว่าทั้ง2่่ ายนั้นยังไ
ม่ ไ ด้ วิ เ ค ร า ะ ห์ ปั ญ ห า กั น อ ย่ า ง ร อ บ ค อ บ
ชาวเดินสายกลางเชื่อว่าการที่มนุษย์ถูกกาหนดโดยปัจจัยแวดล้อมไม่ขัดกับการที่ม
นุ ษ ย์ จ ะมีเส รีภ าพ คื อ ก ารที่ ม นุ ษ ย์ ถู ก ปัจ จัย แ ว ด ล้ อ ม ก าห น ด
มนุษย์ยังสามารถเลือกที่จะจัดการไปตามวิถีทางที่เขาเห็นว่าเหมาะสม
ก่อนที่ปัจจัยแวดล้อมจะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเหล่านั้นของมนุ ษย์
มนุษย์ได้เลือกที่จะจัดการกับปัจจัยเหล่านั้นอย่างเสรีด้วยตัวของเขาเองแล้ว
มนุษย์จึงสามารถมีเสรีภาพได้ท่ามกลางสภาวะที่ถูกกาหนดโดยปัจจัยแวดล้อม
ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น
การที่่นตกแล้วส่งผลให้เราเปียกเป็นภาวะที่เราหลีกเลี่ยงไม่ได้แต่่นก็เป็นเพียงแ
ค่ข้อมูลที่ส่งผลให้เราเปียกแล้วนามาพิจารณาว่าจะจัดการกับมันอย่างไร
บางคนเลือกที่จะกางร่ม บางคนเลือกที่จะเดินต่อไปโดยไม่สนใจว่าจะเปียก
บ างค น อ าจ ย ก ก ระด าษ ห นั งสือ พิ ม พ์ ที่ ติ ด มือ ม าขึ้น ปิ ด ศี รษ ะ
คือมนุษย์ก็สามารถมีเสรีภาพได้แม้จะถูกกาหนดโดยปัจจัยแวดล้อมก็ตาม
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(ณรง
ค์เดช)
ใน บ ท นี้ จ ะ พู ด ถึ ง อิ ส ร ภ า พ ข อ ง ม นุ ษ ย์ เป็ น ส่ ว น ให ญ่
มีทั้งแนวคิดความคิดที่ว่า มนุษย์ไม่เคยอิสระมนุษย์ในบางระดับเป็นอิสระ และ
มนุษย์สายกลาง จะเชื่อมโยงกับแนวคิดทางด้าน จริยศาสตร์ทั้งด้านแนวความคิด
และการดารงชีวิตในสังคม มาปรับใช้กับชีวิตของเราให้เกิดความสุข
ไม่สร้างความทุกข์ให้ตัวเอง ใ น ด้ า น ค ว า ม คิ ด
เราสามารถนาหลักความคิดของทุกๆระดับมาปรับใช้กับตัวเองเราเอง เพราะ
ปัจจุบันเราต้องเจอคนมักหน้าหลายตาที่ไม่รู้ว่าใครเป็นอาไรยั งไง หรือ
เจอกับเหตุการณ์ ต่างๆนาๆ เรานาหลักความคิดนี้ มาใช้ในการพิจารณาต่างๆ
การตัดสินใจทาอาไรต่างๆได้ โดยิ่งที่เราทาไปนั้น เราควรทาให้เกิดประโยชน์
แ ล ะ ไ ม่ เบี ย ด เบี ย น ผู้ อื่ น ให้ เดื อ ด ร้อ น ใน ด้ า น ก า ร ด า ร ง ชี วิต
เราส าม ารถ น าห ลัก ค วาม คิด ข อ งทุ ก ๆ ระ ดับ ม าป รับ ใช้เช่ น กัน
เพื่อให้เข้ากลับตัวเองเพื่อให้สามารถดารงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข
11
ไม่ว่าจะเจอเหตุการณ์ใดก็ตาม เหมือนเรามีหลักความคิดอยู่ คิดในแง่ดี
แค่นี้เราก็จะสามารถดารงชีวิตได้ในทุกๆสภาวะต่างๆอย่างอยู่รอด
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(อาทิ
ตย์)
สาระสาคัญคือ มนุษย์สามารถมีเสรีภาพในคิดหรือ กระทาสิ่งต่างๆ
ต าม ที่ ต น เอ งต้ อ งก าร แ ม้ จ ะถู ก ปัจ จัย แ ว ด ล้ อ ม ก าห น ด ก็ ต าม
ตามที่ชาวสายกลางได้ชี้ให้เห็น ซึ่งในชีวิตประจาวันเราได้คิดได้กระทาสิ่งต่างๆ
อย่างเสรี แต่ต้องมีความเหมาะสม ไม่ทาให้คนอื่นเดือดร้อนเสียหาย
CHAPTER 3 :
(กฤษฎา)สรุปบทที่ 3(ส่วนแรก)
ปัญญานิยม
มีนักปรัชญาที่สาคัญในกลุ่มนี้ 3 คน ดังนี้
โ ส เ ค ร ตี ส
ถือว่าปัญญาอันได้แก่ความรู้นั้นคือคุณธรรมที่ทาให้มนุษย์เข้าถึงความจริงอันสูงสุด
ได้
เพลโต้ เขาเห็นว่าวิญญาณของมนุษย์มี 3 ภาค คือ
ภาคที่อยู่ต่าที่สุด คือ ความอยาก ความหิว การสืบพันธุ์ มีทั้งในพืช
สัตว์ คน
ภาคกลางสูงขึ้นมา คือ ความกล้าหาญ เกียรติยศ และชื่อเสียง
12
ส่ ว น ภ า ค ที่ สู ง ที่ สุ ด คื อ ภ า ค ปั ญ ญ า
อั น เป็ น ลั ก ษ ณ ะ เฉ พ า ะ ที่ มี อ ยู่ ใ น ตั ว ม นุ ษ ย์ เท่ า นั้ น
สามารถทาให้มนุษย์เข้าถึงโลกแบบอันเป็นโลกแห่งสัจธรรมได้
อ ริ ส โ ต เ ติ้ ล เข า พิ จ า ร ณ า ถึ ง ค ว า ม จ ริ ง ที่ มี อ ยู่ ใ น โ ล ก
มองเห็นคุณสมบัติที่แตกต่างกันระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต เช่น
การกินอาหาร การเคลื่อนไหว การขับถ่าย การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต
แนวคิด กลุ่มนี้ แม้ความคิดในรายละเอียดจะมีความแต กต่างกัน
แต่แนวคิดหลักก็เหมือนกันคือถือว่า
ปัญญา หรือ ความรู้ดีที่สุด
ปัญญา คือ ความสามารถในการใช้เหตุผลเพื่อแสวงหาความจริง
ปัญญาทาให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์
ปัญญาเป็นลักษณะเฉพาะของมนุษย์ที่ทาให้มนุษย์บรรลุถึงสัจธรรมได้
วิมุตินิยม
นักปรัชญา กลุ่มนี้ คือ พวกซินนิค (cynic) สโตอิก (stoic) ทางศาสนา เช่น
คริสต์ศาสนา พุทธศาสนา
แนวคิด คือ กลุ่มที่เน้นความหลุดพ้นจากกิเลส เน้นความสงบทางจิต
แนวคิดนี้มีลักษณะประชดสังคมที่บริบูรณ์ด้วยความสุข หลีกหนี กฎหมาย
ระเบียบประเพณี โดยถือว่าตนเองเป็นพลเมืองโลก ไม่ได้มีอุดมการณ์ที่แน่นอน
เพียงแต่เบื่อหน่ายสังคม และกระทาตนแบบไม่สนใจแยแสต่อคานินทาของคนอื่น
สรุปแนวคิดวิมุตินิยม
ค วาม ก ลัวผิด ห วัง ซึ่งท าให้ เกิด ค วาม ทุ ก ข์ท รม าน ท าให้ ก ลุ่ม นี้
เน้ น ที่ ก า ร ค ว บ คุ ม ต น เอ ง คื อ ก า ร ท า ใ จ ใ ห้ ว า ง เฉ ย
ไม่ ค ว รท าใจให้ ผู ก พั น กับ สิ่งภ าย น อ ก คือ เงิน อ าน าจ
จะได้พบกับสิ่งที่มีค่าที่สุด ได้แก่ ความสงบใจ
13
(พงศกร)สรุป มนุษย์กับการแสวงหา
ปัญญานิยม : ค่าของชีวิตอยู่ที่การใช้ปัญญา
- พ อ ใ จ กั บ ก า ร ค้ น ค ว้ า ห า ค ว า ม รู้ ใ ส่ ตั ว เอ ง เส ม อ
เพราะความรู้ของชาวปัญญานิยมคือความสุขที่สุดในชีวิต
- รู้ != เข้าใจ
รู้ -> ไ ด้ ม า จ า ก ก า ร อ่ า น ต า ร า ร่ า เ รี ย น
หรือการคิดเชิงระบบมีเหตุมีผล
เ ข้ า ใ จ -> ไ ด้ ม า จ า ก ชี วิ ต จ ริ ง
ประสบการณ์ที่ได้สะสมมาจนสุดท้ายประสบการณ์จะสอนให้เข้าใจ
ชีวิต
อัตถิภาวนิยม : จงเลือกและรับผิดชอบ
เป็ น คิ ด ที่ อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง อ สุ ข นิ ย ม กั บ สุ ข นิ ย ม
ที่ จ ะ เ น้ น ก า ร มี อิ ส ร ะ ใ น ก า ร เ ลื อ ก ข อ ง ม นุ ษ ย์ เ ป็ น ห ลั ก
แต่ก็มีสิ่งหนึ่งที่ขัดขว้างการมีเสรีภาพของมนุ ษย์คือจารีตประเพณี
จารีตประเพณีเกิดขึ้นมาจากการมีความคิดเห็นร่วมกันของคนในสังคมนั้นๆ
ว่าวิ่งไหนดีสิ่งไหนไม่ดี เพื่อที่มนุษย์จะได้อยู่ร่วมกันได้อย่างสะดวกยิ่งขึ้น
บทบาทของจารีตประเพณีคือการผูกร้อยผู้คนในสังคมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
หล่อหลอมคนที่แตกต่างกันในด้านพื้นเพ ชาติกาเนิน ความคิด ความเชื่อ
การศึกษา เป็นต้นให้เป็นเอกภาพ หากมีคนไม่ทาตามก็จะเป็นคนที่แตกแถว
ม อ ง แ ล้ ว ดู ไ ม่ ดี แ ล้ ว ก็ จ ะ ถู ก สั ง ค ม ป ร ะ น า ม
จึงเป็นสิ่งที่บีบรัดชีวิตมนุษย์ให้มีเสรีภาพน้อยลง
เสรีภาพ : แก่นของความเป็นมนุษย์
มนุษย์มีสิ่งที่อยากได้2สิ่งคือ
1. อ ย า ก มี ( สิ่ ง ข อ ง ) คื อ
การแสวงหาสิ่งของภายนอกตัวมาครอบครองและสามารถครอ
บครองสิ่งเหล่านั้นได้อย่างสมปราถนาก็จะทาให้มีความสุข
2. อยากเป็น คือ การแสวงหาชื่อเสียง ยศถาบรรดาศักดิ์อานาจ
เมื่อได้มาครอบครองสมความปราถนาก็จะมีความสุข
14
ใ น แ ง่ ข อ ง ช า ว อั ต ถิ ภ า ว นิ ย ม คิ ด ว่ า ก า ร มี
การครอบครองสิ่งของวัตถุต่างๆ ไม่ใช่แก่นแท้ของความเป็นมนุษย์
แ ล ะ ก า ร อ ย า ก เ ป็ น ต่ า ง ๆ
ก็เปรียบเสมือนการใส่หัวโขนที่คนในสังคมสมมติขึ้นมาเท่านั้น
ไม่ใช่แก่นแท้ของมนุษย์เช่นกัน
สิ่งที่ ช าว อัต ถิ ภ าว นิ ย ม ต้ อ งก ารที่ สุ ด คื อ เส รีภ า พ
เสรีภาพในการเลือกใช้ชีวิต หากขาดไปก็ไม่ควรเรียกว่ามนุษย์
“การที่มนุษย์สามารถเลือกได้เสมอไม่ว่าจะตกอยู่ในสถานการณ์เช่นใดก็ตา
ม ท า ใ ห้ ม นุ ษ ย์ พิ เศ ษ ก ว่ า สิ่ ง อื่ น เช่ น พื ช แ ล ะ สั ต ว์
ที่ทาตามสันชาติญาณเท่านั้น ไม่สามารถเลือกเองได้”
เสรีภาพ : กับการหลอกตัวเอง
การที่ทาตัวเข้ากับคนส่วนใหญ่ ให้เข้ากับวัฒ นธรรม
จา รี ต ป ร ะ เ พ ณี ข อ ง สั ง ค ม
แม้จะท าให้ตัวเองรู้สึกป ลอดภัยเห มือนกับ น กที่อยู่ในกรง
แ ล ะ ไ ม่ ต้ อ ง รั บ ผิ ด ช อ บ ชี วิ ต ข อ ง ต น เ อ ง เ ต็ ม ที่
แต่สิ่งนี้ก็ทาให้เราสูญเสียสิ่งที่มีค่าที่สุดในชีวิตคือเสรีภาพและการเลือกไป
เสรีภาพ : ความรับผิดชอบ
ก า ร ก ร ะ ท า ทุ ก อ ย่ า ง ข อ ง ม นู ษ ย์ คื อ ก า ร เลื อ ก
แม้การไม่ตัดสินใจก็ถือเป็ นการเลือกในรูปแบบหนึ่ง เพราะฉนั้น
เมื่อกล่าวถึงที่สุดแล้วในสถ าน การณ์ ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น
เราเท่านั้นคือผู้รับผิดชอบต่อการตัดใจของตัวเองที่เกิดขึ้น
สรุป อัตถิภาวนิยม
ป รั ช ญ ญ า วั ติ ภ า ว นิ ย ม คื อ
ร ะ บ บ ค ว า ม คิ ด ที่ เน้ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ไ ด้ ม า ซึ่ ง วิ ถี ชี วิ ต
ม าก ก ว่ า วิ ถี ชี วิ ต ที่ ไ ด้ ม า จ า ก จ า รี ต ป ร ะ เ พ ณี
ค น เ ร า อ า จ เ ลื อ ก วิ ถี ชี วิ ต ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น
แต่ ห ากว่าวิถีชีวิต เห ล่านั้นได้มาจากการเลือกด้วยตัวเอง
ชาวอัตถิภาวนิยมก็คงยอมรับวิถีชีวิตดังกล่าวนั้นได้เสมอ
15
สรุปท้ายบท
มนุษย์ควรใช้ชีวิตอย่างไรจึงจะถือว่าเหมาะสมและคุ้นค่ากับการที่ได้มาเป็น
มนุษย์ มีนักปรัชญญาให้คาตอบโดยแบ่งเป็น 2กลุ่มหลักคือ
กลุ่มที่แสวงหาความสุข กับ กลุ่มที่แสวงหาสิ่งอื่นที่ไม่ใช่ความสุข
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(กฤษ
ฎา)
สุขนิยม เน้นความสุขที่กายดีที่สุด } วัตถุนิยม
ปัญญานิยม เน้นปัญญาดีที่สุด จิตนิยม
วิมุตินิยม เน้นความหลุดพ้นจากกิเลส
อัตถิภาวนิยม เน้นที่เสรีภาพในตัวมนุษย์ ทวินิยม
มนุษย์นิยม มองรอบด้าน เน้นทั้งกายและจิต
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(พงศ
กร)
สาระสาคัญของบทนี้จะกล่าวถึงแนวคิดชีวิตของมนุษย์แบบอัตถิภาวนิยมคื
อ แ น ว คิ ด ข อ ง อั ต ถิ ภ า ว นิ ย ม เป็ น ก า ร มุ่ ง ส่ ง เส ริม ม นุ ษ ย์
ใ ห้ มี ลั ก ษ ณ ะ ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แ น ว คิ ด ท า ง ป รั ช ญ า คื อ
ก ารส อ น ให้ ผู้ เรีย น เป็ น ตั ว ข อ งตั ว เอ ง มีเส รีภ าพ ใน ก ารเลือ ก
มี ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ห รื อ ตั ด สิ น ใ จ ใ ด ๆ ด้ ว ย ต น เ อ ง
ยอมรับถึงความสามารถในการตัดสินใจต่อสิ่งต่างๆและทั้งผลอันจะเกิดตามมาด้วย
ตัวของเขาเองด้วย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่ดีหรือร้าย
ส่ ว น ท า ง พุ ท ธ ศ า ส น า อ า จ ก ล่ า ว ไ ด้ ว่ า
พระพุทธเจ้าทรงเป็นพระศาสดาองค์แรกก็ว่าได้ ที่มีบุคลิกภาพแบบอัตถิภาวนิยม
เพราะพระองค์ไม่ทรงพอพระทัยกับสภาพสังคมที่เป็นอยู่ในขณะนั้น
สังคมที่มีพราหมณ์และศาสนาพราหมณ์คอยกาหนดความเป็นไปของประชาชน
16
ชีวิตของผู้คนต้องล่องลอยไปตามกระแสของสังคม )่ากชีวิตไว้กับพิธีกรรมต่าง ๆ(
ขึ้นอยู่กับอานาจที่มองไม่เห็น)พระพรหม พระศิวะ และพระวิษณุ(
เ ป็ น ไ ป อ ย่ า ง ไ ร้ ศั ก ดิ์ ศ รี ข อ ง ม นุ ษ ย์)ร ะ บ บ ว ร ร ณ ะ(
แต่ละอย่างล้วนสร้างความแปลกแยกในชีวิตมนุษย์ทั้งสิ้น
พระพุทธเจ้าทรงสถาปนาพุทธศาสนาขึ้นมา เพื่อย้าถึงศักดิ์ศรีของมนุษย์
เป็นศาสนาของมนุษย์ โดยมนุษย์ และเพื่อมนุษย์ จึงนับเป็นท่าทีแบบอัตถิภาวนิยม
ที่เกิดขึ้นก่อนลัทธิอัตถิภาวนิยมถึง 2,500 ปี
ก ล่ า ว โ ด ย ส รุ ป ลั ท ธิ อั ต ถิ ภ า ว นิ ย ม
ส อ น ใ ห้ ม นุ ษ ย์ แ ส ว ง ห า ต น เ อ ง เ ช่ น กั บ พุ ท ธ ศ า ส น า
แต่ ก ารยึด ถือ จริย ศ าส ต ร์แบ บ อัต ถิภ าวนิ ย ม เพี ย งใน บ างแง่มุ ม
อาจนาไปสู่การพอกพูนขยายอัตตาตนเองขึ้นตามการรู้จักตนเอง แม้ จัง ปอล
ซาร์ต จะเคยกล่าวว่า การใช้เสรีภาพต้องควบคู่ความรับผิดชอบก็ตาม
ส่ ว น ก า ร รู้ จั ก ต น เ อ ง ข อ ง พุ ท ธ ศ า ส น า
เป็นการรู้จักตนเองตามสภาพเป็นจริงของสภาวธรรม เพื่อลดอัตตาของตนเอง
หรือเพื่อเอาชนะจิตใจของตนเองแล้วจะไม่เป็นทาสของตนเองอีกต่อไป
เพราะเกิดความเข้าใจตามความเป็นจริงว่าธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา
ก า ร รู้ จั ก ต น เ อ ง นั้ น เ ป็ น สิ่ ง ที่ ดี
ผ ล เสี ย จ ะ เกิ ด ขึ้ น ก็ ต ร ง ที่ เป็ น ก า ร รู้ จั ก ต น เอ ง เพื่ อ อ ะ ไ ร
เพื่ อ ล ด ห รือ เพื่ อ พ อ ก พู น อัต ต าข อ งต น เอ ง ห าก เป็ น ข้ อ ห ลัง
การรู้จักตนเองลักษณะนี้ย่อมเบียดเบียนทั้งตนเองและผู้อื่นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
บทส่งท้าย
(กิตติจิต)บทส่งท้ายนี้ยังคงกล่าวถึง การดาเนินชีวิตของมนุษย์
ไปตามความคิดในแนวทางต่างๆโดยไม่มีวันสิ้นสุดทั้งในทางวิทยาศาสตร์หรือความ
เชื่อจะมีการคิดสิ่งใหม่ๆอยู่เรื่อยๆไปตามกาลเวลาและวิวัฒนาการทางความคิดเหล่
านี้ก็จะมีกันต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ในเมื่อทุกความเชื่อล้วนแล้วแต่มีจุดอ่อนในตัว
ซึ่งไม่สามารถตอบให้เป็นที่น่าพอใจได้ แต่ก็ไม่แน่ว่าในอนาคต สิ่งที่เราเรียกร้องกัน
อาจจะไม่ใช่ความเชื่อมั่นในศาสนา ค่านิยม หรือศาสตร์ใดศาสตร์หนึ่ง
แต่คือการเรียกร้องให้ทุกคนตระหนักว่าทุกความคิดไม่มีใครเหนือใครไม่มีใครผิดไม่
17
มี ใ ค ร ถู ก ใ ค ร จ ะ เ ชื่ อ ถื อ อ ะ ไ ร ก็ ว่ า ไ ป ต า ม ร ส นิ ย ม
แต่ส่วนมากปัจจัยในความคิดของมนุษย์ การแสวงหาในด้านต่างๆ จะมีอยู่ 3ทาง
คื อ ก าร แ ส ว งห า ใน ท าง ป รัช ญ า ศ า ส น า แ ล ะวิท ย าศ า ส ต ร์
ท า ง ป รัช ญ า จ ะ มี ก า ร ย ก ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง ช า ว ก รีก ใน ส มั ย ก่ อ น
ที่ มีก ารใช้ค ว าม คิด ส อ ด ค ล้อ งกับ ค วาม จริง ก ารใช้จิน ต น าก าร
การสร้้างสรรค์ผลงาน สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุดจนถึงปัจจุบัน
ใ น ท า ง ศ า ส น า จ ะ ย ก ตั ว อ ย่ า ง ถึ ง ใ น ยุ ค ที่ ศ า ส น า ค ริ ส ต์
ค ร อ บ ง า โ ล ก ต ะ วั น ต ก เ อ า ไ ว้ ทั้ ง ห ม ด
ในยุคนั้นชีวิตของมนุษย์จะถูกตีกรอปให้คิดอยู่ในความเชื่อของศาสนาทั้งหมด
แ ต่ สิ่ ง ที่ ม นุ ษ ย์ ยึ ด ติ ด ที่ เ รี ย ก ว่ า ศ า ส น า นั้ น
แ ท้ จ ริ ง ก็ เ กิ ด จ า ก ค ว า ม คิ ด ข อ ง ม นุ ษ ย์ เ อ ง ทั้ ง ห ม ด
และได้ทาต่อๆกันมาจนเป็นประเพณีจนไปถึงความเชื่อ แล้วก็มาถึงวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์นั้นเกิดจากความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์เองทั้งสิ้นแต่มันก็ทาให้ม
นุ ษ ย์ ไ ด้ ม อ ง เห็ น บ า ง อ ย่ า ง ที่ แ ท้ จ ริง แ ล ะ ส า ม า ร ถ พิ สู จ น์ ไ ด้
แนวคิดทางด้านนี้ล้วนเกิดมาจากความดื้อรั้นที่ไม่ยอมรับความเชื่อมคาสอนหรือตา
ราที่มีและได้พยายามค้นหาความจริงจนพิสูจน์ออกมาให้เห็นและหาเหตุผลมาทาให้
เราเข้าใจได้ บุคคลประเภทนี้เราจะเรียกพวกเขาว่า นักวิทยาศาสตร์
แล ะท างใน ก ารคิด ทั้ง 3อ ย่ างนี้ ก็ อ ยู่ กับ เราม าจน ถึงปัจจุบัน
แ ล ะ ยั ง มี ที ท่ า ที่ จ ะ ไ ม่ สิ้ น สุ ด ล เ ป็ น อ นั น ต์ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า
มนุษย์เพียรพยายามมาจลอดประวัติศาสตร์ของเขาที่เขาจะดารงตัวเขาและเผ่าพัน
ธ์ของเขาเอาไว้ แต่ยังอย่างไรก็ตาม “มนุ ษ ย์ก็ยังเป็ นสิ่งชั่วคราว
ในขณะที่เวลาและกากาศ คือสิ่งนิรันดร์”
(พ งศกร)สาเหตุสาคัญ ที่ทาให้ปรัชญ ายุคกลางเสื่อมลง คือ
ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ มีนักวิทยาศาสตร์จานวนหนึ่งเชื่อว่า
วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ไ ม่ ขั ด แ ย้ ง กั บ ค ริ ส ต์ ศ า ส น า
ตรงกันข้ามวิทยาศาสตร์นั่นเองคือสิ่งเปิดเผยให้มนุษย์เห็นความยิ่งใหญ่ของพระเจ้า
ปั ญ ห า ที่ ช า ว ก รี ก ส น ใ จ ก ลั บ ก ล า ย เ ป็ น ปั ญ ห า ห ลั ก
ที่ ว งก ารวิท ย าศ าส ต ร์ส น ใจจ ะแ ส ว งห าค าต อ บ ค าถ าม นั้น คือ
อะไรคือหน่วยมูลฐานที่สรรพสิ่งในจักรวาลนี้ก่อตัวขึ้น ทัศนะดั้งเดิมอีกประการ
ข อ งป รัช ญ าก รีก โบ ราณ คื อ ห า ก เรา ต้ อ งก ารเข้ าใจ จัก รว า ล
เ ร า ต้ อ ง เ ข้ า ใ จ ก ฎ ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ค ว บ คุ ม จั ก ร ว า ล อ ยู่
18
ต่ อ ม า ค ว า ม ่ั น อั น ง ด ง า ม ค่ อ ย ๆ จ ะ ริ บ ห รี่ ล ง
จนวันนี้แทบไม่มีใครในวงการวิทยาศาสตร์ที่ทางานด้วยความรู้สึกว่า
เ ข า ก า ลั ง ค้ น ห า ค ว า ม จ ริ ง ย่ อ ย ๆ
เพื่อสะสมให้กลายเป็นความรู้ใหญ่เกี่ยวกับภาพของจักรวาลทั้งหมดในอนาคต
หัวใจของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในสมัยนี้คือ วิทยาศาสตร์เป็นความรู้ อาจผิดได้
วิทยาศาสตร์ไม่ใช่สัจจะอันไม่มีวันเปลี่ยนแปลงแต่มนุษย์ก็คือมนุษย์ไม่มีอะไรมาจา
กัดความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์ได้ นักวิทยาศาสตร์จานวนหนึ่งคิดว่า
เมื่อเดินไปถึงจุกหนึ่งแล้วพบว่า เราไม่สามารถไปต่อได้ด้วยอายตนะ
นั่น ก็ ไม่ ใช่ เห ตุ ผ ล ที่ เราจ ะต้ อ งล้ ม เลิก ก ารแ ส ว งห าค ว าม จ ริง
เรายังส าม ารถ เดิน ท างต่ อ ไป ได้ ด้ว ย จิน ต น าก าร แ ล ะ เห ตุ ผ ล
แ ล ะ นี่ ก็ คื อ ที่ ม า ข อ ง ท ฤ ษ ฎี วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น ส มั ย นี้
ที่เต็มไปด้วยการคาดคะเนในสิ่งที่อยู่พ้นการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส
พุทธศาสนาเชื่อว่า ความรู้ทุกอย่างเริ่มต้นที่มนุษย์ ดังนั้นในการแสวงหาความรู้
สิ่งที่ เราต้ อ งต ระ ห นั ก อ ยู่ เส ม อ ก็ คื อ ธ รรม ช าติ ข อ งตั ว เรา เอ ง
ม นุ ษ ย์ เป็ น สิ่งที่ ขัด แ ย้ งใน ตั ว เอ ง ถ้ าสังเก ต ให้ ดี เ ราจ ะพ บ ว่ า
ภ า ย ใ น ตั ว เ ร า จ ะ มี ส อ ง สิ่ ง ซึ่ ง แ ต ก ต่ า ง กั น ค น ล ะ ขั้ ว
บ างเรื่อ งเกี่ ย ว เนื่ อ งกับ ก ารส ร้างส รรค์ อ ารย ธ รรม ข อ งม นุ ษ ย์
การแสวงหาความรู้โดยอายตนะ แนวความคิดนี้ครอบงาวงการวิทยาศาสตร์มานาน
จ น ม นุ ษ ย์ พ บ ว่ า
อายตนะที่ตนเองเชื่อว่าคือที่มาของความรู้อันน่าเชื่อถือที่สุดมีข้อจากัด
ไม่สามารถก้าวไปในบางมิติของความจริงเกี่ยวกับจักรวาล ถึงตรงนี้
ม นุ ษ ย์ ไ ม่ ค ว ร ดิ้ น ร น ไ ป เกิ น ก ว่ า สิ่ ง ที่ ธ ร ร ม ช า ติ อ ณุ ญ า ติ ให้
ศาสนาแบบเทวนิยมอาจกาเนิดจากความสงสัยต่อปรากฎการณ์ต่างๆในธรรมชาติ
ศาสนาแบบเทวนิยม จึงเป็นศาสนาแห่งเหตุผลโดยแท้
ชีวิตมนุษย์นี้แสนสั้นไม่มีใครปฎิเสธได้ มนุษย์เกิดมาพร้อมกับทุกข์
ความทุ กข์คือป รากฎ การณ์ เฉ พ าะห น้ าที่กาลังรุมเร้าชีวิต เราอยู่
ทุกข์ที่ว่านี้เปรียบได้กับลูกธนูที่ยิงมาเสียบเข้าที่ตัวเรา สาหรับพุทธศาสนา
สิ่งที่ถูกต้องสาหรับกรณีที่ผ่านมาคือ รีบถอนลูกธนูออก แล้วเยียวยาให้หาย
เพื่อที่จะมีชีวิตที่รื่นรมย์
19
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(กิตติ
จิต)
สาระสาคัญของบทสุดท้ายนี้จะกล่าวถึงในด้านของความคิดของมนุษย์
ว่าความคิดของมนุษย์นั้นจะมีมาเรื่อยๆจนถึงปัจจุบันแบบไม่มีที่สิ้นสุด
และปัจจัยที่ทาให้เกิดความคิดเหล่านั้นก็มาจาก 3ปัจจัย ดังนี้1. ปรัชญา 2. ศาสนา
3. วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น ท า ง ป รั ญ ช า นั้ น
จะเชื่อมโยงกับแนวคิดทางจริยศาสตร์ในด้านของการสร้างสรรค์ศิลปะมาเผื่อความ
สุ ข ข อ ง ตั ว เ อ ง แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม สุ ข กั บ ผู้ อื่ น
เพราะในสมัยนั้นยังไม่ได้มีการนาศิลปะมาใช้แลกเปลี่ยนเหมือนทุกวันนี้
ในทางศาสนานั้นจะตรงตัวอยู่แล้วเพราะว่ามนุษย์สร้างศาสนามาไว้เพื่อยึดเหนี่ยวจิ
ตใจให้ทาแต่กรรมดีเพราะทุกศาสนานั้นล้วนแต่สอนให้ทุกคนเป็นคนดี
และในด้านสุดท้ายคือทางวิทยาศาสตร์ มนุษย์นาแนวคิดทางวิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อ
ดารงเผ่าพันธ์ให้อยู่รอดหรือใช้เพื่อไม่ให้เผ่าพันธ์มนุษย์สูญพันธ์ไปนั่นเองเช่นทุกวั
นนี้ มีการทาเครื่องที่ช่วยเตือนภัยจากแผ่นดินไหวและสึนามิ สร้างมาเพื่อ
อบยพผู้คนออกจากพื้นที่ที่อันตรายเพื่อรักษาชีวิตไว้นั่นเอง
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(พงศ
กร)
ส า เห ตุ ส า คั ญ ที่ ท า ใ ห้ ป รัช ญ า ยุ ค ก ล า ง เสื่ อ ม ล ง คื อ
ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ มีนักวิทยาศาสตร์จานวนหนึ่งเชื่อว่า
วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ไ ม่ ขั ด แ ย้ ง กั บ ค ริ ส ต์ ศ า ส น า
ตรงกันข้ามวิทยาศาสตร์นั่นเองคือสิ่งเปิดเผยให้มนุษย์เห็นความยิ่งใหญ่ของพระเจ้า
ทั้งสองอย่างนี้อาจจะมีความขัดแย้งกันในตัวของแต่ละบุคคลเองอยู่ที่ใครจะยอมรับ
ความจริงได้มากแค่ไหน
20
บทบาทและวิธีทางานของสมาชิกในกลุ่ม
วิธีการทางานของกลุ่มเราคือ
แจกแจงหนังสือให้เพื่อนไปอ่านคนละครึ่งบทเพราะในหนังสือมีทั้งหมดประมานสี่หั
วข้อรวมบทส่งท้าย
และให้เพื่อนๆเข้าใจในสิ่งที่ตัวเองได้รับไปและมารายงานหน้าชั้นเรียนพร้อมตอบ
คาถามข้อสงสัยของเพื่อนในห้อง
โดยให้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตบ้านเพื่อนนามาอธิบายเพิ่มเติมและนา
มาสรุปเป็นรายงานเล่มนี้ส่งอาจารย์

More Related Content

What's hot

พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏCUPress
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยPadvee Academy
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีPa'rig Prig
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกรมณ รมณ
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาเตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 

What's hot (20)

ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 

Viewers also liked

4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 14คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1Tophit Sampootong
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55RMUTT
 
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Watpadhammaratana Pittsburgh
 
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสโครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสสุริยะ ไฝชัยภูมิ
 
ขั้นตอนการส่งออกข้อมูลทะเบียนนักเรียน ในระบบ http://schoolmis.phayoune.org/
ขั้นตอนการส่งออกข้อมูลทะเบียนนักเรียน ในระบบ http://schoolmis.phayoune.org/ขั้นตอนการส่งออกข้อมูลทะเบียนนักเรียน ในระบบ http://schoolmis.phayoune.org/
ขั้นตอนการส่งออกข้อมูลทะเบียนนักเรียน ในระบบ http://schoolmis.phayoune.org/ยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
อบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป smartbiz
อบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป smartbizอบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป smartbiz
อบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป smartbizPinnarat Seetalawarang
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osNisachol Poljorhor
 
ขอบข่ายการเรียนรู้
ขอบข่ายการเรียนรู้ขอบข่ายการเรียนรู้
ขอบข่ายการเรียนรู้supansa phuprasong
 
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 52015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5Taweedham Dhamtawee
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดWanida Keawprompakdee
 
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยากฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาSukit U-naidhamma
 

Viewers also liked (20)

4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 14คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
 
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
 
J2 ee คืออะไร
J2 ee คืออะไรJ2 ee คืออะไร
J2 ee คืออะไร
 
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสโครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
 
คู่มือ Twitter
คู่มือ Twitterคู่มือ Twitter
คู่มือ Twitter
 
Diffusion and osmotic
Diffusion and osmoticDiffusion and osmotic
Diffusion and osmotic
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
ขั้นตอนการส่งออกข้อมูลทะเบียนนักเรียน ในระบบ http://schoolmis.phayoune.org/
ขั้นตอนการส่งออกข้อมูลทะเบียนนักเรียน ในระบบ http://schoolmis.phayoune.org/ขั้นตอนการส่งออกข้อมูลทะเบียนนักเรียน ในระบบ http://schoolmis.phayoune.org/
ขั้นตอนการส่งออกข้อมูลทะเบียนนักเรียน ในระบบ http://schoolmis.phayoune.org/
 
อบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป smartbiz
อบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป smartbizอบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป smartbiz
อบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป smartbiz
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
 
ขอบข่ายการเรียนรู้
ขอบข่ายการเรียนรู้ขอบข่ายการเรียนรู้
ขอบข่ายการเรียนรู้
 
อธิบายวากยสัมพันธ์
อธิบายวากยสัมพันธ์อธิบายวากยสัมพันธ์
อธิบายวากยสัมพันธ์
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
3
33
3
 
Oceania
OceaniaOceania
Oceania
 
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 52015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
 
คูมื่อ E book
คูมื่อ E bookคูมื่อ E book
คูมื่อ E book
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
 
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยากฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
 

Similar to กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต

สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา PresentKobchai Khamboonruang
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349CUPress
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1freelance
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 

Similar to กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต (20)

ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต

  • 2. 1 รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 1. นางสาวกุลนันท์ แซ่เฉิน [56130500006] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้ หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่รวบรวมปรัชญาและแนวคิดหลายหลายแง่มุม โดยหนังสือเล่มนี้จะแบ่งเป็นบทโดยแต่ละบทจะมีการตั้งคาถามขึ้นมาแล้วนาแนวคิ ด ห รื อ ป รั ช ญ า ม า ต อ บ ค า ถ า ม โดยในแต่ละหัวข้ออาจจะหลายๆปรัชญาที่มีแนวคิดไปในทางเดียวกับหรืออาจขัดแ ย้ ง กั น แต่ทุกๆปรัชญาล้วนแล้วแต่เกิดขึ้นมาจากการมองเห็นความจริงจากการชีวิตของม นุ ษ ย์ แ ล้ ว น า ม าเป็ น แ น ว คิ ด ห รือ เห ตุ ผ ล เพื่ อ ม า เป็ น ข้ อ ส รุป ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ ไ ม่ ไ ด้ บ อ ก ว่ า สิ่ ง ใ ด ถู ก ห รื อ สิ่ ง ใ ด ผิ ด แต่จะพูดอธิบายในผู้อ่านได้คิดตามและวิเคราะห์ว่าเห็นด้วยหรือไม่ด้วยตัวเอง 2. นายปุณวัชร ปิ่นสุวรรณ [56130500042] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้ ได้รู้ถึงความสาคัญของการใช้ชีวิตและการทาเพื่อส่วนรวมว่าเรานั้นควรทา ประโยชน์เพื่อส่วนรวมบ้างมิใช่ให้ประโยชน์แก่ผู้อื่นอย่างเดียวแต่ให้ประโยชน์แก่ต นเองด้วยในแง่ที่ว่าเราใช้วิตให้มีความหมายรึยังได้เกิดสามารถหาคาตอบให้กับชีวิ ตได้รึยังว่าตนเองนั้นเกิดมาทาไม?หนังสือเรื่องนี้สอนผมหลายๆอย่างและแต่ละอย่า งสมารถนามาประยุกต์ใช้ได้จริงในการดารงชีวิตขึ้นอยู่กะว่าเราจะเอาแง่ในหนังสือม าประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
  • 3. 2 3. นายกิตติจิต หลงคะเจ้า [56130500005] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้  ทาให้รู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด สามารถเลือกปฏิบัติในทาง ที่ถูกที่ควร  ทาให้รู้ทางดาเนินชีวิตทั้งในส่วนตัวและสังคม  ทาให้เข้าใจกฏความจริงของชีวิต เป็นสิ่งที่ชีวิตต้องการ ทาให้ชีวิตสมบูร ณ์ ก า ร ศึ ก ษ า จ ริ ย ธ ร ร ม จึ ง เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า ถึ ง ก ฏ ธรรมชาติให้รู้ว่าชีวิตที่แท้จริงคืออะไรต้องการอะไร  การประพฤติหลักจริยธรรมเป็นการพัฒนาสิ่งมีชีวิตให้สูงขึ้นเรียกว่า มีวัฒ นธรรมทาให้ชีวิตมนุษย์เป็นชีวิตที่ประเสริฐกว่าสัตว์ ถ้าขาดด้านจริยธรรม แล้วคนไม่ต่างจากสัตว์แต่อย่างใด  ทาให้รู้จักค่าของชีวิตว่า ค่าของชีวิตอยู่ที่ไหน ทาอย่างไรชีวิตจะมีค่าและ ก็เลือกทางที่ดีมีค่าชีวิตก็มีค่าตามที่ต้องการ 4. นายพงศกร ชุติมาสกุล [56130500043] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้  ได้รู้ประวัติความเป็นมา  ได้เห็นปรัชญาต่างๆ ของแต่ละบุคคล  ได้รู้หลักการทางวิทยาศาตร์และจริยศาสตร์  ทาให้รู้ และ สามารถนาไปปฎิบัติในชีวิตประจาวัน  ทาให้รู้ผิดชอบชั่วดี อะไรสมควรทา ไม่สมควรทา 5. นายกฤษฎา นาวาศรีพร [56130500088] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้ ทาให้เข้าใจถึงมนุษย์กับความคิดที่แตกต่างออกไปหลายแนวคิดแบ่งแยกเป็นก ลุ่มที่ได้มาจากการพิจารณาด้านความรู้ ความเป็นจริง สิ่งแวดล้อม ความเชื่อ ศาสนา หลายๆมุม ทาให้เราสามารถที่จะดาเนินชีวิตไปได้อย่างถูกต้องและแท้จริง
  • 4. 3 6. นายอาทิตย์ จิตร์มงคลสุข [56130500101] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้ เป็ น ห นังสือที่ชี้ให้เห็น ถึงแนวท างการดาเนิ นชีวิต ของมนุ ษ ย์ ซึ่งสามารถเป็ นแนวท างให้เราเลือกปฏิบัติที่เห็นว่า ดี เห มาะสม ที่จะทาให้เราดาเนินชีวิตถูกต้องตามหลักจริยธรรม 7. นายณรงค์เดช นิยมาภา [56130500107] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้  ทาให้รู้จักแนวคิดต่างๆในการดารงชีวิต สิ่งไหนที่เข้ากับตัวเรา เราก็นาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์  ทาให้รู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด และสามารถเลือกปฏิบัติใน ทางที่ถูกและเหมาะสม  ทาให้รู้จักคุณค่าของชีวิตว่า ทาอย่างไรชีวิตถึงจะมีคุณค่า ถึงจะมีความสุข และอาจเลือกแนวทางปฎิบัติที่ดีให้กับตัวเองได้ 8. นายพงศกร เล็กพอใจ [56130500128] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้  อธิบายถึงลัทธิปรัชญาแบบต่างอย่างละเอียดและรอบคอบ  แสดงตัวอย่างที่เข้าใจได้ง่าย สามารถเชื่อมโยงแนวคิดได้ด้วยตนเอง  อธิบายถึงหลักการทางความคิดที่สามารถเห็นได้ในชีวิตประจาวัน  อธิบายถึงความรับผิดชอบต่อความคิดของตนเองฃ  ก า ร ใช้ วิธี ก า ร เขี ย น แ บ บ ชั ก จุ ง ให้ ผู้ อ่ า น ค ล้ อ ย ต า ม ทาให้เนื้อหาน่าสนใจยิ่งขึ้น
  • 5. 4 CHAPTER 1 : มนุษย์คืออะไร ? ใ น บ ท นี้ จ ะ เ ก ริ่ น น า ว่ า เมื่อเราอธิบายมนุษย์โดยมองลึกลงไปมากกว่าศาสตร์อื่นๆเช่น วิทยาศาสตร์ ที่มองในเรื่องของสรีระหรือการทางานของอวัยวะต่างๆ โดยจะมองลึกลงไปโดย อัตยนะ (ปุณวัชร)ทฤษฎีสสารนิยม (Materialism) ทฤษฎีสสารนิยมหรือทฤษฎีวัตถุนิยม (Materialism) ได้แก่พวกที่ถือว่า ส ส า ร แ ล ะ ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ข อ ง ส ส า ร เท่ า นั้ น เป็ น ค ว า ม แ ท้ จ ริง จิตเป็นเพียงปรากฏการณ์ของสสาร ดังนั้น สรรพสิ่งในโลกล้วนแต่เป็นสสาร ทฤษ ฎีสสารนิยมยุคแรก ๆ อาจได้แก่แนวความคิดทางธรรมชาติ ที่เราเรียกว่าธรรมชาตินิยม เพ ราะถือว่า สสารเป็ นความแท้จริง ชีวิตคือพลังงานทางฟิสิกส์และเคมีที่ซับซ้อน ส่วนจิตคือปรากฏการณ์ทางสมอง สสารนิยม เชื่อว่าสสารเป็ นบ่อเกิดของโลกจักรวาล มนุ ษ ย์ มีร่างกายที่ปรากฏอยู่ประกอบด้วยกลไกต่าง ๆ และทางานได้ดุจเครื่องจักรกล ส่วนจิตนั้นเป็นสิ่งที่ไม่มีอยู่จริง ลักษณะต่าง ๆ ของจิต ไม่ว่าจะเป็นความรู้สึก นึกคิด ความเข้าใจ เป็นผลมาจากการรวมตัวของวัตถุหรือสสาร เ มื่ อ เ ป็ น เ ช่ น นี้ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ส ส า ร นิ ย ม จึงเป็ นความพยายามที่จะหาคาตอบเกี่ยวกับเรื่องสสารโดยเฉพาะ แนวความคิดเกี่ยวกับสสารนิยม จึงแพร่หลายมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ และมีทฤษฎีสสารนิยมเกิดขึ้นมากมายที่สาคัญที่สุดได้แก่ ทฤษฎีจักรกลนิยม (Mechanicism) ทฤษฎีจักรกลนิยม (Mechanicism) ก่อตั้งโดย โธมัส ฮ็อบส์ (Thomas Hobbes) นั ก ส ส า ร นิ ย ม ช า ว อั ง ก ฤ ษ ถื อ ว่ า ชีวิต แ ล ะค ว าม คิด ทุ ก อ ย่างเกิด ขึ้น ต าม ก ฎ ก ล ศ าส ต ร์ที่ ต าย ตัว โลกเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่ตายตัวประกอบด้วยสสารและพลังงาน ดังนั้น สสารจึงเป็นความแท้จริง ส่วนจิตคือการทาหน้าที่ของสมอง
  • 6. 5 (กุลนันท์)ทฤษฎีจิตนิยม (Idealism) ทฤษฎีจิตนิยม (Idealism) ได้แก่พวกที่ถือว่า จิตเท่านั้นเป็นความแท้จริง สสารเป็นเพียงปรากฏการณ์ของจิตเท่านั้น ชาวจิตนิยมเชื่อว่า จิต เป็นอมตะ ไม่สูญสลาย ร่างกายของมนุษย์เป็นเพียงปรากฏการณ์ชั่วขณะหนึ่งของจิต เป็ น ที่ อ าศัย ชั่ว ค ราว ข อ งจิต เมื่ อ ร่างก าย ดับ ล ง จิต ก็ ยังค งอ ยู่ ไม่แตกดับไปตามร่างกาย พวกจิตนิยม พยายามที่จะหาคาตอบให้กับตัวเองว่า จิตคืออะไร มีบ่อเกิดมาจากอะไร มีแหล่งที่มาอย่างไร มีธรรมชาติเป็ นอย่างไร มีจุดมุ่งหมายอย่างไร เป็นการศึกษาโลกในลักษณ ะที่เป็นนามธรรม เพราะพวกเขาเชื่อว่า จิตเท่านั้นที่เป็นความแท้จริง สสารเป็นแต่เพียงสิ่งที่ปรากฏ ห รือ เป็ น ป ราก ฏ ก ารณ์ ข อ งจิต ไม่ ส าม ารถ ด ารงอ ยู่ชั่วก าล น าน หรือสสารจะต้องมีการแตกสลาย แต่จิตหรือวิญญาณไม่มีการแตกสลาย เป็นอมตะ ดั ง นั้ น ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง จิ ต ห รือ วิ ญ ญ า ณ จึง มี ลั ก ษ ณ ะ ต่ า ง ๆ ตามทัศนะหรือแนวความคิดของนักปรัชญาแต่ละท่าน ช า ว จิ ต นิ ย ม บ า ง ท่ า น เชื่ อ ว่ า เมื่ อ ร่ า ง ก า ย แ ต ก ดั บ จิตจะกลับไปสู่แหล่งดั้งเดิม กล่าวคือจิตจะกลับเข้าไปสู่จิตสัมบูรณ์ ซึ่ ง เ ป็ น บ่ อ เ กิ ด ข อ ง ส ร ร พ สิ่ ง ด้ ว ย ลั ก ษ ณ ะ ดั ง ก ล่ า ว นี้ จึงมีนักปรัชญ าตั้งลัทธิหรือทฤษฎีขึ้นมาใช้อธิบายอีกทฤษฎีหนึ่งว่า “ทฤษฎีวิญญาณเป็นเนื้อสาร” คาว่า “วิญญาณเป็นเนื้อสาร” ก็หมายถึงวิญญาณเป็นอมตะ คงที่ ไม่สูญสลาย ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่ว่าร่างกายจะสูญสลายหรือดับสูญไปก็ตาม แน วคิด เกี่ ย วกับ จิต วิญ ญ าณ นี้ ได้มีก ารวิวัฒ น าก ารม าเรื่อ ย ๆ ตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ จนกระทั่งถึงปัจจุบัน ส่วนลักษณะแนวคิดนั้น จะเหมือนกันบ้าง คล้ายคลึงหรือแตกต่างกันบ้าง เช่น
  • 7. 6 เพลโต้ (Plato) นักปรัชญาเมธีที่สาคัญของกรีกโบราณ ท่านถือว่า วิญญาณเป็นเนื้อสารทางจิต ทาหน้าที่คิด รู้สึกและจงใจ วิญญาณส่วนที่ทาหน้าที่คิด เป็นอมตะ เพราะเป็นส่วนที่เป็นเหตุผล เป็นส่วนแห่งสติปัญญา จะไม่สูญสลายไปในเมื่อร่างกายสูญสลายไป เพราะไม่ถูกสร้างขึ้น ส่ ว น วิ ญ ญ า ณ ที่ ท า ห น้ า ที่ รู้ สึ ก แ ล ะ จ ง ใ จ เป็ น ก า ร ท า ห น้ า ที่ ร ะ ดั บ ต่ า เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ร่ า ง ก า ย โ ด ย ต ร ง ดังนั้นเมื่อร่างกายสูญสลายไป ความรู้สึกและความจงใจใด ๆ ก็หมดไปด้วย เพราะถือว่าเป็นกิจกรรมของร่างกายโดยเฉพาะ เ พ ล โ ต้ ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น นั ก จิ ต นิ ย ม ที่ เ ด่ น ดั ง ท่านได้พยายามอธิบายหรือค้นหาแหล่งที่เกิดของจิตวิญญาณ โดยท่านสรุปว่า วิญญาณมนุษย์ มีบ่อเกิดจากวิญญาณโลก (World Soul)วิญญาณโลกนี้ เป็นโลกแห่งแบบ (World of Form) หรือโลกแห่งความคิด (World of Ideas) ซึ่ งมี ม า ก่ อ น ร่างก า ย ดั งนั้ น วิญ ญ าณ จึงส าคั ญ ก ว่ าร่า งก า ย เป็นตัวบังคับกิจกรรมของร่างกาย อ ริส โต เติ้ ล (Aristotle) ถือ ว่า วิญ ญ าณ เป็ น เนื้ อ ส ารท างจิต ไม่ใช่สิ่งที่ถูกกักขังอยู่ในร่างกาย เป็นแต่เพียงรูปแบบที่ทาหน้าที่จัดระบบร่างกาย เมื่อเป็นเช่นนี้ระหว่างรูปแบบกับเนื้อสารจึงมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างแน่นแ ฟ้ น จะอย่างไรก็ตาม อริสโตเติ้ลก็ได้สรุปหน้ าที่ของวิญ ญ าณ ไว้ 2 อย่างเหมือนเพลโต้คือ หน้าที่ระดับต่า ได้ แ ก่ ก ารรับ รู้ ก ารจา ก ารคิด แล ะก ารจงใจ เป็นสิ่งที่ไม่เป็นอมตะ เมื่อร่างกายแตกดับ ก็จะสูญสลายไปพร้อมกับร่างกาย หน้าที่ระดับสูง ได้แก่ ก ารคิด ห าเห ตุ ผ ล เป็ น สิ่งที่ เป็ น อ ม ต ะ เพราะเป็นเนื้อแท้ของวิญญาณ เดส์การ์ตส์ (Descartes) บิดาแห่งปรัชญาสมัยใหม่ เป็นนักปรัชญาทวินิยม เห็นว่าวิญญาณเป็นเนื้อสาร โดยแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ 1. เนื้อสารสัมบูรณ์ ได้แก่พระเจ้า (God)
  • 8. 7 2. เนื้อสารสัมพัทธ์ ได้แก่สสารและวิญญาณ สสารมีลักษณะกินที่ อยู่กับที่และย่อมเป็นไปตามกฎกลศาสตร์ ส่วนวิญญาณนั้น เคลื่อนไหว ไม่กินที่ มีความรู้สึกนึกคิด และจงใจ สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(ปุณวั ชร) แ น ว คิ ด ข อ ง ส ส า ร นิ ย ม คื อ ยึ ด ถื อ แ ต่ สิ่ ง ที่ จั บ ต้ อ ง ไ ด้ แ ล ะ รั บ รู้ ไ ด้ ด้ ว ย ด้ ว ย ป ร ะ ส า ท สั ม ผั ส ทั้ ง 5 ในบางครั้งแนวคิดนี้อาจจะเป็นประโยน์ต่อเราในการที่จะเตือนให้เรามีสติอย่าคิดอะ ไรไปก่อน ในสิ่งที่ยังไม่มาถึงทาให้เราใช้ชีวิตอยู่กับปัจจุบันมากขึ้น หรือการที่ไม่หลงงมงายในสิ่งเหนือธรรมชาติมากเกินไป สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(กุลนั นท์) แนวคิดของปรัชญานี้ลึกซึ้งมากว่าสิ่งที่เราสัมผัสได้ เช่นความรู้สึกหรือ สิ่งที่ เห นื อ ธ รรม ช าติเช่ น ส ว รรค์ น รก เป็ น แ น ว คิด ที่ ท าให้ ค น มีจิต ใจ อ่ อ น โย น ก ลัว ต่ อ บ าป ตั ว อ ย่ างใน ห นั งสือ ที่ ย ก ม าเช่ น เมื่ อ ใน วัน ห นึ่ งมีค น ส่ งจด ห ม าย ม าห าเราแล้วเขีย น ข้อ ค วาม ว่า คุณแม่ของคุณเสียชีวิตแล้วด้วยโรคมะเร็ง คุรเสียใจคุณร้องไห้และเป็นทุกข์ ถ า ม ว่ า ก ร ะ ด า ษ แ ผ่ น นั้ น ซึ่ ง เ ป็ น แ ค่ ส ส า ร ช นิ ด ห นึ่ ง ท า ไ ม ถึ ง ส า ม า ร ถ ท า ให้ คุ ณ เกิ ด ค ว า ม รู้สึ ก ต่ า ง ๆ ม า ก ม า ย หรือมีผ ลกระท บ ต่อความรู้สึกและจิต ใจของคนเรา เพ ราะฉะนั้น มนุษย์ถึงเป็นมากกว่าสสาร CHAPTER 2 : มนุษย์เป็นอย่างไร (ณรงค์เดช)ในบทที่ 2มนุษย์เป็นอย่างไร มีนักปรัชญา 3กลุ่มได้แสดงความคิดเห็นเอาไว้ แบ่งได้3กลุ่ม 1. ชาวนิยัตินิยม 2ชาวอิสระนิยม 3.ชาวทางสายกลาง
  • 9. 8 1. ชาวนิยัตินิยม เชื่อว่ามนุษย์ไม่เคยอิสระ ชาวนิยัตินิยม มักจะสังเกตต่อสิ่งต่างๆรอบกาย ทั้งที่มี ชีวิตและไม่มีชีวิต ย ก ตัว อ ย่ าง จาก สิ่งชีวิต ใน คืน ที่ ่ น ต ก ห นั ก ใน ภ าค ใต้ ทาให้เขื่อนที่กักเก็บน้าแตก ทาให้เกิดน้าท่วมใหญ่ขึ้น ชาวนิยัตินิยมมักคิดว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต้องมีสาเหตุไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เช่น ทาไมเขื่อนแตก เพราะน้ามีปริมาณมาก ทาไมน้ามีปริมาณมาก เพราะ่นตกหนัก ทาไม่นตกหนัก เพราะเกิดมรสุม และต่อมา สิ่งที่ไม่มีชีวิต ชาวนิยัตินิยมมักจะมองเห็นตรงกันว่า ส า เห ตุ แ ล ะ เงื่ อ น ไ ข อั น เป็ น ที่ ม า ข อ ง ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ เดิ ม มันก็มักจะเกิดเหตุการณ์เช่นเดียวกันเสมอ ในมุมมองของนักจิตวิทยาเชื่อว่า ชาวนิยัตินิยมจะเสนอความคิดว่า มนุษย์ไม่เคยกระทาอะไรอย่างอสิระ มักอ้างเหตุผลหลัก ทั้ง 3 1.เหตุผลด้านสรีรวิทยา คือ สิ่งที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอยู่ตลอดเวลา และในการตอบสนอง สิ่งเร้านั้นมีกฎเกณฑ์แน่นอน เช่น เมื่อไม่มีอาหารในท้อง ก็จะหิว 2.เ ห ตุ ผ ล ด้ า น จิ ต วิ ท ย า ย ก ตั ว อ ย่ า ง คื อ เมื่อท้องหิวเราไม่สามารถสั่งท้องไม่ให้หิวได้ เราไม่มีทางอื่นที่จะระงับความคิดได้ นอกจากทาความกฎเกณฑ์ของมัน คือ กินนั้นเอง 3.เ ห ตุ ผ ล ด้ า น สั ง ค ม วิ ท ย า มักเชื่อว่ามนุษย์ที่เกิดและเติบโตท่ามกลางระบบการอมรมและขัดเกลาทางสังคมแล ะวัฒนธรรมแบบไหน มันจะมีลักษณะเป็นแบบนั้น เช่น เด็กไทยที่เติบโตที่ usa เมื่อกลับมาเมืองไทย เค้ามักจะกินอาหารไทยไม่เป็น ไม่เข้าใจวัฒนธรรมบางอย่าง หน้าตาเป็นเพียงคนไทย แต่ความคิด รสนิยม เป็นแบบคน usa 2. อิสรนิยม มนุษย์ในบางระดับเป็นอิสระ
  • 10. 9 ชาวอิสระนิยมเชื่อว่ามนุษย์มีอิสระเต็มที่ และ จงใจ หรือ เลือกทา ด้วยตนเองไม่ได้อยู่ภายใต้อิทธิผลใดๆ หรือ แรงชักนาของอะไรทั้งสิ้น ย ก ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น ชายหนุ่มคนหนึ่งกาลังยืนรอรถเมล์เพื่อไปทางานให้ทันเวลา เพราะ ถูกเจ้านายตาหนิว่ามาทางานสายบ่อยครั้งแล้ว จึงกลัวว่าจะถูกตาหนิอีก ขณะรอรถ เขาได้พ บ ห ญิ งชราเป็ น ลม ล้มลงไป ไม่มีใค รสน ใจห ญิ งชราเรย ในเว ลาฉับพลันชายหนุ่มตัดสินใจอุ้มหญิงชราขึ้นแท็กซี่พาไปส่งที่โรงพยาบาล ท า ใ ห้ ใ ห้ เ ค้ า ม า ท า ง า น ส า ย แ ล ะ ถู ก หั ก เ งิ น เ ดื อ น ในการตัดสินใจครั้งนี้ไม่มีใครบังคับเข้าทั้งสิ้น แต่มโนธรรมในใจเค้าเป็นอิสระ และกระตุ้นให้ตัวเองออกมาจากความนึกคิด ถึ งแ ต่ ป ระโย ช น์ ส่ ว น ตัว เพื่ อ ท าค ว าม ดี แ ล ะเข าก็ ได้ ท าส าเร็จ การตัดสินใจครั้งนี้เป็นอิสระ และปราศจากความคิดเชิงผลประโยชน์ใดๆทั้งสิ้น (อาทิตย์)สรุปทางสายกลางระหว่างสองความคิดที่ขัดแย้ง นิยัตินิยม กับ อิสรนิยมมีทัศนะที่ขัดแย้งกันในเรื่องของเสรีภาพของมนุษย์ แล้วมีนักปรัชญาอีกกลุ่มหนึ่งเรียกว่าชาวท างสายกลางมีทัศนะที่ประนีประนอมว่าจ ริงๆ แล้วช าวนิ ยัตินิ ย ม กับ อิส รนิ ยม ไม่ได้มีทัศ น ะที่ ขัด แย้งกัน แต่มิได้มีการวิเคราะห์ปัญหากันอย่างรอบคอบ ชาวนิยัตินิยมนั้นมีทัศนะว่าทุกอย่างที่มนุษย์แสดงออกนั้นถูกกาหนดด้วยปัจจัยอย่า ง ใ ด อ ย่ า ง ห นึ่ ง น อ ก ตั ว ม นุ ษ ย์ ซึ่งมนุษย์ตามความคิดของนักปรัชญากลุ่มนี้คือหุ่นยนต์ที่ถูกกาหนดให้แสดงพฤติก รรมออกมาอย่างที่เห็นด้วยปัจจัยหลักๆสามประการคือ ปัจจัยด้านสรีรวิทยา ปัจจัยด้านจิตวิทยา และปัจจัยด้านสังคมวิทยา นั ก ป รั ช ญ า ก ลุ่ ม ที่ ส อ ง คื อ ช า ว อิ ส ร นิ ย ม เ ห็ น ว่ า แ ม้ ใน ห ล าย เรื่อ งที่ ม นุ ษ ย์ ดู เหมื อ น จ ะถู ก โด ย ปัจ จัย แ ว ด ล้ อ ม แต่ในหลายเรื่องสาคัญ ในชีวิตมนุ ษย์เป็ นอิสระสามารถเลือกเองได้ เรื่องที่ชาวอิสรนิยมคิดว่ามนุษย์เป็นอิสระคือ ปรากฏการณ์ทางศีลธรรม และการสร้างสรรค์งานทางศิลปะและงานสร้างสรรค์ทางสติปัญญา
  • 11. 10 นักปรัชญากลุ่มที่สามคือชาวสายกลางมีทัศนะที่ชี้ให้เห็นว่าทั้ง2่่ ายนั้นยังไ ม่ ไ ด้ วิ เ ค ร า ะ ห์ ปั ญ ห า กั น อ ย่ า ง ร อ บ ค อ บ ชาวเดินสายกลางเชื่อว่าการที่มนุษย์ถูกกาหนดโดยปัจจัยแวดล้อมไม่ขัดกับการที่ม นุ ษ ย์ จ ะมีเส รีภ าพ คื อ ก ารที่ ม นุ ษ ย์ ถู ก ปัจ จัย แ ว ด ล้ อ ม ก าห น ด มนุษย์ยังสามารถเลือกที่จะจัดการไปตามวิถีทางที่เขาเห็นว่าเหมาะสม ก่อนที่ปัจจัยแวดล้อมจะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเหล่านั้นของมนุ ษย์ มนุษย์ได้เลือกที่จะจัดการกับปัจจัยเหล่านั้นอย่างเสรีด้วยตัวของเขาเองแล้ว มนุษย์จึงสามารถมีเสรีภาพได้ท่ามกลางสภาวะที่ถูกกาหนดโดยปัจจัยแวดล้อม ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น การที่่นตกแล้วส่งผลให้เราเปียกเป็นภาวะที่เราหลีกเลี่ยงไม่ได้แต่่นก็เป็นเพียงแ ค่ข้อมูลที่ส่งผลให้เราเปียกแล้วนามาพิจารณาว่าจะจัดการกับมันอย่างไร บางคนเลือกที่จะกางร่ม บางคนเลือกที่จะเดินต่อไปโดยไม่สนใจว่าจะเปียก บ างค น อ าจ ย ก ก ระด าษ ห นั งสือ พิ ม พ์ ที่ ติ ด มือ ม าขึ้น ปิ ด ศี รษ ะ คือมนุษย์ก็สามารถมีเสรีภาพได้แม้จะถูกกาหนดโดยปัจจัยแวดล้อมก็ตาม สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(ณรง ค์เดช) ใน บ ท นี้ จ ะ พู ด ถึ ง อิ ส ร ภ า พ ข อ ง ม นุ ษ ย์ เป็ น ส่ ว น ให ญ่ มีทั้งแนวคิดความคิดที่ว่า มนุษย์ไม่เคยอิสระมนุษย์ในบางระดับเป็นอิสระ และ มนุษย์สายกลาง จะเชื่อมโยงกับแนวคิดทางด้าน จริยศาสตร์ทั้งด้านแนวความคิด และการดารงชีวิตในสังคม มาปรับใช้กับชีวิตของเราให้เกิดความสุข ไม่สร้างความทุกข์ให้ตัวเอง ใ น ด้ า น ค ว า ม คิ ด เราสามารถนาหลักความคิดของทุกๆระดับมาปรับใช้กับตัวเองเราเอง เพราะ ปัจจุบันเราต้องเจอคนมักหน้าหลายตาที่ไม่รู้ว่าใครเป็นอาไรยั งไง หรือ เจอกับเหตุการณ์ ต่างๆนาๆ เรานาหลักความคิดนี้ มาใช้ในการพิจารณาต่างๆ การตัดสินใจทาอาไรต่างๆได้ โดยิ่งที่เราทาไปนั้น เราควรทาให้เกิดประโยชน์ แ ล ะ ไ ม่ เบี ย ด เบี ย น ผู้ อื่ น ให้ เดื อ ด ร้อ น ใน ด้ า น ก า ร ด า ร ง ชี วิต เราส าม ารถ น าห ลัก ค วาม คิด ข อ งทุ ก ๆ ระ ดับ ม าป รับ ใช้เช่ น กัน เพื่อให้เข้ากลับตัวเองเพื่อให้สามารถดารงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข
  • 12. 11 ไม่ว่าจะเจอเหตุการณ์ใดก็ตาม เหมือนเรามีหลักความคิดอยู่ คิดในแง่ดี แค่นี้เราก็จะสามารถดารงชีวิตได้ในทุกๆสภาวะต่างๆอย่างอยู่รอด สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(อาทิ ตย์) สาระสาคัญคือ มนุษย์สามารถมีเสรีภาพในคิดหรือ กระทาสิ่งต่างๆ ต าม ที่ ต น เอ งต้ อ งก าร แ ม้ จ ะถู ก ปัจ จัย แ ว ด ล้ อ ม ก าห น ด ก็ ต าม ตามที่ชาวสายกลางได้ชี้ให้เห็น ซึ่งในชีวิตประจาวันเราได้คิดได้กระทาสิ่งต่างๆ อย่างเสรี แต่ต้องมีความเหมาะสม ไม่ทาให้คนอื่นเดือดร้อนเสียหาย CHAPTER 3 : (กฤษฎา)สรุปบทที่ 3(ส่วนแรก) ปัญญานิยม มีนักปรัชญาที่สาคัญในกลุ่มนี้ 3 คน ดังนี้ โ ส เ ค ร ตี ส ถือว่าปัญญาอันได้แก่ความรู้นั้นคือคุณธรรมที่ทาให้มนุษย์เข้าถึงความจริงอันสูงสุด ได้ เพลโต้ เขาเห็นว่าวิญญาณของมนุษย์มี 3 ภาค คือ ภาคที่อยู่ต่าที่สุด คือ ความอยาก ความหิว การสืบพันธุ์ มีทั้งในพืช สัตว์ คน ภาคกลางสูงขึ้นมา คือ ความกล้าหาญ เกียรติยศ และชื่อเสียง
  • 13. 12 ส่ ว น ภ า ค ที่ สู ง ที่ สุ ด คื อ ภ า ค ปั ญ ญ า อั น เป็ น ลั ก ษ ณ ะ เฉ พ า ะ ที่ มี อ ยู่ ใ น ตั ว ม นุ ษ ย์ เท่ า นั้ น สามารถทาให้มนุษย์เข้าถึงโลกแบบอันเป็นโลกแห่งสัจธรรมได้ อ ริ ส โ ต เ ติ้ ล เข า พิ จ า ร ณ า ถึ ง ค ว า ม จ ริ ง ที่ มี อ ยู่ ใ น โ ล ก มองเห็นคุณสมบัติที่แตกต่างกันระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต เช่น การกินอาหาร การเคลื่อนไหว การขับถ่าย การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต แนวคิด กลุ่มนี้ แม้ความคิดในรายละเอียดจะมีความแต กต่างกัน แต่แนวคิดหลักก็เหมือนกันคือถือว่า ปัญญา หรือ ความรู้ดีที่สุด ปัญญา คือ ความสามารถในการใช้เหตุผลเพื่อแสวงหาความจริง ปัญญาทาให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ ปัญญาเป็นลักษณะเฉพาะของมนุษย์ที่ทาให้มนุษย์บรรลุถึงสัจธรรมได้ วิมุตินิยม นักปรัชญา กลุ่มนี้ คือ พวกซินนิค (cynic) สโตอิก (stoic) ทางศาสนา เช่น คริสต์ศาสนา พุทธศาสนา แนวคิด คือ กลุ่มที่เน้นความหลุดพ้นจากกิเลส เน้นความสงบทางจิต แนวคิดนี้มีลักษณะประชดสังคมที่บริบูรณ์ด้วยความสุข หลีกหนี กฎหมาย ระเบียบประเพณี โดยถือว่าตนเองเป็นพลเมืองโลก ไม่ได้มีอุดมการณ์ที่แน่นอน เพียงแต่เบื่อหน่ายสังคม และกระทาตนแบบไม่สนใจแยแสต่อคานินทาของคนอื่น สรุปแนวคิดวิมุตินิยม ค วาม ก ลัวผิด ห วัง ซึ่งท าให้ เกิด ค วาม ทุ ก ข์ท รม าน ท าให้ ก ลุ่ม นี้ เน้ น ที่ ก า ร ค ว บ คุ ม ต น เอ ง คื อ ก า ร ท า ใ จ ใ ห้ ว า ง เฉ ย ไม่ ค ว รท าใจให้ ผู ก พั น กับ สิ่งภ าย น อ ก คือ เงิน อ าน าจ จะได้พบกับสิ่งที่มีค่าที่สุด ได้แก่ ความสงบใจ
  • 14. 13 (พงศกร)สรุป มนุษย์กับการแสวงหา ปัญญานิยม : ค่าของชีวิตอยู่ที่การใช้ปัญญา - พ อ ใ จ กั บ ก า ร ค้ น ค ว้ า ห า ค ว า ม รู้ ใ ส่ ตั ว เอ ง เส ม อ เพราะความรู้ของชาวปัญญานิยมคือความสุขที่สุดในชีวิต - รู้ != เข้าใจ รู้ -> ไ ด้ ม า จ า ก ก า ร อ่ า น ต า ร า ร่ า เ รี ย น หรือการคิดเชิงระบบมีเหตุมีผล เ ข้ า ใ จ -> ไ ด้ ม า จ า ก ชี วิ ต จ ริ ง ประสบการณ์ที่ได้สะสมมาจนสุดท้ายประสบการณ์จะสอนให้เข้าใจ ชีวิต อัตถิภาวนิยม : จงเลือกและรับผิดชอบ เป็ น คิ ด ที่ อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง อ สุ ข นิ ย ม กั บ สุ ข นิ ย ม ที่ จ ะ เ น้ น ก า ร มี อิ ส ร ะ ใ น ก า ร เ ลื อ ก ข อ ง ม นุ ษ ย์ เ ป็ น ห ลั ก แต่ก็มีสิ่งหนึ่งที่ขัดขว้างการมีเสรีภาพของมนุ ษย์คือจารีตประเพณี จารีตประเพณีเกิดขึ้นมาจากการมีความคิดเห็นร่วมกันของคนในสังคมนั้นๆ ว่าวิ่งไหนดีสิ่งไหนไม่ดี เพื่อที่มนุษย์จะได้อยู่ร่วมกันได้อย่างสะดวกยิ่งขึ้น บทบาทของจารีตประเพณีคือการผูกร้อยผู้คนในสังคมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หล่อหลอมคนที่แตกต่างกันในด้านพื้นเพ ชาติกาเนิน ความคิด ความเชื่อ การศึกษา เป็นต้นให้เป็นเอกภาพ หากมีคนไม่ทาตามก็จะเป็นคนที่แตกแถว ม อ ง แ ล้ ว ดู ไ ม่ ดี แ ล้ ว ก็ จ ะ ถู ก สั ง ค ม ป ร ะ น า ม จึงเป็นสิ่งที่บีบรัดชีวิตมนุษย์ให้มีเสรีภาพน้อยลง เสรีภาพ : แก่นของความเป็นมนุษย์ มนุษย์มีสิ่งที่อยากได้2สิ่งคือ 1. อ ย า ก มี ( สิ่ ง ข อ ง ) คื อ การแสวงหาสิ่งของภายนอกตัวมาครอบครองและสามารถครอ บครองสิ่งเหล่านั้นได้อย่างสมปราถนาก็จะทาให้มีความสุข 2. อยากเป็น คือ การแสวงหาชื่อเสียง ยศถาบรรดาศักดิ์อานาจ เมื่อได้มาครอบครองสมความปราถนาก็จะมีความสุข
  • 15. 14 ใ น แ ง่ ข อ ง ช า ว อั ต ถิ ภ า ว นิ ย ม คิ ด ว่ า ก า ร มี การครอบครองสิ่งของวัตถุต่างๆ ไม่ใช่แก่นแท้ของความเป็นมนุษย์ แ ล ะ ก า ร อ ย า ก เ ป็ น ต่ า ง ๆ ก็เปรียบเสมือนการใส่หัวโขนที่คนในสังคมสมมติขึ้นมาเท่านั้น ไม่ใช่แก่นแท้ของมนุษย์เช่นกัน สิ่งที่ ช าว อัต ถิ ภ าว นิ ย ม ต้ อ งก ารที่ สุ ด คื อ เส รีภ า พ เสรีภาพในการเลือกใช้ชีวิต หากขาดไปก็ไม่ควรเรียกว่ามนุษย์ “การที่มนุษย์สามารถเลือกได้เสมอไม่ว่าจะตกอยู่ในสถานการณ์เช่นใดก็ตา ม ท า ใ ห้ ม นุ ษ ย์ พิ เศ ษ ก ว่ า สิ่ ง อื่ น เช่ น พื ช แ ล ะ สั ต ว์ ที่ทาตามสันชาติญาณเท่านั้น ไม่สามารถเลือกเองได้” เสรีภาพ : กับการหลอกตัวเอง การที่ทาตัวเข้ากับคนส่วนใหญ่ ให้เข้ากับวัฒ นธรรม จา รี ต ป ร ะ เ พ ณี ข อ ง สั ง ค ม แม้จะท าให้ตัวเองรู้สึกป ลอดภัยเห มือนกับ น กที่อยู่ในกรง แ ล ะ ไ ม่ ต้ อ ง รั บ ผิ ด ช อ บ ชี วิ ต ข อ ง ต น เ อ ง เ ต็ ม ที่ แต่สิ่งนี้ก็ทาให้เราสูญเสียสิ่งที่มีค่าที่สุดในชีวิตคือเสรีภาพและการเลือกไป เสรีภาพ : ความรับผิดชอบ ก า ร ก ร ะ ท า ทุ ก อ ย่ า ง ข อ ง ม นู ษ ย์ คื อ ก า ร เลื อ ก แม้การไม่ตัดสินใจก็ถือเป็ นการเลือกในรูปแบบหนึ่ง เพราะฉนั้น เมื่อกล่าวถึงที่สุดแล้วในสถ าน การณ์ ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เราเท่านั้นคือผู้รับผิดชอบต่อการตัดใจของตัวเองที่เกิดขึ้น สรุป อัตถิภาวนิยม ป รั ช ญ ญ า วั ติ ภ า ว นิ ย ม คื อ ร ะ บ บ ค ว า ม คิ ด ที่ เน้ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ไ ด้ ม า ซึ่ ง วิ ถี ชี วิ ต ม าก ก ว่ า วิ ถี ชี วิ ต ที่ ไ ด้ ม า จ า ก จ า รี ต ป ร ะ เ พ ณี ค น เ ร า อ า จ เ ลื อ ก วิ ถี ชี วิ ต ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น แต่ ห ากว่าวิถีชีวิต เห ล่านั้นได้มาจากการเลือกด้วยตัวเอง ชาวอัตถิภาวนิยมก็คงยอมรับวิถีชีวิตดังกล่าวนั้นได้เสมอ
  • 16. 15 สรุปท้ายบท มนุษย์ควรใช้ชีวิตอย่างไรจึงจะถือว่าเหมาะสมและคุ้นค่ากับการที่ได้มาเป็น มนุษย์ มีนักปรัชญญาให้คาตอบโดยแบ่งเป็น 2กลุ่มหลักคือ กลุ่มที่แสวงหาความสุข กับ กลุ่มที่แสวงหาสิ่งอื่นที่ไม่ใช่ความสุข สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(กฤษ ฎา) สุขนิยม เน้นความสุขที่กายดีที่สุด } วัตถุนิยม ปัญญานิยม เน้นปัญญาดีที่สุด จิตนิยม วิมุตินิยม เน้นความหลุดพ้นจากกิเลส อัตถิภาวนิยม เน้นที่เสรีภาพในตัวมนุษย์ ทวินิยม มนุษย์นิยม มองรอบด้าน เน้นทั้งกายและจิต สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(พงศ กร) สาระสาคัญของบทนี้จะกล่าวถึงแนวคิดชีวิตของมนุษย์แบบอัตถิภาวนิยมคื อ แ น ว คิ ด ข อ ง อั ต ถิ ภ า ว นิ ย ม เป็ น ก า ร มุ่ ง ส่ ง เส ริม ม นุ ษ ย์ ใ ห้ มี ลั ก ษ ณ ะ ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แ น ว คิ ด ท า ง ป รั ช ญ า คื อ ก ารส อ น ให้ ผู้ เรีย น เป็ น ตั ว ข อ งตั ว เอ ง มีเส รีภ าพ ใน ก ารเลือ ก มี ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ห รื อ ตั ด สิ น ใ จ ใ ด ๆ ด้ ว ย ต น เ อ ง ยอมรับถึงความสามารถในการตัดสินใจต่อสิ่งต่างๆและทั้งผลอันจะเกิดตามมาด้วย ตัวของเขาเองด้วย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่ดีหรือร้าย ส่ ว น ท า ง พุ ท ธ ศ า ส น า อ า จ ก ล่ า ว ไ ด้ ว่ า พระพุทธเจ้าทรงเป็นพระศาสดาองค์แรกก็ว่าได้ ที่มีบุคลิกภาพแบบอัตถิภาวนิยม เพราะพระองค์ไม่ทรงพอพระทัยกับสภาพสังคมที่เป็นอยู่ในขณะนั้น สังคมที่มีพราหมณ์และศาสนาพราหมณ์คอยกาหนดความเป็นไปของประชาชน
  • 17. 16 ชีวิตของผู้คนต้องล่องลอยไปตามกระแสของสังคม )่ากชีวิตไว้กับพิธีกรรมต่าง ๆ( ขึ้นอยู่กับอานาจที่มองไม่เห็น)พระพรหม พระศิวะ และพระวิษณุ( เ ป็ น ไ ป อ ย่ า ง ไ ร้ ศั ก ดิ์ ศ รี ข อ ง ม นุ ษ ย์)ร ะ บ บ ว ร ร ณ ะ( แต่ละอย่างล้วนสร้างความแปลกแยกในชีวิตมนุษย์ทั้งสิ้น พระพุทธเจ้าทรงสถาปนาพุทธศาสนาขึ้นมา เพื่อย้าถึงศักดิ์ศรีของมนุษย์ เป็นศาสนาของมนุษย์ โดยมนุษย์ และเพื่อมนุษย์ จึงนับเป็นท่าทีแบบอัตถิภาวนิยม ที่เกิดขึ้นก่อนลัทธิอัตถิภาวนิยมถึง 2,500 ปี ก ล่ า ว โ ด ย ส รุ ป ลั ท ธิ อั ต ถิ ภ า ว นิ ย ม ส อ น ใ ห้ ม นุ ษ ย์ แ ส ว ง ห า ต น เ อ ง เ ช่ น กั บ พุ ท ธ ศ า ส น า แต่ ก ารยึด ถือ จริย ศ าส ต ร์แบ บ อัต ถิภ าวนิ ย ม เพี ย งใน บ างแง่มุ ม อาจนาไปสู่การพอกพูนขยายอัตตาตนเองขึ้นตามการรู้จักตนเอง แม้ จัง ปอล ซาร์ต จะเคยกล่าวว่า การใช้เสรีภาพต้องควบคู่ความรับผิดชอบก็ตาม ส่ ว น ก า ร รู้ จั ก ต น เ อ ง ข อ ง พุ ท ธ ศ า ส น า เป็นการรู้จักตนเองตามสภาพเป็นจริงของสภาวธรรม เพื่อลดอัตตาของตนเอง หรือเพื่อเอาชนะจิตใจของตนเองแล้วจะไม่เป็นทาสของตนเองอีกต่อไป เพราะเกิดความเข้าใจตามความเป็นจริงว่าธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา ก า ร รู้ จั ก ต น เ อ ง นั้ น เ ป็ น สิ่ ง ที่ ดี ผ ล เสี ย จ ะ เกิ ด ขึ้ น ก็ ต ร ง ที่ เป็ น ก า ร รู้ จั ก ต น เอ ง เพื่ อ อ ะ ไ ร เพื่ อ ล ด ห รือ เพื่ อ พ อ ก พู น อัต ต าข อ งต น เอ ง ห าก เป็ น ข้ อ ห ลัง การรู้จักตนเองลักษณะนี้ย่อมเบียดเบียนทั้งตนเองและผู้อื่นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ บทส่งท้าย (กิตติจิต)บทส่งท้ายนี้ยังคงกล่าวถึง การดาเนินชีวิตของมนุษย์ ไปตามความคิดในแนวทางต่างๆโดยไม่มีวันสิ้นสุดทั้งในทางวิทยาศาสตร์หรือความ เชื่อจะมีการคิดสิ่งใหม่ๆอยู่เรื่อยๆไปตามกาลเวลาและวิวัฒนาการทางความคิดเหล่ านี้ก็จะมีกันต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ในเมื่อทุกความเชื่อล้วนแล้วแต่มีจุดอ่อนในตัว ซึ่งไม่สามารถตอบให้เป็นที่น่าพอใจได้ แต่ก็ไม่แน่ว่าในอนาคต สิ่งที่เราเรียกร้องกัน อาจจะไม่ใช่ความเชื่อมั่นในศาสนา ค่านิยม หรือศาสตร์ใดศาสตร์หนึ่ง แต่คือการเรียกร้องให้ทุกคนตระหนักว่าทุกความคิดไม่มีใครเหนือใครไม่มีใครผิดไม่
  • 18. 17 มี ใ ค ร ถู ก ใ ค ร จ ะ เ ชื่ อ ถื อ อ ะ ไ ร ก็ ว่ า ไ ป ต า ม ร ส นิ ย ม แต่ส่วนมากปัจจัยในความคิดของมนุษย์ การแสวงหาในด้านต่างๆ จะมีอยู่ 3ทาง คื อ ก าร แ ส ว งห า ใน ท าง ป รัช ญ า ศ า ส น า แ ล ะวิท ย าศ า ส ต ร์ ท า ง ป รัช ญ า จ ะ มี ก า ร ย ก ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง ช า ว ก รีก ใน ส มั ย ก่ อ น ที่ มีก ารใช้ค ว าม คิด ส อ ด ค ล้อ งกับ ค วาม จริง ก ารใช้จิน ต น าก าร การสร้้างสรรค์ผลงาน สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุดจนถึงปัจจุบัน ใ น ท า ง ศ า ส น า จ ะ ย ก ตั ว อ ย่ า ง ถึ ง ใ น ยุ ค ที่ ศ า ส น า ค ริ ส ต์ ค ร อ บ ง า โ ล ก ต ะ วั น ต ก เ อ า ไ ว้ ทั้ ง ห ม ด ในยุคนั้นชีวิตของมนุษย์จะถูกตีกรอปให้คิดอยู่ในความเชื่อของศาสนาทั้งหมด แ ต่ สิ่ ง ที่ ม นุ ษ ย์ ยึ ด ติ ด ที่ เ รี ย ก ว่ า ศ า ส น า นั้ น แ ท้ จ ริ ง ก็ เ กิ ด จ า ก ค ว า ม คิ ด ข อ ง ม นุ ษ ย์ เ อ ง ทั้ ง ห ม ด และได้ทาต่อๆกันมาจนเป็นประเพณีจนไปถึงความเชื่อ แล้วก็มาถึงวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์นั้นเกิดจากความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์เองทั้งสิ้นแต่มันก็ทาให้ม นุ ษ ย์ ไ ด้ ม อ ง เห็ น บ า ง อ ย่ า ง ที่ แ ท้ จ ริง แ ล ะ ส า ม า ร ถ พิ สู จ น์ ไ ด้ แนวคิดทางด้านนี้ล้วนเกิดมาจากความดื้อรั้นที่ไม่ยอมรับความเชื่อมคาสอนหรือตา ราที่มีและได้พยายามค้นหาความจริงจนพิสูจน์ออกมาให้เห็นและหาเหตุผลมาทาให้ เราเข้าใจได้ บุคคลประเภทนี้เราจะเรียกพวกเขาว่า นักวิทยาศาสตร์ แล ะท างใน ก ารคิด ทั้ง 3อ ย่ างนี้ ก็ อ ยู่ กับ เราม าจน ถึงปัจจุบัน แ ล ะ ยั ง มี ที ท่ า ที่ จ ะ ไ ม่ สิ้ น สุ ด ล เ ป็ น อ นั น ต์ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า มนุษย์เพียรพยายามมาจลอดประวัติศาสตร์ของเขาที่เขาจะดารงตัวเขาและเผ่าพัน ธ์ของเขาเอาไว้ แต่ยังอย่างไรก็ตาม “มนุ ษ ย์ก็ยังเป็ นสิ่งชั่วคราว ในขณะที่เวลาและกากาศ คือสิ่งนิรันดร์” (พ งศกร)สาเหตุสาคัญ ที่ทาให้ปรัชญ ายุคกลางเสื่อมลง คือ ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ มีนักวิทยาศาสตร์จานวนหนึ่งเชื่อว่า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ไ ม่ ขั ด แ ย้ ง กั บ ค ริ ส ต์ ศ า ส น า ตรงกันข้ามวิทยาศาสตร์นั่นเองคือสิ่งเปิดเผยให้มนุษย์เห็นความยิ่งใหญ่ของพระเจ้า ปั ญ ห า ที่ ช า ว ก รี ก ส น ใ จ ก ลั บ ก ล า ย เ ป็ น ปั ญ ห า ห ลั ก ที่ ว งก ารวิท ย าศ าส ต ร์ส น ใจจ ะแ ส ว งห าค าต อ บ ค าถ าม นั้น คือ อะไรคือหน่วยมูลฐานที่สรรพสิ่งในจักรวาลนี้ก่อตัวขึ้น ทัศนะดั้งเดิมอีกประการ ข อ งป รัช ญ าก รีก โบ ราณ คื อ ห า ก เรา ต้ อ งก ารเข้ าใจ จัก รว า ล เ ร า ต้ อ ง เ ข้ า ใ จ ก ฎ ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ค ว บ คุ ม จั ก ร ว า ล อ ยู่
  • 19. 18 ต่ อ ม า ค ว า ม ่ั น อั น ง ด ง า ม ค่ อ ย ๆ จ ะ ริ บ ห รี่ ล ง จนวันนี้แทบไม่มีใครในวงการวิทยาศาสตร์ที่ทางานด้วยความรู้สึกว่า เ ข า ก า ลั ง ค้ น ห า ค ว า ม จ ริ ง ย่ อ ย ๆ เพื่อสะสมให้กลายเป็นความรู้ใหญ่เกี่ยวกับภาพของจักรวาลทั้งหมดในอนาคต หัวใจของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในสมัยนี้คือ วิทยาศาสตร์เป็นความรู้ อาจผิดได้ วิทยาศาสตร์ไม่ใช่สัจจะอันไม่มีวันเปลี่ยนแปลงแต่มนุษย์ก็คือมนุษย์ไม่มีอะไรมาจา กัดความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์ได้ นักวิทยาศาสตร์จานวนหนึ่งคิดว่า เมื่อเดินไปถึงจุกหนึ่งแล้วพบว่า เราไม่สามารถไปต่อได้ด้วยอายตนะ นั่น ก็ ไม่ ใช่ เห ตุ ผ ล ที่ เราจ ะต้ อ งล้ ม เลิก ก ารแ ส ว งห าค ว าม จ ริง เรายังส าม ารถ เดิน ท างต่ อ ไป ได้ ด้ว ย จิน ต น าก าร แ ล ะ เห ตุ ผ ล แ ล ะ นี่ ก็ คื อ ที่ ม า ข อ ง ท ฤ ษ ฎี วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น ส มั ย นี้ ที่เต็มไปด้วยการคาดคะเนในสิ่งที่อยู่พ้นการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส พุทธศาสนาเชื่อว่า ความรู้ทุกอย่างเริ่มต้นที่มนุษย์ ดังนั้นในการแสวงหาความรู้ สิ่งที่ เราต้ อ งต ระ ห นั ก อ ยู่ เส ม อ ก็ คื อ ธ รรม ช าติ ข อ งตั ว เรา เอ ง ม นุ ษ ย์ เป็ น สิ่งที่ ขัด แ ย้ งใน ตั ว เอ ง ถ้ าสังเก ต ให้ ดี เ ราจ ะพ บ ว่ า ภ า ย ใ น ตั ว เ ร า จ ะ มี ส อ ง สิ่ ง ซึ่ ง แ ต ก ต่ า ง กั น ค น ล ะ ขั้ ว บ างเรื่อ งเกี่ ย ว เนื่ อ งกับ ก ารส ร้างส รรค์ อ ารย ธ รรม ข อ งม นุ ษ ย์ การแสวงหาความรู้โดยอายตนะ แนวความคิดนี้ครอบงาวงการวิทยาศาสตร์มานาน จ น ม นุ ษ ย์ พ บ ว่ า อายตนะที่ตนเองเชื่อว่าคือที่มาของความรู้อันน่าเชื่อถือที่สุดมีข้อจากัด ไม่สามารถก้าวไปในบางมิติของความจริงเกี่ยวกับจักรวาล ถึงตรงนี้ ม นุ ษ ย์ ไ ม่ ค ว ร ดิ้ น ร น ไ ป เกิ น ก ว่ า สิ่ ง ที่ ธ ร ร ม ช า ติ อ ณุ ญ า ติ ให้ ศาสนาแบบเทวนิยมอาจกาเนิดจากความสงสัยต่อปรากฎการณ์ต่างๆในธรรมชาติ ศาสนาแบบเทวนิยม จึงเป็นศาสนาแห่งเหตุผลโดยแท้ ชีวิตมนุษย์นี้แสนสั้นไม่มีใครปฎิเสธได้ มนุษย์เกิดมาพร้อมกับทุกข์ ความทุ กข์คือป รากฎ การณ์ เฉ พ าะห น้ าที่กาลังรุมเร้าชีวิต เราอยู่ ทุกข์ที่ว่านี้เปรียบได้กับลูกธนูที่ยิงมาเสียบเข้าที่ตัวเรา สาหรับพุทธศาสนา สิ่งที่ถูกต้องสาหรับกรณีที่ผ่านมาคือ รีบถอนลูกธนูออก แล้วเยียวยาให้หาย เพื่อที่จะมีชีวิตที่รื่นรมย์
  • 20. 19 สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(กิตติ จิต) สาระสาคัญของบทสุดท้ายนี้จะกล่าวถึงในด้านของความคิดของมนุษย์ ว่าความคิดของมนุษย์นั้นจะมีมาเรื่อยๆจนถึงปัจจุบันแบบไม่มีที่สิ้นสุด และปัจจัยที่ทาให้เกิดความคิดเหล่านั้นก็มาจาก 3ปัจจัย ดังนี้1. ปรัชญา 2. ศาสนา 3. วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น ท า ง ป รั ญ ช า นั้ น จะเชื่อมโยงกับแนวคิดทางจริยศาสตร์ในด้านของการสร้างสรรค์ศิลปะมาเผื่อความ สุ ข ข อ ง ตั ว เ อ ง แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม สุ ข กั บ ผู้ อื่ น เพราะในสมัยนั้นยังไม่ได้มีการนาศิลปะมาใช้แลกเปลี่ยนเหมือนทุกวันนี้ ในทางศาสนานั้นจะตรงตัวอยู่แล้วเพราะว่ามนุษย์สร้างศาสนามาไว้เพื่อยึดเหนี่ยวจิ ตใจให้ทาแต่กรรมดีเพราะทุกศาสนานั้นล้วนแต่สอนให้ทุกคนเป็นคนดี และในด้านสุดท้ายคือทางวิทยาศาสตร์ มนุษย์นาแนวคิดทางวิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อ ดารงเผ่าพันธ์ให้อยู่รอดหรือใช้เพื่อไม่ให้เผ่าพันธ์มนุษย์สูญพันธ์ไปนั่นเองเช่นทุกวั นนี้ มีการทาเครื่องที่ช่วยเตือนภัยจากแผ่นดินไหวและสึนามิ สร้างมาเพื่อ อบยพผู้คนออกจากพื้นที่ที่อันตรายเพื่อรักษาชีวิตไว้นั่นเอง สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(พงศ กร) ส า เห ตุ ส า คั ญ ที่ ท า ใ ห้ ป รัช ญ า ยุ ค ก ล า ง เสื่ อ ม ล ง คื อ ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ มีนักวิทยาศาสตร์จานวนหนึ่งเชื่อว่า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ไ ม่ ขั ด แ ย้ ง กั บ ค ริ ส ต์ ศ า ส น า ตรงกันข้ามวิทยาศาสตร์นั่นเองคือสิ่งเปิดเผยให้มนุษย์เห็นความยิ่งใหญ่ของพระเจ้า ทั้งสองอย่างนี้อาจจะมีความขัดแย้งกันในตัวของแต่ละบุคคลเองอยู่ที่ใครจะยอมรับ ความจริงได้มากแค่ไหน
  • 21. 20 บทบาทและวิธีทางานของสมาชิกในกลุ่ม วิธีการทางานของกลุ่มเราคือ แจกแจงหนังสือให้เพื่อนไปอ่านคนละครึ่งบทเพราะในหนังสือมีทั้งหมดประมานสี่หั วข้อรวมบทส่งท้าย และให้เพื่อนๆเข้าใจในสิ่งที่ตัวเองได้รับไปและมารายงานหน้าชั้นเรียนพร้อมตอบ คาถามข้อสงสัยของเพื่อนในห้อง โดยให้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตบ้านเพื่อนนามาอธิบายเพิ่มเติมและนา มาสรุปเป็นรายงานเล่มนี้ส่งอาจารย์