SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
1
       แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
               ***************************
        ศาสนาเชนเป็ นศาสนาประเภทอเทวนิยมเหมือนพระพุทธศาสนา คือไม่
เชือว่ามีพระเจ้ าสร้ างโลกและกําหนดชะตากรรมของสัตว์ ศาสนาเชนถึงแม้
จะเป็ นอเทวนิยมเหมือนพระพุทธศาสนาทีถือว่าทุกอย่างเป็ นไปตามกรรมของ
ตน แต่ก็แตกต่างจากพระพุทธศาสนาตรงทีศาสนาเชนเน้ นทีอดีตกรรมและ
กายกรรม แต่พระพุทธศาสนาเน้ นทีปั จจุบนกรรมและมโนกรรม
                                            ั
        นอกจากนีก็แตกต่างตรงทีศาสนาเชนเชือเรืองอาตมันแบบยืนโรงคงที
เป็ นอมตะอย่างศาสนาพราหมณ์ แต่ศาสนาพุทธถือว่าอาตมันไม่ยืนโรงคงทน
เป็ นอมตะ แต่เป็ นแบบสันตติ คือรับช่วงสืบต่อกันไป ส่วนวิธีปฏิบติเพือั
ดําเนินไปสูโมกษะ ศาสนาเชนเน้ นเรื องอัตตกิลมถานุโยคซึงเป็ นทางสุดโต่งแต่
             ่
พระพุทธศาสนาเป็ นทางสายกลาง หรื อมัชฌิมาปฏิปทา
        เชน มาจากคําว่า ชินะ โดยวิการอิเป็ นเอ แปลว่า ชนะ แต่ชนะใน
ทีนีไม่ได้ หมายถึงการชนะภายนอก คือเอาชนะคนอืนหรื อข้ าศึก หากแต่
หมายถึงเอาชนะภายในคือกิเลสของตน พวกเชนถือว่ากิเลสเป็ นศัตรูทีร้ าย
กาจทีสุดของตนและมนุษยชาติ กิเลสนีแหละทีจะทําลายตนเอง ทําลายผู้อืน
ทําลายสังคม ตลอดถึงทําลายโลก ความชัวร้ ายทังหลายและความพินาศ
ทังหลายทีเกิดขึนในโลกล้ วนแต่มาจากรากเหง้ าคือกิเลสทังสิน ดังนันแต่ละคน
จึงควรเห็นกิเลสเป็ นศัตรู พยายามกําจัดให้ หมดไปจากจิตใจ ใครก็สามารถ
กําจัดกิเลสได้ อย่างเด็ดขาดสินเชิงขึนชือว่าพระชินะ ผู้ทีสามารถเอาชนะ
กิเลสได้ กลายเป็ นบุคคลผู้ประสบความสําเร็ จสูงสุดของชีวิต พวกเชนถือว่า
พระศาสดาทัง ๒๔ องค์ของศาสนาเชน ล้ วนแต่เป็ นพระชินะทังสิน และยังมี
อีกชือหนึงว่า ตีรถังกร หรื อ ติตถังกร แปลว่า ผู้กระทําซึงท่า คือสร้ างท่า
พาคนข้ ามฟากไปสูนิพพานอีกด้ วย
                      ่
2
       ปรัชญาเชนมีอยูมาก หากแบ่งออกเป็ นหัวข้ อใหญ่ ๆ ๓ อย่าง คือ
                         ่
ญาณวิทยา             ภววิทยา และคุณวิทยา
                              ศาสนาแห่ งอเทวนิยม
       ศาสนาเชนเป็ นศาสนาอเทวนิยมเหมือนศาสนาพุทธ ทุกอย่างเกิดมา
จากเหตุปัจจัยเป็ นไปตามเหตุปัจจัย ไม่ใช่เกิดมาจากพระเจ้ า พวกเชนได้ ให้
เหตุผลถึงการไม่มีพระเจ้ าว่า            การเชือพระเจ้ ามีแต่ความขัดแย้ งกันในตัว
กล่าวคือพระเจ้ าไม่เคยมีใครเห็น แล้ วจะเชือได้ อย่างไรว่ามีพระเจ้ า ถ้ าจะว่า
พระเจ้ ารู้ได้ ด้วยการอนุมาน อย่างสิงต่าง ๆ เช่น โต๊ ะ เก้ าอี บ้ านเรื อน เป็ น
ต้ น เกิดขึนมาได้ ก็เพราะมีคนสร้ าง โลกก็เช่นกัน จะต้ องมีผ้ สร้ างขึนมานันก็
                                                                  ู
คือพระเจ้ า แต่ข้ออ้ างนียังไม่สมเหตุสมผล จะเชือมันได้ อย่างไรว่าข้ ออ้ างนีถูก
ในเมือไม่มีใครเคยเห็นพระเจ้ า แล้ วจะมันใจได้ อย่างไรว่า พระเจ้ าสร้ างโลก
ผิดกับโต๊ ะ เก้ าอี บ้ านเรื อน เป็ นต้ น ซึงใครก็เห็นว่าช่างสร้ างขึนมา อนึง
พระเจ้ ามีองค์หรื อหลายองค์ ถ้ ามีองค์เดียวกัน แล้ วทําไมศาสนิกของศาสนา
ต่าง ๆ จะต้ องมาทะเลาะกันในเรื องพระเจ้ า หรื อศาสนสถานของบางศาสนา
ทําไมจึงห้ ามคนต่างศาสนาเข้ า           ในเมือคนต่างศาสนาก็นบถือพระเจ้ าองค์
                                                                ั
เดียวกัน ถ้ าพระเจ้ ามีหลายองค์ ดังทีนับถือกันตามศาสนาต่าง ๆ ก็เป็ น
ธรรมดาว่าแต่ละองค์ก็ต่างจิตต่างใจกัน และทุกศาสนาต่างก็วา พระเจ้ าของ่
ตนสร้ างโลกนีขึนมา ก็ในเมือโลกมนุษย์มีโลกเดียว และถูกสร้ างขึนมาโดย
พระเจ้ าองค์เดียว ก็แสดงว่ามีพระเจ้ าจริ งและพระเจ้ าเก๊ กนบ้ าง หรื อว่าทุก
                                                              ั
องค์ร่วมมือกันสร้ าง ก็คงจะประสบความขัดแย้ งกันไม่น้อยในเมือต่างองค์ต่าง
จิตต่างใจกัน          พระเจ้ าสร้ างมนุษย์แต่ละคนให้ เป็ นไปตามความดีหรื อชัว
ของแต่ละคนใช่ไหม ถ้ าใช่ก็แสดงว่าพระเจ้ าไม่ได้ ยิงใหญ่จริ ง ยังต้ องอาศัย
บุญหรื อบาปของแต่ละคนเป็ นเครื องมือในการสร้ าง เมือเป็ นอย่างนัน จะใช้
กฎแห่งกรรมแทนพระเจ้ าก็ได้ กฎแห่งกรรมนีแหละทีสร้ างความเป็ นไปของ
มนุษย์ หรื อถ้ าพระเจ้ าไม่ได้ สร้ างมนุษย์แต่ละคนไปตามความดีและความชัว
3
ของเขา ก็แล้ วทําไม่พระองค์สร้ างบางคนให้ มีความสุขและบางคนให้ มีความ
ทุกข์ หรื อมีความกรุณาต่อบางคน แต่โหดร้ ายต่ออีกบางคน ไม่ยติธรรมใน
                                                                ุ
เมือเชือกันว่า พระเจ้ าทรงมีเมตตามากทีสุดเหล่านีเป็ นต้ น พวกเชนถึงแม้ จะ
ไม่เชือพระเจ้ า แต่พวกเขาก็เชือเรื องเทวดาทีไปจากคนเมือตายไปแล้ ว คนที
ทําบุญกุศลไว้ จะไปเป็ นเทวดา ก็ทํานองเดียวกับในพระพุทธศาสนา พวกเชน
เคารพบูชาพระชินะ หรื อตีรถังกร ซึงเป็ นศาสดาทังหลายของศาสนาเชนแล้ ว
ยังเคารพบูชาพระสิทธะ อาจารยะ อุปธยายะ (อุปัชฌาย์) และสาธุอีกด้ วย
ซึงพระทัง ๕ ประเภทนีเรี ยกว่า ปั ญจปรเมษฎิ ว่าเป็ นบุคคลตัวอย่างที
พัฒนาจิตใจไปจนถึงให้ สงขึนไปตามลําดับจนถึงโมกษะ
                         ู

                    คําสอนและนิกายของปรั ชญาเชน
      หลักคําสอนของปรัชญาเชนหรื อไชนะในระยะเริ มแรก ไม่สอนให้ ทําการ
ทรมานกายเหมือนในสมัยพระมหาวีระ แต่สอนให้ มีการรักษาศีลเพียง ๔ ข้ อ
คือ
      ๑. ไม่เบียดเบียนคิดร้ ายต่อผู้อืน
      ๒. ละเว้ นการลักขโมย
      ๓. ยึดมันอยูในสัจจะ
                  ่
      ๔. ละเว้ นการผูกพันทังปวง (ไม่สะสมทรัพย์สมบัติทางโลก)
ในกาลต่อมา สาวกของศาสนาเชนแบ่งลัทธิออกมาเป็ น ๒ นิกายใหญ่ ๆ คือ
นิกายเสวตามพร และนิกายทิคมพร อันเป็ นทีรู้จกกันโดยทัว ๆ ไปในปั จจุบน
                               ั                 ั                   ั
การยอมรับและนับถือในศาสดาของเชนนัน ทังสองนิกายจะมีอยูเ่ หมือน ๆ กัน
หากจะแตกต่างในเรื องของหลักและกฎปฏิบติทีมีความเคร่งครัดต่างกัน
                                           ั
      นิกายทิคมพร
                ั        จะเป็ นผู้ทีมีความเคร่งครัดในกฎระเบียบและจะ
ทรมานตนเองเพือต้ องการทีจะปราบปรามความเพลิดเพลินในกามารมณ์
และถือว่าพวกสาธุหรื อพระทังหลายนันควรจะเลิกในความเป็ นเจ้ าของทรัพย์
4
สมบัติ ควรจะละความเป็ นเจ้ าของในสิงใดสิงหนึงเสียโดยสินเชิง แม้ แต่ผ้านุ่ง
และผ้ าห่มก็ไม่ควรจะมี และนิกายนียังถือว่า สตรี นนไม่สามารถทีจะบรรลุถึง
                                                  ั
โมกษะได้
       นิกายเสวตามพร           การประพฤติปฏิบติให้ สามารถร่วมอยูใน
                                                ั                 ่
สังคมได้ เป็ นสิงสําคัญ โดยการนุ่งผ้ าขาวสะอาด การทีจะให้ สละแม้ แต่ผ้า
คลุมกายนัน จะทําให้ ไม่สามารถอยูได้ ในสังคมของมนุษย์ และยังถือว่าสตรี ก็
                                  ่
สามารถบรรลุถึงโมกษะได้ เช่นเดียวกับบุรุษทัวไป เพือไม่เป็ นการตัดสิทธิและ
เสรี ภาพของสตรี

                           แนวคิดเรืองกรรม
       เนืองจากกิริยวาทะของเชนมีนยกว้ างขวางครอบคลุมทังในด้ าน
                                  ั
อภิปรัชญา จริ ยศาสตร์ และญาณวิทยา เช่นเดียวกับเรื องกรรมของ
พระพุทธศาสนา ในการกล่าวถึงหลักปรัชญาของหองมหาวีระ ต่อไปนี จะให้
ความสนใจอยูใน ๓ ประเด็นนี
                 ่
๑) กิริยวาทะในแง่อภิปรัชญา
       มหาวีระยอมรับความมีอยูของชีวะเช่นเดียวกับมักขลิโคสาละ เชนแบ่ง
                                ่
มูลของสรรพสิงออกเป็ น ๒ คือ ชีวะและอชีวะ และในแต่ละอย่างยังมีการ
แบ่งย่อยออกไปอีก ถ้ าหากยอมรับข้ อเท็จจริ งว่า มักขลิโคสาละ กับมหาวีระ
เคยมีชีวิตอยูร่วมกันและมักขลิโคสาละเป็ นผู้นําทางความคิดของมหาวีระ
             ่
ความคิดเรื องการแบ่งประเภทต่าง ๆ ของสรรพสิงของมักขลิโคสาละก็น่าจะมี
อิทธิพลต่อมหาวีระอยูไม่น้อย
                        ่               มหาวีระไม่ได้ มองสรรพสิงมีมลจาก
                                                                   ู
องค์ประกอบอะไร แต่มองไปว่าชีวะมีอยูเ่ ป็ นจํานวนมากเช่นเดียวกับสิงมีชีวิต
ทังหลาย ทีไหนมีชีวตทีนันก็มีชีวะ ชีวะมีอยูทกหนแห่ง ไม่เพียงแต่ในสัตว์
                      ิ                       ่ ุ
เท่านัน มีอยูแม้ ในพืชและผงธุลี
               ่
5
         นักวิทยาศาสตร์ สมัยปั จจุบนก็ให้ การรับรองในเรื องนีว่า ทุกอย่างมีชีวิต
                                        ั
เช่นตัวเบิมและอมีบา ชีวตมีอยูในธุลีและสิงทีไร้ ชีวิต ทุกชีวะมิได้ มีความรู้สก
                            ิ         ่                                          ึ
เหมือนกันหมด ชีวะบางพวก เช่น พวกทีอยู่ในพืชหรื ออยูในผงธุลีมีความรู้สก
                                                              ่                ึ
โดยอาศัยผัสสะหรื อประสาทสัมผัสอย่างเดียว                 สัตว์ชนตําบางจําพวกมี
                                                                ั
ความรู้สกสองทางคือ ทางผัสสะและทางรส เช่น หนอน บางจําพวกมี
           ึ
ความรู้สกได้ ๔ ทางคือ ทางผัสสะ ทางรส ทางกลินและทางตา เช่น ผึง
             ึ
         สัตว์ชนสูงมีความรู้สก ๕ ทาง คือทางผัสสะ ทางรส ทางกลิน ทางตา
               ั              ึ
และทางหู เช่น มนุษย์ มนุษย์มีความรู้สกได้ ๕ ทาง จึงทําให้ มนุษย์มี
                                              ึ
ความรู้ได้ มากกว่าสัตว์และ แม้ วาความรู้สกเหล่านีจะมีการพัฒนาขึนด้ วย
                                  ่         ึ
ประการใด ๆ ก็ตาม ชีวะทีอาศัยอยูในร่างกาย ย่อมมีภาวะจํากัดทังในด้ าน
                                          ่
ความรู้และพลังงานต้ องตกอยูในความทุกข์ จนกว่าจะหลุดพ้ นและทุก ๆ ชีวะ
                                ่
สามารถบรรลุความเป็ นสัพพัญ ู คุณสมบัติทงสามนีเป็ นคุณสมบัติทีแท้ จริ ง
                                                ั
ของชีวะ แต่กรรมได้ เข้ ามาบันทอนและกําจัดคุณสมบัติทีแท้ จริ งของชีวะ
ออกไป ดุจอาทิตย์ถกเมฆบดบัง กรรมหรื อพลังงานของตัณหาในชีวะได้
                        ู
ดึงดูดเอาชินของวัตถุเข้ ามาใส่ตวเอง วัตถุแทรกซึมอยูในชีวะดุจดังชินของผง
                                    ั                     ่
ธุลีแทรกซึมอยูในแสงไฟหรื อดวงอาทิตย์ กรรมใดนําชีวะไปผูกพันกับวัตถุ
                 ่
การกําจัดกรรมออกไปให้ สินเชิงนัน ชีวะจะต้ องกําจัดบ่วงทีผูกพันตนเองให้
หมดสินไปโดยสินเชิง ต่อจากนันชีวะจะลุถึงความสมบูรณ์อนเป็ นธรรมชาติ ั
แท้ จริ งของตนเอง
         อภิปรัชญาเชนนีได้ ทําให้ เกิดอหิงสธรรมทีสอนให้ ระมัดระวังไม่
ประทุษร้ ายชีวิต แม้ จะไม่อาจเห็นได้ ด้วยตาเปล่า ซึงแตกต่างจากอหิงสธรรม
ของศาสนาต่าง ๆ ในโลก
         ชีวะในทรรศนะของมหาวีระก็คือ จิตในทรรศนะของพระพุทธเจ้ า แต่
พระพุทธเจ้ ามิได้ ทรงถือว่า จิตเป็ นนิรันดร์ มีธรรมชาติดงเดิมบริ สทธิ แม้ จะมี
                                                            ั       ุ
คําว่า ปภัสสรใช้ กบจิตก็หมายถึงภวังคจิต ซึงยังมีกิเลสตัณหาประกอบอยู่
                      ั
6
แต่ไม่มีประเภทอุปกิเลสจรเข้ ามาสูจิต จึงเรี ยกว่าปภัสสร จิตมิได้ เป็ นนิรันดร์
                                     ่
เกิดขึนเพราะมีเหตุปัจจัยและจะดับไปเพราะเหตุปัจจัยดับ ข้ ออธิบายเรื องของ
พระพุทธเจ้ ามีหลักปฏิจจสมุปบาทหลักฐาน
        เรื องกรรมในทรรศนะของพระพุทธเจ้ าเป็ นปฏิกิริยาของจิตกับ
สิงแวดล้ อม ซึงแสดงออกได้ เปน ๓ ทาง คือกายกรรม วจีกรรมและ
                                 ้
มโนกรรม มโนกรรมเป็ นตัวทีสําคัญทีสุดของจริ ยธรรมทังหลาย กรรมของ
พระพุทธเจ้ ามีลกษณะคล้ ายพลังงาน การกระทํากรรมทุกครัง จิตเป็ นผู้เก็บ
                 ั
สังสมพลังงานนันไว้ ดีบ้าง ชัวบ้ าง และจะส่งผลทีเรี ยกว่าวิบาก ทําให้ ไปเกิด
ในสุคติบ้าง ทุคติบ้าง ตามสมควรแก่กรรมของตน มิได้ มีลกษณะเป็ นดังยาง
                                                               ั
เหนียวดึงดูดชินของวัตถุเข้ ามาอยูในจิตอย่างทีมหาวีระกล่าวไว้ แต่ประการใด
                                   ่
        เกียวกับเรื องตัณหา พระพุทธเจ้ ามิได้ ทรงถือว่าเป็ นตัวกรรม แต่ถือว่า
เป็ นเหตุให้ ทํากรรมเป็ นองค์ประกอบของชีวิตปุถชน ตามหลักปฏิจจสมุปบาท
                                                  ุ
อันได้ แก่วงจรแห่งชีวิตของปุถชน ๓ คือ กิเลส กรรม วิบาก กิเลสเป็ นเหตุให้
                               ุ
ทํากรรม กรรมส่งผลเป็ นวิบาก วิบากก็สร้ างสมกิเลสต่อไป นีคือความทุกข์
ความหลุดพ้ นจากทุกข์ก็คือ กําจัดกิเลสไม่ให้ เกิดอีกต่อไป นีคือความหลุด
พ้ น ไม่ต้องมาเกิดอีก มิใช่เป็ นการทําให้ ชีวะบริ สทธิ ดังทีมหาวีระได้ กล่าวไว้
                                                    ุ

    ความเชือเรืองวิญญาณและการเวียนว่ ายตายเกิด (วิญญาณนิยม)
       ทุกสรรพสิงในพืนพิภพล้ วนแต่มีวิญญาณ ดวงวิญญาณทุก ๆ ดวง
สามารถบรรลุถึงโมกษะสูความเป็ นสัพพัญ ู
                         ่                     และหลุดพ้ นได้ หากสามารถ
สลัดได้ ซงพันธนาการทีเหนียวรังดวงวิญญาณให้ ชีวิตพบกับการเกิด
         ึ                                                           การ
เจริ ญเติบโต การแก่ชรา จนจบกระบวนการภพนันคือตาย และเริ มต้ นสูการ    ่
เวียนมาเกิดใหม่ หรื อเรี ยกว่า การเวียนว่ายตายเกิด ไม่มีทีสินสุดอยูภายใต้
                                                                   ่
อํานาจแห่งกฎของจักรวาล หรือกฎแห่งกรรม หากยึดติดอยูกบสิงทีเป็ น ่ั
รูปธรรมซึงเป็ นศัตรูกบจิตอ้ นถือเป็ นนามธรรม
                     ั
7
       กรรมและกิเลสเป็ นตัวเหนียวรังให้ วิญญาณถูกคุมขังและจํากัด           ไร้
ความสุขและอิสรภาพ มีความมัวหมองและอวิชชา ดุจแสงอาทิตย์ทีมีผงธุลี
บดบังไม่สามารถส่องแสงสว่างได้ อย่างเต็มที ความรู้เป็ นปั จจัยอันสําคัญของ
วิญญาณทุก ๆ ดวง ดังนัน ความรู้กบวิญญาณจึงไม่สามารถแยกออกจากกัน
                                        ั
ได้ คือ ความรู้เป็ นปั จจัยหรื อธาตุแท้ ของวิญญาณ ไม่ใช่เป็ นเพียงคุณสมบัติที
บังเกิดขึนโดยบังเอิญ และไม่ใช่ผลพลอยได้ หากเกิดขึนมาโดยอาศัยปั จจัย
หลาย ๆ อย่างผสมกัน ถือว่าความรู้เป็ นดุจดังแสงอาทิตย์ ซึงสามารถทําให้
ตนเองสว่าง และผู้อืนยังพลอยได้ รับแสงสว่างนันด้ วย นอกจากจะมีอปสรรค     ุ
บางอย่างกันแสงนันไว้ ไม่ให้ สองเข้ าไปถึงวัตถุได้ เท่านัน เช่นเดียวกับวิญญาณ
                                ่
       ถ้ าหากไม่มีสิงใดมาปิ ดบังหรื อมีอปสรรคใด ๆ แล้ ว วิญญาณก็จะกลาย
                                          ุ
มาเป็ นสัพพัญ รู้ ูทกสิงทุกอย่าง เพราะสัพพัญ ู เป็ นธรรมชาติแฝงอันหนึงที
                    ุ
แฝงอยูในวิญญาณทุก ๆ ดวง เช่นเดียวกับความร้ อนทีแฝงอยูในนําฉะนัน สิง
       ่                                                        ่
หนึงทีมีอยูในวิญญาณทุก ๆ ดวงนัน คือ ความรู้แจ้ งแทงตลอด
            ่

                ฐานะแห่ งความเชือในเชน (อเทวนิยม)
         เชน ได้ ปฏิเสธพระเจ้ าผู้สร้ าง ไม่มีความเชือพระเจ้ าผู้สร้ างแต่อย่างใด
ทุกคนสามารถบรรลุสไกลวัล หรื อโมกษะได้ จะต้ องใช้ ความอดทนและวิริยะ
                      ู่
ด้ วยตัวของตัวเอง มีความเพียรอันสูงส่งในการปฏิบติศีลโดยเคร่งครัด จนรู้
                                                      ั
แจ้ งด้ วยตนเอง หรื อตรัสรู้
         ปรัชญาเชน มีหลักการยึดถือความประพฤติแบบอหิงสา คือการงดเว้ น
จากการเบียดเบียนชีวิตสัตว์ทงมวล ด้ วยความคิดคือ อเนกันตะ (anekanta)
                              ั
และด้ วยการพูดคือ อปริ ครหะ (aparigraha)                  ส่วนทังสามนีเป็ น
หลักการทีสําคัญเหมือนส่วนยอดสุดของลัทธิเชน
         ปรัชญาเชน สามารถแบ่งย่อยออกเป็ น ๗ กลุม คือ ชีวะ อชีวะ
                                                        ่
อสารวะ พัทธะ
8
สัมวระ นิรชรา โมกษะ แต่ในบางครังได้ รวมเอาบาปและปั ญญาเพิมเข้ าไป
ด้ วยอีก ๒ อย่าง การแบ่งกลุมต่าง ๆ เหล่านี ผู้ทีปรารถนาความหลุดพ้ น
                                    ่
ควรจะรู้ตามทรรศนะของเชน โดยเหตุทีเนือสารซึงมีจํานวนมากมาย มีการ
เกิดขึน ดํารงอยู่ และสลายไปในเอกภพทังปวงขึนอยูกบชีวะกับอชีวะ
                                                  ่ั
        ชีวะในลัทธิเชน เป็ นวิญญาณทีมีความรู้ ซึงตรงกับปุรุษะ ในปรัชญา
สางขยะและอาตมันของไวเศษิกะ เวทานตะ ลักษณะสําคัญของชีวะคือมี
จํานวนไม่จํากัด เพราะว่าถึงชีวะมีจํานวนจํากัดแล้ ว เมือชีวะบรรลุโมกษะ
แล้ ว โลกของเราก็จะว่างเปล่า หรื อมิฉะนันชีวะทีหลุดพ้ นไปแล้ วจะต้ อง
กลับมาสูโลกมนุษย์อีกซึงเป็ นไปไม่ได้ ฉะนันชีวะจึงมีจํานวนนับไม่ถ้วน
           ่
        ชีวะจึงมีลกษณะเหมือนกับร่างกาย เป็ นส่วนเดียวกับร่างกาย เมือใดที
                  ั
ร่างกายเจ็บปวด ชีวะก็จะเจ็บปวดด้ วย แต่จะแตกต่างในแง่ทีว่า ชีวะไม่ได้ ถกู
ทําลายไปด้ วย แม้ ร่างกายจะแตกสลายไป นอกจากนันการรับรู้ยงเป็ น      ั
ลักษณะสําคัญของชีวะ ส่วนคุณสมบัติอืนของชีวะก็จะมีความรู้เป็ นสารัตถะ
(substance) โดยความรู้นีจะมีอยูภายในชีวะเสมอ แม้ วาลักษณะและ
                                          ่                 ่
ขอบเขตของความรู้จะแตกต่างกันออกไป ชีวะเป็ นกระแสสืบต่อกันไปอย่างไม่
หยุดยัง ชีวะเป็ นทังผู้ร้ ู ผู้เสวยอารมณ์
        ลักษณะของชีวะแบ่งออกเป็ น ๒ ลักษณะคือ ประเภททีมีจิต และ
ประเภทไม่มีจิต หรื อประเภททีเคลือนไหวได้ กับประเภททีเคลือนไหวไม่ได้
        ชีวะเคลือนไหวได้ หมายถึงชีวะทีสามารถเลือนไหวจากทีหนึงไปสูอีก  ่
ทีหนึง เช่น โลก นํา พืช ถือว่าเป็ นสิงทีเคลือนไหวไม่ได้ ส่วนไฟและอากาศ
เป็ นสิงทีเคลือนไหวได้ เหตุทีความรู้เป็ นสาระสําคัญของชีวะทุกชีวะ ตังแต่
ระดับตําสุดถึงระดับสูงสุด ดังนัน ความรู้ในชีวะต่าง ๆ จึงมีระดับต่าง ๆ กัน
ด้ วย ความรู้มีระดับต่างกันก็เนืองมาจากกรรม
สําหรับกรรมตามทรรศนะของเชนถือเป็ นเนือปรมาณู
9
        ถึงแม้ วาชีวะในระดับตําสุดจนถึงชีวะระดับสูงสุดมีความรู้ในระดับ
                ่
ต่างกัน แต่มีข้อสังเกตประการหนึง คือ ชีวะในระดับตําสุดในเนือปรมาณูหรื อ
วัตถุ มีสภาพเหมือนกับไร้ ชีวะและปราศจากความรู้ แต่ความจริ งแล้ วชีวะและ
ความรู้ในระดับนีจะมีอยูในฐานะทีไม่มีกมมันตภาพ ส่วนชีวะทีมนุษย์จะหลุด
                            ่              ั
พ้ นจากกรรมทังปวง มีความรู้ทีบริ สทธิ และได้ บรรลุโมกษะเป็ นสัพพัญ ู
                                      ุ
        สาเหตุทีมีกรรมติดข้ องอยูเ่ พราะว่าทุก ๆ ขณะเราจะทํากรรมอยู่
ตลอดเวลา โดยกิจกรรมทังกาย วาจา ใจ โดยมีความทะยานอยากเป็ น
ตัวกระตุ้น        ทุกสิงทุกอย่างทีเราทําจะเกิดเป็ นการกระทําของเราทังดีและชัว
        และสิงนันก็จะติดอยูกบชีวะ สิงนีเรี ยกว่า อาสรวะ ส่วนกระแสกรรม
                                ่ั
ทีผูกพันกับชีวะ เรี ยกว่า พันธะ เป็ นสภาพทีกรรมไหลเข้ ามาสูชีวะจาก่
ผลิตผลของการกระทําทังกาย วาจา ใจ ซึงเรี ยกการะกระทําเหล่านีว่า โยคะ
        พันธะซึงทําให้ เกิดการติดข้ องนีมี ๒ อย่าง คือ ภาวพันธะ เริ มอุบติขน
                                                                          ั ึ
ทังทีวิญญาณมีอารมณ์ไม่ดี อีกอย่างหนึงเรี ยกว่า ทรัพยพันธะ เริ มต้ นด้ วย
การเข้ าไปในชีวะ พันธะหรื อการติดข้ องนี วัตถุกรรมจะรวมกับชีวะ
        โดยเหตุทีชีวะนันมีลกษณะตามธรรมชาติดงเดิม
                              ั                     ั          คือความบริ สทธิ
                                                                            ุ
ปั ญหาก็คือชีวะนันติดข้ องได้ อย่างไร        จะเห็นวาในปรัชญาอินเดียเกือบทุก
ระบบ ทฤษฎีเรื องการติดข้ องของปรัชญาเชนมีลกษณะแตกต่างจากระบบอืน
                                                      ั
        ปรัชญาเชนมีทรรศนะว่า ชีวะนันติดข้ องอยูกบกรรมทีตนเองกระทําขึน
                                                        ่ั
การกระทําทุกอย่างไม่วาด้ านสมองหรื อร่างกายก็ดี
                          ่                                กรรมจะเข้ าครอบคลุม
ชีวะและเป็ นผลให้ ชีวะติดข้ องอยู่ ดังนันสาเหตุของการติดข้ องของชีวะก็คือ
กรรม เป็ นสิงทีเกิดจากกิเลสของตนเอง
        ตามทรรศนะของเชน             ถือว่าการเปลียนแปลงทีเกิดขึนกับสภาพ
ของร่างกายของชีวะจะมีผลโดยตรง ซึงจะเกิดการเปลียนแปลงไปพร้ อมกับใน
ด้ านสมองด้ วย การเปลียนแปลงทีเกิดขึนในแต่ละคนจะอยูในโลกของกรรม ่
ซึงเป็ นปรมาณูของสิงของหรื อวัตถุ เช่น เมือเกิดความคิดชัวร้ ายเกิดขึน
10
กระแสกรรมก็เข้ าไปติดพันกับชีวะและปกคลุมชีวะไว้ และเมือเกิดความคิดที
ดีขน มีการกระทําทีดี กระแสกรรมก็จะหลุดจากชีวะ จึงกล่าวได้ วาตาม
    ึ                                                              ่
ทรรศนะของเชนนัน              การเปลียนแปลงไม่ได้ เกิดขึนเฉพาะตัวชีวะแต่ละดวง
เท่านัน แต่ยงมีการเปลียนแปลงทีเกิดขึนเป็ นปรนัยพร้ อมกันด้ วย ในรูปของ
                ั
ปรมาณูจะเข้ าไปแทรกอยูในชีวะ
                           ่
       ความหมายของกรรมตามทรรศนะของเชน จึงมีลกษณะเป็ นเนือสาร  ั
กรรมนันไม่ใช่เป็ นเรื องอัตนัย เช่นเดียวกับทรรศนะของพุทธศาสนาเพียงอย่าง
เดียว แต่ยงมีลกษณะเป็ นปรนัยอีกด้ วย
           ั ั                                    ความคิดเรื องกรรมทีเป็ นทัง
อัตนัยและปรนัย จึงเป็ นลักษณะพิเศษในปรัชญาเชน ในทุกขณะเราทํากรรม
โดยกิจกรรมของจิต               คําพูดและร่างกายทีถูกกระตุ้นด้ วยความปรารถนา
ความเกลียด ความหลง และความผูกพัน จะเป็ นกรรมและเข้ าไปติดทีชีวะ
ดังนัน ตลอดเวลาทีกระทําสิงทีดีหรือชัวก็ตาม กระแสกรรมจะเข้ าไปติดชีวะ
เหมือนกับนํามาจากลําคลองฉันใด กรรมจะมาสูชีวะด้ วยคลองคือโยคะหรื อ
                                                     ่
การกระทําได้ ฉันนัน ฉะนันชีวะกับกรรมจึงมีความสัมพันธ์ใกล้ ชิด โดยทีโยคะ
เป็ นสาเหตุของอาสรวะ และอาสรวะเป็ นสาเหตุของความติดข้ อง
       สําหรับอาสรวะนัน ยังแบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ ภาวาสรวะ และ
ทรัพยาสรวะหรื อกรรมาสรวะ กล่าวคือกิจกรรมทางความคิดของชีวะเปน                ้
สาเหตุทีเกียวข้ องของกรรมกับชีวะ เรี ยกว่า ภาวาสรวะ หรื อการติดข้ อง
ภายใน การแสดงออกของชีวะนันผ่านทางประสาทสัมผัสทังห้ า ส่วนกรรม
ซึงประสานกับชีวะโดยตรง เรี ยกว่า ทรัพยาสรวะ เป็ นการติดข้ องภายนอก
       ฉะนัน พอจะสรุปขบวนการทังหมดคือ ภาวาสรวะ เกียวข้ องกับ
กิจกรรมทางความคิด ในขณะทีทรัพยาสรวะเกียวกับกรรมทีเป็ นเนือสาร โดย
ทีทรัพยาสรวะเป็ นสาเหตุของการเคลือนทีกระแสของกรรมทีเป็ นเนือสารเข้ าไป
ทีชีวะ ซึงเรี ยกว่าทรัพยาสรวะ ประการทีสําคัญทีสุด คือขบวนการทังสองจะ
เกิดขึนในขณะเดียวกัน           แต่กล่าวได้ ในแง่ของตรรกวิทยาว่า การติดข้ อง
11
ภายใน เกิดขึนก่อน และเป็ นสาเหตุของการติดข้ องภายนอก ซึงยังแบ่ง
ออกเป็ น ๔ ประเภทด้ วยกันตามลักษณะธรรมชาติของกรรม กล่าวคือชนิด
ของกรรมทีไปผูกพันกับชีวะ ระยะเวลาของการติดข้ องนันถือว่า เป็ นช่วงเวลา
ทีกรรมนันติดแน่นอยูกบชีวะ ความเข้ มข้ นของกรรมทีติดแน่นอยูกบชีวะ เป็ น
                        ่ั                                   ่ั
ความเข้ มข้ นของกรรมทีติดอยูกบชีวะ และขอบเขตของชีวะทีกรรมติดอยู่
                                ่ั
ตามทรรศนะของเชนนัน มีสาเหตุของการติดข้ องอยู่ ๓ ประการ คือ
                 (๑) ทรรศนะทีไม่ถกต้ อง
                                     ู
                 (๒) ความรู้ทีไม่ถกต้ อง
                                   ู
                 (๓) ความประพฤติทียังไม่ถกต้ อง
                                            ู
ด้ วยเหตุนี การปรับทัศนคติให้ ถกต้ องนัน เป็ นขันแรกของความหลุดพ้ น
                                       ู
ต่อมาความรู้ทีถูกต้ องและความประพฤติทีถูกต้ องจะตามมา ทรรศนะที
ถูกต้ องจะเป็ นเงือนไขทีจําเป็ นประการแรกของการทําลายการติดข้ อง
        เนืองจากสาเหตุของการติดข้ อง คือการรวมกันของเนือสารของกรรม
กับชีวะ ดังนัน การหลุดพ้ นจึงมีองค์ประกอบคือการแยกหรื อทําลายเนือสาร
ของกรรมเหล่านี ดังนันสิงทีจําเป็ น ผู้แสวงหาความหลุดพ้ น คือการ
ตรวจสอบดูวา เนือสารของกรรมทีติดอยูกบชีวะ ขบวนการเช่นนีเรี ยกว่าสัมว
               ่                         ่ั
ระ หมายถึงการควบคุมหรื อการหยุดยังอนุภาคของกรรม เป็ นการปฏิบติ       ั
เพือทีจะหาทางหยุดกระแสกรรมทีแปลกปลอมไม่ให้ เข้ ามาเป็ นองค์ประกอบ
ของชีวะ
        สําหรับสัมวระ แบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ
        (๑) การหยุด การคิดสําหรับกิจกรรมทางความคิดทีไม่ถกต้ อง
                                                          ู
        (๒) การหยุดทีแท้ จริ งของอาสรวะ คือหยุดและทําลายเนือสารของกรรม
วิถีทางทีจะนําไปสูสมวระ มี ๖ ประการ คือ
                    ่ ั
        (๑) การควบคุมโยคะ ซึงหมายถึงควบคุมกิจกรรมของจิต คําพูด และ
            ร่างกาย
12
        (๒) สมิติ เป็ นทรรศนะทีระมัดระวังในกิจกรรมทุกอย่าง
        (๓) ยึดถือกฎความประพฤติ ๑๐ ประการ
        (๔) ต้ องเจริ ญวิปัสสนาเพือตรวจสอบกระแสกรรม
        (๕) การอดทนต่อความลําบากทีต้ องได้ รับ เพือไม่ให้ กระแสกรรมเข้ ามา
             ติดข้ องกับชีวะ เช่น ความหิว ความกระหาย
        (๖) ความประพฤติทีถูกต้ อง ๔ ประการ
นอกจากวิธีการทัง ๖ ซึงหยุดการเคลือนทีของอนุภาคแห่งกรรมสูชีวะแล้ ว ่
ต้ องมีการทรมานตนเอง เพือล้ างความผิดอีกด้ วย ซึงมีประโยชน์ ๒ ประการ
ได้ แก่ การหยุดอนุภาคของกรรมไม่ให้ มาสูชีวะ และการทําลายอนุภาคของ
                                          ่
กรรมทีมีอยูแล้ ว
              ่
        หลังจากขบวนการดังกล่าวสินสุดลง ก็จะมาถึงขบวนการทีเรี ยกว่า นิร
ชรา ซึงเป็ นขันสุดท้ ายทีจะไปถึงการบรรลุโมกษะ        หลังจากทีหลุดพ้ น
จากกรรม ชีวะจะหลุดพ้ น ปั ญหาสําคัญคือ เมือสินสุดขบวนการของนิรชรา
เป็ นเพียงขันก่อนการบรรลุโมกษะในแง่ตรรกวิทยาเท่านัน แต่ความจริ งแล้ วก็
จะเกิดขึนพร้ อมกันและจะเกิดสิงอีก ๓ สิงขึนพร้ อมกัน คือ
        (๑) การแยกตัวของชีวะจากร่างกาย
        (๒) ชีวะออกจากร่างไป
        (๓) ชีวะกลับไปสูอวกาศยอดสุดของจักรวาล
                           ่
        วิธีเข้ าสู่โมกษะอันเป็ นสภาวะความจริงสูงสุดในศาสนาเชน
       เชนถือวา โมกษะเปนจุดหมายสูงสุดของชีวิต เปนโลกุตตรภาวะ
สภาวะที่พนไปจากโลกไมตองมาเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏไมระทม
ทุกขอีกตอไป      สวนการปฏิบัติเพื่อที่จะใหบรรลุโมกษะไดก็ดวยการ
กําจัดอวิชชาใหหมดไปดวยวิชชา เมื่อไมมีอวิชชา ก็จะไมมกิเลส เละ
                                                         ี
13
เมื่อไมมกิเลสก็จะไมมีกรรม ชีวะก็จะหมดจดผองใสตามเดิม เพราะไม
         ี
ถูกกิเลสและกรรมหอหุมปกปด
        การหลุดพ้ นจากกรรม เริ มจากการปฏิบติตนเพือตัดบ่อเกิดแห่ง
                                                   ั
กรรมหรื อทําลายอวิชชาอันเป็ นทีมาของกิเลสและตัณหาทีจะนํามนุษย์สความ ู่
มืดบอดไม่ร้ ูแจ้ ง        การทรมานตนหรื อการบําเพ็ญตบะนําพาให้ สภาวะทาง
วิญญาณมีระดับของความบริ สทธิ สูงขึน ๆ จนถึงจุดสมบูรณ์แห่งวิญญาณ
                                  ุ
ไม่แปดเปื อนและหม่นหมองจากกรรมและกิเลส ส่วนตัณหาเกิดจากอวิชชา
คือ ความไม่ร้ ู เนืองจากความรู้ เป็ นหนึงในสามทีจะทําให้ มนุษย์หลุดพ้ น
เรี ยกว่า “รัตนตรัย” สูอิสรภาพจากพันธนาการ ส่องสว่างดุจแสงอาทิตย์ ด้ วย
                        ่
หลักแห่งมรรค ๓ ประการ (ติรัตนะ) คือ
        ๑. สัมมาทัสสนะ หรื อ สัมมาสัทธา คือ ความเห็นชอบมีความเชือมัน
ในศาสดาและศาสนา
        ๒. สัมมาญาณ คือ รู้ชอบแห่งทีมาของทุกข์และกรรมด้ วยหลักอหิงสา
ทังกาย วาจา ใจ และรู้ชอบสัจธรรมอันไม่เทียง
        ๓. สัมมาจาริ ตตะ คือ ประพฤติชอบตามหลักปฏิบติ ๗ ขัน คือ
                                                          ั
        ขันที ๑ หลักปฏิบติพืนฐานแห่งอนุพรตและมหาพรตทัง ๕ คือ
                            ั
               ๑. อหิงสา ยึดมันเป็ นอุดมการณ์แห่งชีวิตในเรื องความรักและ
                   เมตตาต่อสิงมีชีวตทังปวง ทังทางตรงและทางอ้ อม
                                    ิ
               ๒. สัตยะ กล่าวแต่สตย์จริ ง อันสอดคล้ องกับอหิงสา
                                       ั
               ๓. อัสเตยะ ยึดหลักศีลธรรม ยุติธรรมและไม่คตโกง
               ๔. พรหมจริ ยะ ไม่หลงมัวเมาในกามารมณ์
               ๕. อปริ ครหะ ละทิงความโลภไม่ยดติดในวัตถุ
                                                ึ
        ขันที ๒               มีความสํารวมทุกอิริยาบถ
        ขันที ๓               ควบคุมกาย วาจา และใจให้ เรี ยบร้ อย
14
       ขันที ๔             ประพฤติปฏิบติธรรม ๑๐ ประการ คือ สุภาพ
                                          ั
       อ่อนโยน, เทียงตรง,ซือสัตย์, สะอาด, อดทน, บําเพ็ญตบะ, เสียสละ,
       ไม่หลงในกิเลส, ไม่เสพเมถุน และให้ อภัย
       ข้ นที ๕            ต้ องหมันเข้ าญาณสมาบัติ
       ขันที ๖             อดทนต่อความหิวกระหาย และความร้ อนหนาว
       ขันที ๗             มีความบริ สทธิ ปราศจากความโลภทังปวง
                                        ุ
       การบําเพ็ญญาณปฏิบติหรื อประพฤติพรหมจรรย์อย่างเคร่งครัดมี
                               ั
กําหนดเวลา ๑๒ ปี จึงจะเข้ าเขตของการหลุดพ้ น หลังจากนัน หากไม่
ต้ องการจะมีชีวิตอยู่ นักบวชเชนจะอดอาหารจนจบชีวิตลง

                                    บทสรุ ป
        หลักปรัชญาการดําเนินชีวิตของเชน              นับเป็ นปรัชญาทีเด่นชัดใน
เรื องของการช่วยตนเองให้ พ้นจากความอวิชชาโดยยึดหลักการทรมานตนเอง
ไม่พงสิงใด ๆ แม้ แต่พระเจ้ าผู้สมบูรณ์ชวการนิรันดร์ ด้ วยเหตุผลทีว่า
      ึ                                ั                                      ผู้
สมบูรณ์โดยไม่เคยเป็ นผู้ไม่สมบูรณ์มาก่อนนัน ย่อมไม่น่าเชือถือ แต่ก็ไม่
สามารถตัดสินได้ วา การไม่พงหรื อไม่ศรัทธาในพระเจ้ าเป็ นสิงทีผิดหรื อถูก แต่
                   ่            ึ
เชนจะแสดงออกถึงความไม่งมงายในหลาย ๆ หลักธรรม                    เพราะถือเป็ น
หลักธรรมสากลทีลัทธิอืนก็รับรอง มีความเคร่งครัดในเรื องของกรรม ทําให้ หลัก
อหิงสาทีจะต้ องมีเมตตาธรรมต่อสรรพชีวิต             ค่อนข้ างจะมีความหมายต่อ
มนุษยชาติในยุคโลกาภิวตน์ ั          แต่จะขัดแย้ งกับการปฏิบติในการทรมาน
                                                              ั
ตนเอง ซึงเท่ากับไม่เมตตาต่อชีวิตตนเอง           หากจะห้ ามทรมานชีวิตอืน ๆ
ก็ต้องห้ ามทรมานชีวิตเองตนด้ วยจึงจะถูก         แม้ จะมีการกราบไหว้ วิญญาณ
ศาสดาเจ้ าลัทธิเทียบเท่าพระเจ้ า แต่ก็มิใช่เพือความกรุ ณาหรื อยกโทษใด ๆ
เพราะกรรมไม่มีการปราณี
15
          เส้ นทางของการต่อสู้กิเลสตามแนวของเชนมีความชัดเจน ทีจะตัดไฟ
แต่ต้นลม ตัดต้ นเหตุทีทําให้ เกิดกรรม หากแต่ไม่มีการยืดหยุนเป็ นหลักการทีดี
                                                             ่
ต่อผู้ถือพรตทีตัดได้ ทกสิง ซึงค่อนข้ างจะรุนแรงและเคร่งครัด
                         ุ                                        สําหรับ
ปุถชนธรรมดาผู้ทําหน้ าทีสืบเผ่าพันธุ์ตามธรรมชาติเพือการดํารงอยูของชีวิต
    ุ                                                           ่
ใหม่ ไม่เหมาะสมทีจะประพฤติหลักธรรมพรหมจรรย์แบบสุดขัว แต่
เหมาะสมทีจะเดินทางสายกลาง เพราะความสุดโต่งของหลักการจะบันทอน
ความสอดประสานสูความเป็ นสากลของศาสนามวลมนุษยชาติ โดยรวม
                       ่
แล้ วสัจธรรมคําสอนทีแทรกอยูในทุกศาสนาคือสิงเดียวกัน แม้ แต่หลักธรรม
                                 ่
ทังหลายของเชนทีสนับสนุนหลักพรตทังห้ า            แตกต่างก็เฉพาะมุมมองและ
ความเคร่งครัด ทีมีกาลเวลาและยุคสมัยมาเกียวข้ อง ความเหมาะสมจึงอยูที       ่
เหตุผลของผู้เดินตาม         ฉะนัน จึงยังไม่มีสจธรรมในศาสนาใดทีมนุษย์เห็น
                                               ั
ว่าสมบูรณ์ทีสุด ตราบเท่าทีมนุษย์มองกันคนละด้ าน หากแม้ จะยึดทางสาย
กลางระหว่างศาสนาไม่ได้ แต่ระหว่างนิกายทิคมพร และเศวตามพรนัน
                                                  ั
          ควรต้ องปรับลดความสุดโต่งลงมาบ้ าง เพราะปั จจุบนมีผ้ นบถือเชนอยู่
                                                            ั ู ั
๑,๕๐๐,๐๐๐ คน โดยประมาณ การปรับตัวเป็ นคุณสมบัติสําคัญในการ
ดํารงอยูของศาสนา ความสอดประสานจะทําให้ มนุษย์อยูร่วมกันได้ อย่างสันติ
             ่                                           ่
และมีชยชนะต่อกรรมกิเลสทีสังสมเป็ นอคติภายในใจ
           ั
          ปรัชญาเชน สอนบุคคลให้ พิชิตหรือชนะต่อกิเลสและตัณหาให้ ได้ อย่าง
สินเชิง เพือหลุดพ้ นจากความยึดติดทังปวง ทําให้ เกิดความรู้แจ้ งในตนเอง
ขึนมา ตามทีองค์ศาสดาได้ ประพฤติปฏิบติ จึงต้ องเคารพและบูชาศาสดา แต่
                                          ั
ไม่ยดถือในพระเจ้ า ศาสดาคือผู้มีดวงวิญญาณซึงบริ สทธิ เป็ นผู้ตงลัทธิและ
      ึ                                                ุ           ั
นําพาให้ เกิดกําลังใจทีจะต่อสู้เอาชนะต่อกิเลสตัณหาทังปวง หลุดพ้ นจากบ่วง
มารทังปวง ซึงครังหนึงดวงวิญญาณเคยผูกมัดอยูในบ่วงมาร แต่กลับกลาย
                                                    ่
มาเป็ นผู้หลุดพ้ น เป็ นสัพพัญ ู ทังนีก็โดยอาศัยความวิริยะด้ วยตนเอง โดย
มิได้ พงพาอาศัยพระเจ้ าแต่อย่างใด และถือว่า ชีวะหรื อวิญญาณทุก ๆ ดวง
        ึ
16
ซึงถูกผูกพันอยูกับปั จจุบนและกิเลสตัณหา ถ้ าได้ เดินตามทางทีพวกศาสดาได้
               ่         ั
สังสอน           ก็จะกลับกลายเป็ นสัพพัญ ู        มีพลังอํานาจและความสุข
เช่นเดียวกับทีศาสดาทังหลายได้ รับมา และนีคือปลายทางแห่งความหวังของ
เชน
       การทีจะบรรลุโพธิญาณต้ องอาศัยกําลังใจทีมันคงจากภายในจิตใจของ
ตน โดยการพยายามบําเพ็ญตบะ ประพฤติพรหมจรรย์ มีเมตตาต่อสรรพ
สัตว์ ด้ วยอหิงสา สละทุกสิงแม้ แต่อาภรณ์ตามแนว “ติรัตนะ” แก้ วสามดวง
แห่งมรรคาทังสาม อันจะนําไปสูความสมบูรณ์แห่งวิญญาณ หลุดพ้ น
                                     ่
พันธนาการวัฏฏสงสาร หรื อการเวียนว่ายตายเกิด ด้ วยหลักธรรม ๗ ขัน ที
ถือว่า “เป็ นความดีสงสุด”
                      ู

                                  นิรวาณ (นิพพาน)
        นิรวาณ ในปรัชญาเชนไม่ได้ หมายถึง ความดับวิญญาณโดยสินเชิง
แต่เป็ นการนําวิญญาณให้ บรรลุสนติสขตลอดไป
                                      ั ุ                    ภาวะหลุดพ้ นทีเรี ยกว่า
โมกษะก็คือ การหลีกเว้ นกรรม ไม่ห่วงใยในชิวิตหรื อวัตถุอืนใดทังสิน ภาวะ
สิทธิ คือผู้สําเร็ จแล้ วจะไม่เป็ นเหตุเป็ นปั จจัยแห่งสังสารวัฏอีก หมดสินเงือนไข
อย่างสมบูรณ์ จะรู้แต่เพียงว่าสัมยัคทัศนะ หรื อสัมยัคศรัทธา สัมยัคชญาณ
และสัมยัคจริ ต เป็ นหนทางแห่งความหลุดพ้ น จะไม่สามารถกล่าวได้ วา การ        ่
ทีวิญญาณเป็ นอิสระจะมีอะไรปรากฏบ้ าง และก็ไม่สามารถกล่าวให้ แหน่ชด                ั
ลงไปว่า มีผ้ ร้ ูวิญญาณเป็ นอิสระมากมาย สภาวะทีสมบูรณ์อาจจะอธิบายได้
               ู
เพราะวิญญาณเป็ นอิสระจากกรมและกิเลสตัณหา เป็ นสภาวะทีมันคงสุขสันติ
อย่างแท้ จริ ง อดีตกรรมหมดพลังแล้ ว วิญญาณแม้ จะยังคงมีพฤติกรรมอยู่ก็
จะไม่สร้ างภพสร้ างชาติขนมาอีก
                            ึ               จะเป็ นวิญญาณทีอิสระพ้ นพันธะใด ๆ
เป็ นอยูนิรันดร มีสมมาญาณ มีเสรี ภาพสมบูรณ์และอนันตสุข ซึงสามารถจะ
        ่             ั
รับอารมณ์และสิงใด ๆ ได้ แต่การรับรู้อารมณ์และความรู้ทีเกิดขึนเป็ นหน้ าที
17
ของวิญญาณ ไม่ใช่อินทรี ย์ต่าง ๆ โมกษะ เคลือนทีขึนเบืองบนโดยไม่หยุดยัง
ในภาวะนิพพานวิญญาณจะพุงสูเ่ บืองบนเนืองจากกรรมในอดีตหมดพลัง
                                ่
ให้ ผลแล้ ว เชือสืบต่อให้ เกิดอีกต่อไปสินสุดลง ความผูกพันต่าง ๆ ได้ พงทลาย
                                                                     ั
ไปมีแต่จะมุงตรงไปสูเ่ บืองบนเท่านัน ทีเรี ยกว่า “สิทธวิญญาณจุดหมาย
            ่
ปลายทางสูงสุดของศาสนาเชน

                    จุดหมายปลายทางสูงสุดของศาสนาเชน
ศาสนาเชนมีจุดหมายปลายทางสูงสุดของชีวิต อันเปนความสุขที่แทจริงและ
นิรันดร คือ นิรวารณะ หรือ โมกษะ (ความหลุดพน) ผูหลุดพันจากเครื่องผูก คือ
กรรม ไดชื่อวา สิทธะ หรือ ผูสําเร็จ เปนผูไมมีชั้นวรรณะ ไมรูสึก
กระทบกระเทือนตอกลิ่น ปราศจากความรูสึกเรื่องรส ไมมีความรูสึกที่เรียกวา
เวทนา ไมมีความหิว ความเจ็บปวด ความเสียใจ ความดีใจ ไมเกิด แก ตาย ไม
มีรูป ไมมีรางกาย ไมมีกรรม เสวยความสงบอันหาที่สุดมิได วิธีที่จะบรรลุ
จุดหมายปลายทางนั้นจะตองปฏิบัติโดยเครงครัดตามขอปฏิบัติพื้นฐานที่
เรียกวา อนุพรต 5 จนถึงอยางสูงที่เปนขอปฏิบัติอันยิ่งใหญและสําคัญคือ มหา
พรต 3


                                เอกสารอ้ างอิง

นวนิต ประถมบูรณ์. ทรรศนะเรืองความหลุดพ้ นในปรัชญาอินเดีย. บัณฑิตวิทยาลัย.
       จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ๒๕๒๐
ฟื น ดอกบัว. รศ. ปวงปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพฯ :สํานักพิมพ์สยาม.๒๕๔๕
สถิต วงศ์สวรรค์. รศ. ปรัชญาตะวันออก.กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์. ๒๕๔๗
สนัน ไชยานุกล. ปรัชญาอินเดีย. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๕๑๙
              ู
เสถียร พันธรังษี . ศาสดามหาวีระ. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๔๙๕
18

หลักคําสอนสําคัญบางประการของศาสนาเชน

More Related Content

What's hot

จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อPadvee Academy
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางสาวกปิศาจ Kudo
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔อิ่' เฉิ่ม
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2niralai
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่niralai
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการniralai
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกRuangrat Watthanasaowalak
 

What's hot (20)

จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
แหล่ลา
แหล่ลาแหล่ลา
แหล่ลา
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
 

Viewers also liked

Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
กรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้น
กรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้นกรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้น
กรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้นTongsamut vorasan
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
คำบวชภาษาอังกฤษ
คำบวชภาษาอังกฤษคำบวชภาษาอังกฤษ
คำบวชภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์Tongsamut vorasan
 
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tongsamut vorasan
 
หมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยก
หมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยกหมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยก
หมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยกTongsamut vorasan
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
อัฎฐกะ คือ หมวด ๘
อัฎฐกะ  คือ  หมวด  ๘อัฎฐกะ  คือ  หมวด  ๘
อัฎฐกะ คือ หมวด ๘Tongsamut vorasan
 
ธรรมบทย่อ 01
ธรรมบทย่อ 01ธรรมบทย่อ 01
ธรรมบทย่อ 01Tongsamut vorasan
 
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกาTongsamut vorasan
 
Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์
วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์
วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์Tongsamut vorasan
 
บทสวดมหาสมัย 2012
บทสวดมหาสมัย 2012บทสวดมหาสมัย 2012
บทสวดมหาสมัย 2012Tongsamut vorasan
 
หนึ่งใจให้ธรรมะ
หนึ่งใจให้ธรรมะหนึ่งใจให้ธรรมะ
หนึ่งใจให้ธรรมะTongsamut vorasan
 

Viewers also liked (19)

Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
 
กรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้น
กรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้นกรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้น
กรณีเงื่อนงำ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ด้วยโรคอะไร ฉบับตัดสั้น
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
 
คำบวชภาษาอังกฤษ
คำบวชภาษาอังกฤษคำบวชภาษาอังกฤษ
คำบวชภาษาอังกฤษ
 
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
 
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
 
หมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยก
หมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยกหมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยก
หมวดหัวข้อพระไตรปิฎก วัดสามแยก
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
อัฎฐกะ คือ หมวด ๘
อัฎฐกะ  คือ  หมวด  ๘อัฎฐกะ  คือ  หมวด  ๘
อัฎฐกะ คือ หมวด ๘
 
ธรรมบทย่อ 01
ธรรมบทย่อ 01ธรรมบทย่อ 01
ธรรมบทย่อ 01
 
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
 
Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
 
วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์
วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์
วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์
 
Bali 2-10
Bali 2-10Bali 2-10
Bali 2-10
 
บทสวดมหาสมัย 2012
บทสวดมหาสมัย 2012บทสวดมหาสมัย 2012
บทสวดมหาสมัย 2012
 
หนึ่งใจให้ธรรมะ
หนึ่งใจให้ธรรมะหนึ่งใจให้ธรรมะ
หนึ่งใจให้ธรรมะ
 

Similar to แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน

แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral educationetcenterrbru
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมJinwara Sriwichai
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกBeeBee ComEdu
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์Sarid Tojaroon
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
สังคหวัตถุ
สังคหวัตถุสังคหวัตถุ
สังคหวัตถุniralai
 

Similar to แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน (20)

แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
สังคหวัตถุ
สังคหวัตถุสังคหวัตถุ
สังคหวัตถุ
 

More from Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน

  • 1. 1 แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน *************************** ศาสนาเชนเป็ นศาสนาประเภทอเทวนิยมเหมือนพระพุทธศาสนา คือไม่ เชือว่ามีพระเจ้ าสร้ างโลกและกําหนดชะตากรรมของสัตว์ ศาสนาเชนถึงแม้ จะเป็ นอเทวนิยมเหมือนพระพุทธศาสนาทีถือว่าทุกอย่างเป็ นไปตามกรรมของ ตน แต่ก็แตกต่างจากพระพุทธศาสนาตรงทีศาสนาเชนเน้ นทีอดีตกรรมและ กายกรรม แต่พระพุทธศาสนาเน้ นทีปั จจุบนกรรมและมโนกรรม ั นอกจากนีก็แตกต่างตรงทีศาสนาเชนเชือเรืองอาตมันแบบยืนโรงคงที เป็ นอมตะอย่างศาสนาพราหมณ์ แต่ศาสนาพุทธถือว่าอาตมันไม่ยืนโรงคงทน เป็ นอมตะ แต่เป็ นแบบสันตติ คือรับช่วงสืบต่อกันไป ส่วนวิธีปฏิบติเพือั ดําเนินไปสูโมกษะ ศาสนาเชนเน้ นเรื องอัตตกิลมถานุโยคซึงเป็ นทางสุดโต่งแต่ ่ พระพุทธศาสนาเป็ นทางสายกลาง หรื อมัชฌิมาปฏิปทา เชน มาจากคําว่า ชินะ โดยวิการอิเป็ นเอ แปลว่า ชนะ แต่ชนะใน ทีนีไม่ได้ หมายถึงการชนะภายนอก คือเอาชนะคนอืนหรื อข้ าศึก หากแต่ หมายถึงเอาชนะภายในคือกิเลสของตน พวกเชนถือว่ากิเลสเป็ นศัตรูทีร้ าย กาจทีสุดของตนและมนุษยชาติ กิเลสนีแหละทีจะทําลายตนเอง ทําลายผู้อืน ทําลายสังคม ตลอดถึงทําลายโลก ความชัวร้ ายทังหลายและความพินาศ ทังหลายทีเกิดขึนในโลกล้ วนแต่มาจากรากเหง้ าคือกิเลสทังสิน ดังนันแต่ละคน จึงควรเห็นกิเลสเป็ นศัตรู พยายามกําจัดให้ หมดไปจากจิตใจ ใครก็สามารถ กําจัดกิเลสได้ อย่างเด็ดขาดสินเชิงขึนชือว่าพระชินะ ผู้ทีสามารถเอาชนะ กิเลสได้ กลายเป็ นบุคคลผู้ประสบความสําเร็ จสูงสุดของชีวิต พวกเชนถือว่า พระศาสดาทัง ๒๔ องค์ของศาสนาเชน ล้ วนแต่เป็ นพระชินะทังสิน และยังมี อีกชือหนึงว่า ตีรถังกร หรื อ ติตถังกร แปลว่า ผู้กระทําซึงท่า คือสร้ างท่า พาคนข้ ามฟากไปสูนิพพานอีกด้ วย ่
  • 2. 2 ปรัชญาเชนมีอยูมาก หากแบ่งออกเป็ นหัวข้ อใหญ่ ๆ ๓ อย่าง คือ ่ ญาณวิทยา ภววิทยา และคุณวิทยา ศาสนาแห่ งอเทวนิยม ศาสนาเชนเป็ นศาสนาอเทวนิยมเหมือนศาสนาพุทธ ทุกอย่างเกิดมา จากเหตุปัจจัยเป็ นไปตามเหตุปัจจัย ไม่ใช่เกิดมาจากพระเจ้ า พวกเชนได้ ให้ เหตุผลถึงการไม่มีพระเจ้ าว่า การเชือพระเจ้ ามีแต่ความขัดแย้ งกันในตัว กล่าวคือพระเจ้ าไม่เคยมีใครเห็น แล้ วจะเชือได้ อย่างไรว่ามีพระเจ้ า ถ้ าจะว่า พระเจ้ ารู้ได้ ด้วยการอนุมาน อย่างสิงต่าง ๆ เช่น โต๊ ะ เก้ าอี บ้ านเรื อน เป็ น ต้ น เกิดขึนมาได้ ก็เพราะมีคนสร้ าง โลกก็เช่นกัน จะต้ องมีผ้ สร้ างขึนมานันก็ ู คือพระเจ้ า แต่ข้ออ้ างนียังไม่สมเหตุสมผล จะเชือมันได้ อย่างไรว่าข้ ออ้ างนีถูก ในเมือไม่มีใครเคยเห็นพระเจ้ า แล้ วจะมันใจได้ อย่างไรว่า พระเจ้ าสร้ างโลก ผิดกับโต๊ ะ เก้ าอี บ้ านเรื อน เป็ นต้ น ซึงใครก็เห็นว่าช่างสร้ างขึนมา อนึง พระเจ้ ามีองค์หรื อหลายองค์ ถ้ ามีองค์เดียวกัน แล้ วทําไมศาสนิกของศาสนา ต่าง ๆ จะต้ องมาทะเลาะกันในเรื องพระเจ้ า หรื อศาสนสถานของบางศาสนา ทําไมจึงห้ ามคนต่างศาสนาเข้ า ในเมือคนต่างศาสนาก็นบถือพระเจ้ าองค์ ั เดียวกัน ถ้ าพระเจ้ ามีหลายองค์ ดังทีนับถือกันตามศาสนาต่าง ๆ ก็เป็ น ธรรมดาว่าแต่ละองค์ก็ต่างจิตต่างใจกัน และทุกศาสนาต่างก็วา พระเจ้ าของ่ ตนสร้ างโลกนีขึนมา ก็ในเมือโลกมนุษย์มีโลกเดียว และถูกสร้ างขึนมาโดย พระเจ้ าองค์เดียว ก็แสดงว่ามีพระเจ้ าจริ งและพระเจ้ าเก๊ กนบ้ าง หรื อว่าทุก ั องค์ร่วมมือกันสร้ าง ก็คงจะประสบความขัดแย้ งกันไม่น้อยในเมือต่างองค์ต่าง จิตต่างใจกัน พระเจ้ าสร้ างมนุษย์แต่ละคนให้ เป็ นไปตามความดีหรื อชัว ของแต่ละคนใช่ไหม ถ้ าใช่ก็แสดงว่าพระเจ้ าไม่ได้ ยิงใหญ่จริ ง ยังต้ องอาศัย บุญหรื อบาปของแต่ละคนเป็ นเครื องมือในการสร้ าง เมือเป็ นอย่างนัน จะใช้ กฎแห่งกรรมแทนพระเจ้ าก็ได้ กฎแห่งกรรมนีแหละทีสร้ างความเป็ นไปของ มนุษย์ หรื อถ้ าพระเจ้ าไม่ได้ สร้ างมนุษย์แต่ละคนไปตามความดีและความชัว
  • 3. 3 ของเขา ก็แล้ วทําไม่พระองค์สร้ างบางคนให้ มีความสุขและบางคนให้ มีความ ทุกข์ หรื อมีความกรุณาต่อบางคน แต่โหดร้ ายต่ออีกบางคน ไม่ยติธรรมใน ุ เมือเชือกันว่า พระเจ้ าทรงมีเมตตามากทีสุดเหล่านีเป็ นต้ น พวกเชนถึงแม้ จะ ไม่เชือพระเจ้ า แต่พวกเขาก็เชือเรื องเทวดาทีไปจากคนเมือตายไปแล้ ว คนที ทําบุญกุศลไว้ จะไปเป็ นเทวดา ก็ทํานองเดียวกับในพระพุทธศาสนา พวกเชน เคารพบูชาพระชินะ หรื อตีรถังกร ซึงเป็ นศาสดาทังหลายของศาสนาเชนแล้ ว ยังเคารพบูชาพระสิทธะ อาจารยะ อุปธยายะ (อุปัชฌาย์) และสาธุอีกด้ วย ซึงพระทัง ๕ ประเภทนีเรี ยกว่า ปั ญจปรเมษฎิ ว่าเป็ นบุคคลตัวอย่างที พัฒนาจิตใจไปจนถึงให้ สงขึนไปตามลําดับจนถึงโมกษะ ู คําสอนและนิกายของปรั ชญาเชน หลักคําสอนของปรัชญาเชนหรื อไชนะในระยะเริ มแรก ไม่สอนให้ ทําการ ทรมานกายเหมือนในสมัยพระมหาวีระ แต่สอนให้ มีการรักษาศีลเพียง ๔ ข้ อ คือ ๑. ไม่เบียดเบียนคิดร้ ายต่อผู้อืน ๒. ละเว้ นการลักขโมย ๓. ยึดมันอยูในสัจจะ ่ ๔. ละเว้ นการผูกพันทังปวง (ไม่สะสมทรัพย์สมบัติทางโลก) ในกาลต่อมา สาวกของศาสนาเชนแบ่งลัทธิออกมาเป็ น ๒ นิกายใหญ่ ๆ คือ นิกายเสวตามพร และนิกายทิคมพร อันเป็ นทีรู้จกกันโดยทัว ๆ ไปในปั จจุบน ั ั ั การยอมรับและนับถือในศาสดาของเชนนัน ทังสองนิกายจะมีอยูเ่ หมือน ๆ กัน หากจะแตกต่างในเรื องของหลักและกฎปฏิบติทีมีความเคร่งครัดต่างกัน ั นิกายทิคมพร ั จะเป็ นผู้ทีมีความเคร่งครัดในกฎระเบียบและจะ ทรมานตนเองเพือต้ องการทีจะปราบปรามความเพลิดเพลินในกามารมณ์ และถือว่าพวกสาธุหรื อพระทังหลายนันควรจะเลิกในความเป็ นเจ้ าของทรัพย์
  • 4. 4 สมบัติ ควรจะละความเป็ นเจ้ าของในสิงใดสิงหนึงเสียโดยสินเชิง แม้ แต่ผ้านุ่ง และผ้ าห่มก็ไม่ควรจะมี และนิกายนียังถือว่า สตรี นนไม่สามารถทีจะบรรลุถึง ั โมกษะได้ นิกายเสวตามพร การประพฤติปฏิบติให้ สามารถร่วมอยูใน ั ่ สังคมได้ เป็ นสิงสําคัญ โดยการนุ่งผ้ าขาวสะอาด การทีจะให้ สละแม้ แต่ผ้า คลุมกายนัน จะทําให้ ไม่สามารถอยูได้ ในสังคมของมนุษย์ และยังถือว่าสตรี ก็ ่ สามารถบรรลุถึงโมกษะได้ เช่นเดียวกับบุรุษทัวไป เพือไม่เป็ นการตัดสิทธิและ เสรี ภาพของสตรี แนวคิดเรืองกรรม เนืองจากกิริยวาทะของเชนมีนยกว้ างขวางครอบคลุมทังในด้ าน ั อภิปรัชญา จริ ยศาสตร์ และญาณวิทยา เช่นเดียวกับเรื องกรรมของ พระพุทธศาสนา ในการกล่าวถึงหลักปรัชญาของหองมหาวีระ ต่อไปนี จะให้ ความสนใจอยูใน ๓ ประเด็นนี ่ ๑) กิริยวาทะในแง่อภิปรัชญา มหาวีระยอมรับความมีอยูของชีวะเช่นเดียวกับมักขลิโคสาละ เชนแบ่ง ่ มูลของสรรพสิงออกเป็ น ๒ คือ ชีวะและอชีวะ และในแต่ละอย่างยังมีการ แบ่งย่อยออกไปอีก ถ้ าหากยอมรับข้ อเท็จจริ งว่า มักขลิโคสาละ กับมหาวีระ เคยมีชีวิตอยูร่วมกันและมักขลิโคสาละเป็ นผู้นําทางความคิดของมหาวีระ ่ ความคิดเรื องการแบ่งประเภทต่าง ๆ ของสรรพสิงของมักขลิโคสาละก็น่าจะมี อิทธิพลต่อมหาวีระอยูไม่น้อย ่ มหาวีระไม่ได้ มองสรรพสิงมีมลจาก ู องค์ประกอบอะไร แต่มองไปว่าชีวะมีอยูเ่ ป็ นจํานวนมากเช่นเดียวกับสิงมีชีวิต ทังหลาย ทีไหนมีชีวตทีนันก็มีชีวะ ชีวะมีอยูทกหนแห่ง ไม่เพียงแต่ในสัตว์ ิ ่ ุ เท่านัน มีอยูแม้ ในพืชและผงธุลี ่
  • 5. 5 นักวิทยาศาสตร์ สมัยปั จจุบนก็ให้ การรับรองในเรื องนีว่า ทุกอย่างมีชีวิต ั เช่นตัวเบิมและอมีบา ชีวตมีอยูในธุลีและสิงทีไร้ ชีวิต ทุกชีวะมิได้ มีความรู้สก ิ ่ ึ เหมือนกันหมด ชีวะบางพวก เช่น พวกทีอยู่ในพืชหรื ออยูในผงธุลีมีความรู้สก ่ ึ โดยอาศัยผัสสะหรื อประสาทสัมผัสอย่างเดียว สัตว์ชนตําบางจําพวกมี ั ความรู้สกสองทางคือ ทางผัสสะและทางรส เช่น หนอน บางจําพวกมี ึ ความรู้สกได้ ๔ ทางคือ ทางผัสสะ ทางรส ทางกลินและทางตา เช่น ผึง ึ สัตว์ชนสูงมีความรู้สก ๕ ทาง คือทางผัสสะ ทางรส ทางกลิน ทางตา ั ึ และทางหู เช่น มนุษย์ มนุษย์มีความรู้สกได้ ๕ ทาง จึงทําให้ มนุษย์มี ึ ความรู้ได้ มากกว่าสัตว์และ แม้ วาความรู้สกเหล่านีจะมีการพัฒนาขึนด้ วย ่ ึ ประการใด ๆ ก็ตาม ชีวะทีอาศัยอยูในร่างกาย ย่อมมีภาวะจํากัดทังในด้ าน ่ ความรู้และพลังงานต้ องตกอยูในความทุกข์ จนกว่าจะหลุดพ้ นและทุก ๆ ชีวะ ่ สามารถบรรลุความเป็ นสัพพัญ ู คุณสมบัติทงสามนีเป็ นคุณสมบัติทีแท้ จริ ง ั ของชีวะ แต่กรรมได้ เข้ ามาบันทอนและกําจัดคุณสมบัติทีแท้ จริ งของชีวะ ออกไป ดุจอาทิตย์ถกเมฆบดบัง กรรมหรื อพลังงานของตัณหาในชีวะได้ ู ดึงดูดเอาชินของวัตถุเข้ ามาใส่ตวเอง วัตถุแทรกซึมอยูในชีวะดุจดังชินของผง ั ่ ธุลีแทรกซึมอยูในแสงไฟหรื อดวงอาทิตย์ กรรมใดนําชีวะไปผูกพันกับวัตถุ ่ การกําจัดกรรมออกไปให้ สินเชิงนัน ชีวะจะต้ องกําจัดบ่วงทีผูกพันตนเองให้ หมดสินไปโดยสินเชิง ต่อจากนันชีวะจะลุถึงความสมบูรณ์อนเป็ นธรรมชาติ ั แท้ จริ งของตนเอง อภิปรัชญาเชนนีได้ ทําให้ เกิดอหิงสธรรมทีสอนให้ ระมัดระวังไม่ ประทุษร้ ายชีวิต แม้ จะไม่อาจเห็นได้ ด้วยตาเปล่า ซึงแตกต่างจากอหิงสธรรม ของศาสนาต่าง ๆ ในโลก ชีวะในทรรศนะของมหาวีระก็คือ จิตในทรรศนะของพระพุทธเจ้ า แต่ พระพุทธเจ้ ามิได้ ทรงถือว่า จิตเป็ นนิรันดร์ มีธรรมชาติดงเดิมบริ สทธิ แม้ จะมี ั ุ คําว่า ปภัสสรใช้ กบจิตก็หมายถึงภวังคจิต ซึงยังมีกิเลสตัณหาประกอบอยู่ ั
  • 6. 6 แต่ไม่มีประเภทอุปกิเลสจรเข้ ามาสูจิต จึงเรี ยกว่าปภัสสร จิตมิได้ เป็ นนิรันดร์ ่ เกิดขึนเพราะมีเหตุปัจจัยและจะดับไปเพราะเหตุปัจจัยดับ ข้ ออธิบายเรื องของ พระพุทธเจ้ ามีหลักปฏิจจสมุปบาทหลักฐาน เรื องกรรมในทรรศนะของพระพุทธเจ้ าเป็ นปฏิกิริยาของจิตกับ สิงแวดล้ อม ซึงแสดงออกได้ เปน ๓ ทาง คือกายกรรม วจีกรรมและ ้ มโนกรรม มโนกรรมเป็ นตัวทีสําคัญทีสุดของจริ ยธรรมทังหลาย กรรมของ พระพุทธเจ้ ามีลกษณะคล้ ายพลังงาน การกระทํากรรมทุกครัง จิตเป็ นผู้เก็บ ั สังสมพลังงานนันไว้ ดีบ้าง ชัวบ้ าง และจะส่งผลทีเรี ยกว่าวิบาก ทําให้ ไปเกิด ในสุคติบ้าง ทุคติบ้าง ตามสมควรแก่กรรมของตน มิได้ มีลกษณะเป็ นดังยาง ั เหนียวดึงดูดชินของวัตถุเข้ ามาอยูในจิตอย่างทีมหาวีระกล่าวไว้ แต่ประการใด ่ เกียวกับเรื องตัณหา พระพุทธเจ้ ามิได้ ทรงถือว่าเป็ นตัวกรรม แต่ถือว่า เป็ นเหตุให้ ทํากรรมเป็ นองค์ประกอบของชีวิตปุถชน ตามหลักปฏิจจสมุปบาท ุ อันได้ แก่วงจรแห่งชีวิตของปุถชน ๓ คือ กิเลส กรรม วิบาก กิเลสเป็ นเหตุให้ ุ ทํากรรม กรรมส่งผลเป็ นวิบาก วิบากก็สร้ างสมกิเลสต่อไป นีคือความทุกข์ ความหลุดพ้ นจากทุกข์ก็คือ กําจัดกิเลสไม่ให้ เกิดอีกต่อไป นีคือความหลุด พ้ น ไม่ต้องมาเกิดอีก มิใช่เป็ นการทําให้ ชีวะบริ สทธิ ดังทีมหาวีระได้ กล่าวไว้ ุ ความเชือเรืองวิญญาณและการเวียนว่ ายตายเกิด (วิญญาณนิยม) ทุกสรรพสิงในพืนพิภพล้ วนแต่มีวิญญาณ ดวงวิญญาณทุก ๆ ดวง สามารถบรรลุถึงโมกษะสูความเป็ นสัพพัญ ู ่ และหลุดพ้ นได้ หากสามารถ สลัดได้ ซงพันธนาการทีเหนียวรังดวงวิญญาณให้ ชีวิตพบกับการเกิด ึ การ เจริ ญเติบโต การแก่ชรา จนจบกระบวนการภพนันคือตาย และเริ มต้ นสูการ ่ เวียนมาเกิดใหม่ หรื อเรี ยกว่า การเวียนว่ายตายเกิด ไม่มีทีสินสุดอยูภายใต้ ่ อํานาจแห่งกฎของจักรวาล หรือกฎแห่งกรรม หากยึดติดอยูกบสิงทีเป็ น ่ั รูปธรรมซึงเป็ นศัตรูกบจิตอ้ นถือเป็ นนามธรรม ั
  • 7. 7 กรรมและกิเลสเป็ นตัวเหนียวรังให้ วิญญาณถูกคุมขังและจํากัด ไร้ ความสุขและอิสรภาพ มีความมัวหมองและอวิชชา ดุจแสงอาทิตย์ทีมีผงธุลี บดบังไม่สามารถส่องแสงสว่างได้ อย่างเต็มที ความรู้เป็ นปั จจัยอันสําคัญของ วิญญาณทุก ๆ ดวง ดังนัน ความรู้กบวิญญาณจึงไม่สามารถแยกออกจากกัน ั ได้ คือ ความรู้เป็ นปั จจัยหรื อธาตุแท้ ของวิญญาณ ไม่ใช่เป็ นเพียงคุณสมบัติที บังเกิดขึนโดยบังเอิญ และไม่ใช่ผลพลอยได้ หากเกิดขึนมาโดยอาศัยปั จจัย หลาย ๆ อย่างผสมกัน ถือว่าความรู้เป็ นดุจดังแสงอาทิตย์ ซึงสามารถทําให้ ตนเองสว่าง และผู้อืนยังพลอยได้ รับแสงสว่างนันด้ วย นอกจากจะมีอปสรรค ุ บางอย่างกันแสงนันไว้ ไม่ให้ สองเข้ าไปถึงวัตถุได้ เท่านัน เช่นเดียวกับวิญญาณ ่ ถ้ าหากไม่มีสิงใดมาปิ ดบังหรื อมีอปสรรคใด ๆ แล้ ว วิญญาณก็จะกลาย ุ มาเป็ นสัพพัญ รู้ ูทกสิงทุกอย่าง เพราะสัพพัญ ู เป็ นธรรมชาติแฝงอันหนึงที ุ แฝงอยูในวิญญาณทุก ๆ ดวง เช่นเดียวกับความร้ อนทีแฝงอยูในนําฉะนัน สิง ่ ่ หนึงทีมีอยูในวิญญาณทุก ๆ ดวงนัน คือ ความรู้แจ้ งแทงตลอด ่ ฐานะแห่ งความเชือในเชน (อเทวนิยม) เชน ได้ ปฏิเสธพระเจ้ าผู้สร้ าง ไม่มีความเชือพระเจ้ าผู้สร้ างแต่อย่างใด ทุกคนสามารถบรรลุสไกลวัล หรื อโมกษะได้ จะต้ องใช้ ความอดทนและวิริยะ ู่ ด้ วยตัวของตัวเอง มีความเพียรอันสูงส่งในการปฏิบติศีลโดยเคร่งครัด จนรู้ ั แจ้ งด้ วยตนเอง หรื อตรัสรู้ ปรัชญาเชน มีหลักการยึดถือความประพฤติแบบอหิงสา คือการงดเว้ น จากการเบียดเบียนชีวิตสัตว์ทงมวล ด้ วยความคิดคือ อเนกันตะ (anekanta) ั และด้ วยการพูดคือ อปริ ครหะ (aparigraha) ส่วนทังสามนีเป็ น หลักการทีสําคัญเหมือนส่วนยอดสุดของลัทธิเชน ปรัชญาเชน สามารถแบ่งย่อยออกเป็ น ๗ กลุม คือ ชีวะ อชีวะ ่ อสารวะ พัทธะ
  • 8. 8 สัมวระ นิรชรา โมกษะ แต่ในบางครังได้ รวมเอาบาปและปั ญญาเพิมเข้ าไป ด้ วยอีก ๒ อย่าง การแบ่งกลุมต่าง ๆ เหล่านี ผู้ทีปรารถนาความหลุดพ้ น ่ ควรจะรู้ตามทรรศนะของเชน โดยเหตุทีเนือสารซึงมีจํานวนมากมาย มีการ เกิดขึน ดํารงอยู่ และสลายไปในเอกภพทังปวงขึนอยูกบชีวะกับอชีวะ ่ั ชีวะในลัทธิเชน เป็ นวิญญาณทีมีความรู้ ซึงตรงกับปุรุษะ ในปรัชญา สางขยะและอาตมันของไวเศษิกะ เวทานตะ ลักษณะสําคัญของชีวะคือมี จํานวนไม่จํากัด เพราะว่าถึงชีวะมีจํานวนจํากัดแล้ ว เมือชีวะบรรลุโมกษะ แล้ ว โลกของเราก็จะว่างเปล่า หรื อมิฉะนันชีวะทีหลุดพ้ นไปแล้ วจะต้ อง กลับมาสูโลกมนุษย์อีกซึงเป็ นไปไม่ได้ ฉะนันชีวะจึงมีจํานวนนับไม่ถ้วน ่ ชีวะจึงมีลกษณะเหมือนกับร่างกาย เป็ นส่วนเดียวกับร่างกาย เมือใดที ั ร่างกายเจ็บปวด ชีวะก็จะเจ็บปวดด้ วย แต่จะแตกต่างในแง่ทีว่า ชีวะไม่ได้ ถกู ทําลายไปด้ วย แม้ ร่างกายจะแตกสลายไป นอกจากนันการรับรู้ยงเป็ น ั ลักษณะสําคัญของชีวะ ส่วนคุณสมบัติอืนของชีวะก็จะมีความรู้เป็ นสารัตถะ (substance) โดยความรู้นีจะมีอยูภายในชีวะเสมอ แม้ วาลักษณะและ ่ ่ ขอบเขตของความรู้จะแตกต่างกันออกไป ชีวะเป็ นกระแสสืบต่อกันไปอย่างไม่ หยุดยัง ชีวะเป็ นทังผู้ร้ ู ผู้เสวยอารมณ์ ลักษณะของชีวะแบ่งออกเป็ น ๒ ลักษณะคือ ประเภททีมีจิต และ ประเภทไม่มีจิต หรื อประเภททีเคลือนไหวได้ กับประเภททีเคลือนไหวไม่ได้ ชีวะเคลือนไหวได้ หมายถึงชีวะทีสามารถเลือนไหวจากทีหนึงไปสูอีก ่ ทีหนึง เช่น โลก นํา พืช ถือว่าเป็ นสิงทีเคลือนไหวไม่ได้ ส่วนไฟและอากาศ เป็ นสิงทีเคลือนไหวได้ เหตุทีความรู้เป็ นสาระสําคัญของชีวะทุกชีวะ ตังแต่ ระดับตําสุดถึงระดับสูงสุด ดังนัน ความรู้ในชีวะต่าง ๆ จึงมีระดับต่าง ๆ กัน ด้ วย ความรู้มีระดับต่างกันก็เนืองมาจากกรรม สําหรับกรรมตามทรรศนะของเชนถือเป็ นเนือปรมาณู
  • 9. 9 ถึงแม้ วาชีวะในระดับตําสุดจนถึงชีวะระดับสูงสุดมีความรู้ในระดับ ่ ต่างกัน แต่มีข้อสังเกตประการหนึง คือ ชีวะในระดับตําสุดในเนือปรมาณูหรื อ วัตถุ มีสภาพเหมือนกับไร้ ชีวะและปราศจากความรู้ แต่ความจริ งแล้ วชีวะและ ความรู้ในระดับนีจะมีอยูในฐานะทีไม่มีกมมันตภาพ ส่วนชีวะทีมนุษย์จะหลุด ่ ั พ้ นจากกรรมทังปวง มีความรู้ทีบริ สทธิ และได้ บรรลุโมกษะเป็ นสัพพัญ ู ุ สาเหตุทีมีกรรมติดข้ องอยูเ่ พราะว่าทุก ๆ ขณะเราจะทํากรรมอยู่ ตลอดเวลา โดยกิจกรรมทังกาย วาจา ใจ โดยมีความทะยานอยากเป็ น ตัวกระตุ้น ทุกสิงทุกอย่างทีเราทําจะเกิดเป็ นการกระทําของเราทังดีและชัว และสิงนันก็จะติดอยูกบชีวะ สิงนีเรี ยกว่า อาสรวะ ส่วนกระแสกรรม ่ั ทีผูกพันกับชีวะ เรี ยกว่า พันธะ เป็ นสภาพทีกรรมไหลเข้ ามาสูชีวะจาก่ ผลิตผลของการกระทําทังกาย วาจา ใจ ซึงเรี ยกการะกระทําเหล่านีว่า โยคะ พันธะซึงทําให้ เกิดการติดข้ องนีมี ๒ อย่าง คือ ภาวพันธะ เริ มอุบติขน ั ึ ทังทีวิญญาณมีอารมณ์ไม่ดี อีกอย่างหนึงเรี ยกว่า ทรัพยพันธะ เริ มต้ นด้ วย การเข้ าไปในชีวะ พันธะหรื อการติดข้ องนี วัตถุกรรมจะรวมกับชีวะ โดยเหตุทีชีวะนันมีลกษณะตามธรรมชาติดงเดิม ั ั คือความบริ สทธิ ุ ปั ญหาก็คือชีวะนันติดข้ องได้ อย่างไร จะเห็นวาในปรัชญาอินเดียเกือบทุก ระบบ ทฤษฎีเรื องการติดข้ องของปรัชญาเชนมีลกษณะแตกต่างจากระบบอืน ั ปรัชญาเชนมีทรรศนะว่า ชีวะนันติดข้ องอยูกบกรรมทีตนเองกระทําขึน ่ั การกระทําทุกอย่างไม่วาด้ านสมองหรื อร่างกายก็ดี ่ กรรมจะเข้ าครอบคลุม ชีวะและเป็ นผลให้ ชีวะติดข้ องอยู่ ดังนันสาเหตุของการติดข้ องของชีวะก็คือ กรรม เป็ นสิงทีเกิดจากกิเลสของตนเอง ตามทรรศนะของเชน ถือว่าการเปลียนแปลงทีเกิดขึนกับสภาพ ของร่างกายของชีวะจะมีผลโดยตรง ซึงจะเกิดการเปลียนแปลงไปพร้ อมกับใน ด้ านสมองด้ วย การเปลียนแปลงทีเกิดขึนในแต่ละคนจะอยูในโลกของกรรม ่ ซึงเป็ นปรมาณูของสิงของหรื อวัตถุ เช่น เมือเกิดความคิดชัวร้ ายเกิดขึน
  • 10. 10 กระแสกรรมก็เข้ าไปติดพันกับชีวะและปกคลุมชีวะไว้ และเมือเกิดความคิดที ดีขน มีการกระทําทีดี กระแสกรรมก็จะหลุดจากชีวะ จึงกล่าวได้ วาตาม ึ ่ ทรรศนะของเชนนัน การเปลียนแปลงไม่ได้ เกิดขึนเฉพาะตัวชีวะแต่ละดวง เท่านัน แต่ยงมีการเปลียนแปลงทีเกิดขึนเป็ นปรนัยพร้ อมกันด้ วย ในรูปของ ั ปรมาณูจะเข้ าไปแทรกอยูในชีวะ ่ ความหมายของกรรมตามทรรศนะของเชน จึงมีลกษณะเป็ นเนือสาร ั กรรมนันไม่ใช่เป็ นเรื องอัตนัย เช่นเดียวกับทรรศนะของพุทธศาสนาเพียงอย่าง เดียว แต่ยงมีลกษณะเป็ นปรนัยอีกด้ วย ั ั ความคิดเรื องกรรมทีเป็ นทัง อัตนัยและปรนัย จึงเป็ นลักษณะพิเศษในปรัชญาเชน ในทุกขณะเราทํากรรม โดยกิจกรรมของจิต คําพูดและร่างกายทีถูกกระตุ้นด้ วยความปรารถนา ความเกลียด ความหลง และความผูกพัน จะเป็ นกรรมและเข้ าไปติดทีชีวะ ดังนัน ตลอดเวลาทีกระทําสิงทีดีหรือชัวก็ตาม กระแสกรรมจะเข้ าไปติดชีวะ เหมือนกับนํามาจากลําคลองฉันใด กรรมจะมาสูชีวะด้ วยคลองคือโยคะหรื อ ่ การกระทําได้ ฉันนัน ฉะนันชีวะกับกรรมจึงมีความสัมพันธ์ใกล้ ชิด โดยทีโยคะ เป็ นสาเหตุของอาสรวะ และอาสรวะเป็ นสาเหตุของความติดข้ อง สําหรับอาสรวะนัน ยังแบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ ภาวาสรวะ และ ทรัพยาสรวะหรื อกรรมาสรวะ กล่าวคือกิจกรรมทางความคิดของชีวะเปน ้ สาเหตุทีเกียวข้ องของกรรมกับชีวะ เรี ยกว่า ภาวาสรวะ หรื อการติดข้ อง ภายใน การแสดงออกของชีวะนันผ่านทางประสาทสัมผัสทังห้ า ส่วนกรรม ซึงประสานกับชีวะโดยตรง เรี ยกว่า ทรัพยาสรวะ เป็ นการติดข้ องภายนอก ฉะนัน พอจะสรุปขบวนการทังหมดคือ ภาวาสรวะ เกียวข้ องกับ กิจกรรมทางความคิด ในขณะทีทรัพยาสรวะเกียวกับกรรมทีเป็ นเนือสาร โดย ทีทรัพยาสรวะเป็ นสาเหตุของการเคลือนทีกระแสของกรรมทีเป็ นเนือสารเข้ าไป ทีชีวะ ซึงเรี ยกว่าทรัพยาสรวะ ประการทีสําคัญทีสุด คือขบวนการทังสองจะ เกิดขึนในขณะเดียวกัน แต่กล่าวได้ ในแง่ของตรรกวิทยาว่า การติดข้ อง
  • 11. 11 ภายใน เกิดขึนก่อน และเป็ นสาเหตุของการติดข้ องภายนอก ซึงยังแบ่ง ออกเป็ น ๔ ประเภทด้ วยกันตามลักษณะธรรมชาติของกรรม กล่าวคือชนิด ของกรรมทีไปผูกพันกับชีวะ ระยะเวลาของการติดข้ องนันถือว่า เป็ นช่วงเวลา ทีกรรมนันติดแน่นอยูกบชีวะ ความเข้ มข้ นของกรรมทีติดแน่นอยูกบชีวะ เป็ น ่ั ่ั ความเข้ มข้ นของกรรมทีติดอยูกบชีวะ และขอบเขตของชีวะทีกรรมติดอยู่ ่ั ตามทรรศนะของเชนนัน มีสาเหตุของการติดข้ องอยู่ ๓ ประการ คือ (๑) ทรรศนะทีไม่ถกต้ อง ู (๒) ความรู้ทีไม่ถกต้ อง ู (๓) ความประพฤติทียังไม่ถกต้ อง ู ด้ วยเหตุนี การปรับทัศนคติให้ ถกต้ องนัน เป็ นขันแรกของความหลุดพ้ น ู ต่อมาความรู้ทีถูกต้ องและความประพฤติทีถูกต้ องจะตามมา ทรรศนะที ถูกต้ องจะเป็ นเงือนไขทีจําเป็ นประการแรกของการทําลายการติดข้ อง เนืองจากสาเหตุของการติดข้ อง คือการรวมกันของเนือสารของกรรม กับชีวะ ดังนัน การหลุดพ้ นจึงมีองค์ประกอบคือการแยกหรื อทําลายเนือสาร ของกรรมเหล่านี ดังนันสิงทีจําเป็ น ผู้แสวงหาความหลุดพ้ น คือการ ตรวจสอบดูวา เนือสารของกรรมทีติดอยูกบชีวะ ขบวนการเช่นนีเรี ยกว่าสัมว ่ ่ั ระ หมายถึงการควบคุมหรื อการหยุดยังอนุภาคของกรรม เป็ นการปฏิบติ ั เพือทีจะหาทางหยุดกระแสกรรมทีแปลกปลอมไม่ให้ เข้ ามาเป็ นองค์ประกอบ ของชีวะ สําหรับสัมวระ แบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ (๑) การหยุด การคิดสําหรับกิจกรรมทางความคิดทีไม่ถกต้ อง ู (๒) การหยุดทีแท้ จริ งของอาสรวะ คือหยุดและทําลายเนือสารของกรรม วิถีทางทีจะนําไปสูสมวระ มี ๖ ประการ คือ ่ ั (๑) การควบคุมโยคะ ซึงหมายถึงควบคุมกิจกรรมของจิต คําพูด และ ร่างกาย
  • 12. 12 (๒) สมิติ เป็ นทรรศนะทีระมัดระวังในกิจกรรมทุกอย่าง (๓) ยึดถือกฎความประพฤติ ๑๐ ประการ (๔) ต้ องเจริ ญวิปัสสนาเพือตรวจสอบกระแสกรรม (๕) การอดทนต่อความลําบากทีต้ องได้ รับ เพือไม่ให้ กระแสกรรมเข้ ามา ติดข้ องกับชีวะ เช่น ความหิว ความกระหาย (๖) ความประพฤติทีถูกต้ อง ๔ ประการ นอกจากวิธีการทัง ๖ ซึงหยุดการเคลือนทีของอนุภาคแห่งกรรมสูชีวะแล้ ว ่ ต้ องมีการทรมานตนเอง เพือล้ างความผิดอีกด้ วย ซึงมีประโยชน์ ๒ ประการ ได้ แก่ การหยุดอนุภาคของกรรมไม่ให้ มาสูชีวะ และการทําลายอนุภาคของ ่ กรรมทีมีอยูแล้ ว ่ หลังจากขบวนการดังกล่าวสินสุดลง ก็จะมาถึงขบวนการทีเรี ยกว่า นิร ชรา ซึงเป็ นขันสุดท้ ายทีจะไปถึงการบรรลุโมกษะ หลังจากทีหลุดพ้ น จากกรรม ชีวะจะหลุดพ้ น ปั ญหาสําคัญคือ เมือสินสุดขบวนการของนิรชรา เป็ นเพียงขันก่อนการบรรลุโมกษะในแง่ตรรกวิทยาเท่านัน แต่ความจริ งแล้ วก็ จะเกิดขึนพร้ อมกันและจะเกิดสิงอีก ๓ สิงขึนพร้ อมกัน คือ (๑) การแยกตัวของชีวะจากร่างกาย (๒) ชีวะออกจากร่างไป (๓) ชีวะกลับไปสูอวกาศยอดสุดของจักรวาล ่ วิธีเข้ าสู่โมกษะอันเป็ นสภาวะความจริงสูงสุดในศาสนาเชน เชนถือวา โมกษะเปนจุดหมายสูงสุดของชีวิต เปนโลกุตตรภาวะ สภาวะที่พนไปจากโลกไมตองมาเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏไมระทม ทุกขอีกตอไป สวนการปฏิบัติเพื่อที่จะใหบรรลุโมกษะไดก็ดวยการ กําจัดอวิชชาใหหมดไปดวยวิชชา เมื่อไมมีอวิชชา ก็จะไมมกิเลส เละ ี
  • 13. 13 เมื่อไมมกิเลสก็จะไมมีกรรม ชีวะก็จะหมดจดผองใสตามเดิม เพราะไม ี ถูกกิเลสและกรรมหอหุมปกปด การหลุดพ้ นจากกรรม เริ มจากการปฏิบติตนเพือตัดบ่อเกิดแห่ง ั กรรมหรื อทําลายอวิชชาอันเป็ นทีมาของกิเลสและตัณหาทีจะนํามนุษย์สความ ู่ มืดบอดไม่ร้ ูแจ้ ง การทรมานตนหรื อการบําเพ็ญตบะนําพาให้ สภาวะทาง วิญญาณมีระดับของความบริ สทธิ สูงขึน ๆ จนถึงจุดสมบูรณ์แห่งวิญญาณ ุ ไม่แปดเปื อนและหม่นหมองจากกรรมและกิเลส ส่วนตัณหาเกิดจากอวิชชา คือ ความไม่ร้ ู เนืองจากความรู้ เป็ นหนึงในสามทีจะทําให้ มนุษย์หลุดพ้ น เรี ยกว่า “รัตนตรัย” สูอิสรภาพจากพันธนาการ ส่องสว่างดุจแสงอาทิตย์ ด้ วย ่ หลักแห่งมรรค ๓ ประการ (ติรัตนะ) คือ ๑. สัมมาทัสสนะ หรื อ สัมมาสัทธา คือ ความเห็นชอบมีความเชือมัน ในศาสดาและศาสนา ๒. สัมมาญาณ คือ รู้ชอบแห่งทีมาของทุกข์และกรรมด้ วยหลักอหิงสา ทังกาย วาจา ใจ และรู้ชอบสัจธรรมอันไม่เทียง ๓. สัมมาจาริ ตตะ คือ ประพฤติชอบตามหลักปฏิบติ ๗ ขัน คือ ั ขันที ๑ หลักปฏิบติพืนฐานแห่งอนุพรตและมหาพรตทัง ๕ คือ ั ๑. อหิงสา ยึดมันเป็ นอุดมการณ์แห่งชีวิตในเรื องความรักและ เมตตาต่อสิงมีชีวตทังปวง ทังทางตรงและทางอ้ อม ิ ๒. สัตยะ กล่าวแต่สตย์จริ ง อันสอดคล้ องกับอหิงสา ั ๓. อัสเตยะ ยึดหลักศีลธรรม ยุติธรรมและไม่คตโกง ๔. พรหมจริ ยะ ไม่หลงมัวเมาในกามารมณ์ ๕. อปริ ครหะ ละทิงความโลภไม่ยดติดในวัตถุ ึ ขันที ๒ มีความสํารวมทุกอิริยาบถ ขันที ๓ ควบคุมกาย วาจา และใจให้ เรี ยบร้ อย
  • 14. 14 ขันที ๔ ประพฤติปฏิบติธรรม ๑๐ ประการ คือ สุภาพ ั อ่อนโยน, เทียงตรง,ซือสัตย์, สะอาด, อดทน, บําเพ็ญตบะ, เสียสละ, ไม่หลงในกิเลส, ไม่เสพเมถุน และให้ อภัย ข้ นที ๕ ต้ องหมันเข้ าญาณสมาบัติ ขันที ๖ อดทนต่อความหิวกระหาย และความร้ อนหนาว ขันที ๗ มีความบริ สทธิ ปราศจากความโลภทังปวง ุ การบําเพ็ญญาณปฏิบติหรื อประพฤติพรหมจรรย์อย่างเคร่งครัดมี ั กําหนดเวลา ๑๒ ปี จึงจะเข้ าเขตของการหลุดพ้ น หลังจากนัน หากไม่ ต้ องการจะมีชีวิตอยู่ นักบวชเชนจะอดอาหารจนจบชีวิตลง บทสรุ ป หลักปรัชญาการดําเนินชีวิตของเชน นับเป็ นปรัชญาทีเด่นชัดใน เรื องของการช่วยตนเองให้ พ้นจากความอวิชชาโดยยึดหลักการทรมานตนเอง ไม่พงสิงใด ๆ แม้ แต่พระเจ้ าผู้สมบูรณ์ชวการนิรันดร์ ด้ วยเหตุผลทีว่า ึ ั ผู้ สมบูรณ์โดยไม่เคยเป็ นผู้ไม่สมบูรณ์มาก่อนนัน ย่อมไม่น่าเชือถือ แต่ก็ไม่ สามารถตัดสินได้ วา การไม่พงหรื อไม่ศรัทธาในพระเจ้ าเป็ นสิงทีผิดหรื อถูก แต่ ่ ึ เชนจะแสดงออกถึงความไม่งมงายในหลาย ๆ หลักธรรม เพราะถือเป็ น หลักธรรมสากลทีลัทธิอืนก็รับรอง มีความเคร่งครัดในเรื องของกรรม ทําให้ หลัก อหิงสาทีจะต้ องมีเมตตาธรรมต่อสรรพชีวิต ค่อนข้ างจะมีความหมายต่อ มนุษยชาติในยุคโลกาภิวตน์ ั แต่จะขัดแย้ งกับการปฏิบติในการทรมาน ั ตนเอง ซึงเท่ากับไม่เมตตาต่อชีวิตตนเอง หากจะห้ ามทรมานชีวิตอืน ๆ ก็ต้องห้ ามทรมานชีวิตเองตนด้ วยจึงจะถูก แม้ จะมีการกราบไหว้ วิญญาณ ศาสดาเจ้ าลัทธิเทียบเท่าพระเจ้ า แต่ก็มิใช่เพือความกรุ ณาหรื อยกโทษใด ๆ เพราะกรรมไม่มีการปราณี
  • 15. 15 เส้ นทางของการต่อสู้กิเลสตามแนวของเชนมีความชัดเจน ทีจะตัดไฟ แต่ต้นลม ตัดต้ นเหตุทีทําให้ เกิดกรรม หากแต่ไม่มีการยืดหยุนเป็ นหลักการทีดี ่ ต่อผู้ถือพรตทีตัดได้ ทกสิง ซึงค่อนข้ างจะรุนแรงและเคร่งครัด ุ สําหรับ ปุถชนธรรมดาผู้ทําหน้ าทีสืบเผ่าพันธุ์ตามธรรมชาติเพือการดํารงอยูของชีวิต ุ ่ ใหม่ ไม่เหมาะสมทีจะประพฤติหลักธรรมพรหมจรรย์แบบสุดขัว แต่ เหมาะสมทีจะเดินทางสายกลาง เพราะความสุดโต่งของหลักการจะบันทอน ความสอดประสานสูความเป็ นสากลของศาสนามวลมนุษยชาติ โดยรวม ่ แล้ วสัจธรรมคําสอนทีแทรกอยูในทุกศาสนาคือสิงเดียวกัน แม้ แต่หลักธรรม ่ ทังหลายของเชนทีสนับสนุนหลักพรตทังห้ า แตกต่างก็เฉพาะมุมมองและ ความเคร่งครัด ทีมีกาลเวลาและยุคสมัยมาเกียวข้ อง ความเหมาะสมจึงอยูที ่ เหตุผลของผู้เดินตาม ฉะนัน จึงยังไม่มีสจธรรมในศาสนาใดทีมนุษย์เห็น ั ว่าสมบูรณ์ทีสุด ตราบเท่าทีมนุษย์มองกันคนละด้ าน หากแม้ จะยึดทางสาย กลางระหว่างศาสนาไม่ได้ แต่ระหว่างนิกายทิคมพร และเศวตามพรนัน ั ควรต้ องปรับลดความสุดโต่งลงมาบ้ าง เพราะปั จจุบนมีผ้ นบถือเชนอยู่ ั ู ั ๑,๕๐๐,๐๐๐ คน โดยประมาณ การปรับตัวเป็ นคุณสมบัติสําคัญในการ ดํารงอยูของศาสนา ความสอดประสานจะทําให้ มนุษย์อยูร่วมกันได้ อย่างสันติ ่ ่ และมีชยชนะต่อกรรมกิเลสทีสังสมเป็ นอคติภายในใจ ั ปรัชญาเชน สอนบุคคลให้ พิชิตหรือชนะต่อกิเลสและตัณหาให้ ได้ อย่าง สินเชิง เพือหลุดพ้ นจากความยึดติดทังปวง ทําให้ เกิดความรู้แจ้ งในตนเอง ขึนมา ตามทีองค์ศาสดาได้ ประพฤติปฏิบติ จึงต้ องเคารพและบูชาศาสดา แต่ ั ไม่ยดถือในพระเจ้ า ศาสดาคือผู้มีดวงวิญญาณซึงบริ สทธิ เป็ นผู้ตงลัทธิและ ึ ุ ั นําพาให้ เกิดกําลังใจทีจะต่อสู้เอาชนะต่อกิเลสตัณหาทังปวง หลุดพ้ นจากบ่วง มารทังปวง ซึงครังหนึงดวงวิญญาณเคยผูกมัดอยูในบ่วงมาร แต่กลับกลาย ่ มาเป็ นผู้หลุดพ้ น เป็ นสัพพัญ ู ทังนีก็โดยอาศัยความวิริยะด้ วยตนเอง โดย มิได้ พงพาอาศัยพระเจ้ าแต่อย่างใด และถือว่า ชีวะหรื อวิญญาณทุก ๆ ดวง ึ
  • 16. 16 ซึงถูกผูกพันอยูกับปั จจุบนและกิเลสตัณหา ถ้ าได้ เดินตามทางทีพวกศาสดาได้ ่ ั สังสอน ก็จะกลับกลายเป็ นสัพพัญ ู มีพลังอํานาจและความสุข เช่นเดียวกับทีศาสดาทังหลายได้ รับมา และนีคือปลายทางแห่งความหวังของ เชน การทีจะบรรลุโพธิญาณต้ องอาศัยกําลังใจทีมันคงจากภายในจิตใจของ ตน โดยการพยายามบําเพ็ญตบะ ประพฤติพรหมจรรย์ มีเมตตาต่อสรรพ สัตว์ ด้ วยอหิงสา สละทุกสิงแม้ แต่อาภรณ์ตามแนว “ติรัตนะ” แก้ วสามดวง แห่งมรรคาทังสาม อันจะนําไปสูความสมบูรณ์แห่งวิญญาณ หลุดพ้ น ่ พันธนาการวัฏฏสงสาร หรื อการเวียนว่ายตายเกิด ด้ วยหลักธรรม ๗ ขัน ที ถือว่า “เป็ นความดีสงสุด” ู นิรวาณ (นิพพาน) นิรวาณ ในปรัชญาเชนไม่ได้ หมายถึง ความดับวิญญาณโดยสินเชิง แต่เป็ นการนําวิญญาณให้ บรรลุสนติสขตลอดไป ั ุ ภาวะหลุดพ้ นทีเรี ยกว่า โมกษะก็คือ การหลีกเว้ นกรรม ไม่ห่วงใยในชิวิตหรื อวัตถุอืนใดทังสิน ภาวะ สิทธิ คือผู้สําเร็ จแล้ วจะไม่เป็ นเหตุเป็ นปั จจัยแห่งสังสารวัฏอีก หมดสินเงือนไข อย่างสมบูรณ์ จะรู้แต่เพียงว่าสัมยัคทัศนะ หรื อสัมยัคศรัทธา สัมยัคชญาณ และสัมยัคจริ ต เป็ นหนทางแห่งความหลุดพ้ น จะไม่สามารถกล่าวได้ วา การ ่ ทีวิญญาณเป็ นอิสระจะมีอะไรปรากฏบ้ าง และก็ไม่สามารถกล่าวให้ แหน่ชด ั ลงไปว่า มีผ้ ร้ ูวิญญาณเป็ นอิสระมากมาย สภาวะทีสมบูรณ์อาจจะอธิบายได้ ู เพราะวิญญาณเป็ นอิสระจากกรมและกิเลสตัณหา เป็ นสภาวะทีมันคงสุขสันติ อย่างแท้ จริ ง อดีตกรรมหมดพลังแล้ ว วิญญาณแม้ จะยังคงมีพฤติกรรมอยู่ก็ จะไม่สร้ างภพสร้ างชาติขนมาอีก ึ จะเป็ นวิญญาณทีอิสระพ้ นพันธะใด ๆ เป็ นอยูนิรันดร มีสมมาญาณ มีเสรี ภาพสมบูรณ์และอนันตสุข ซึงสามารถจะ ่ ั รับอารมณ์และสิงใด ๆ ได้ แต่การรับรู้อารมณ์และความรู้ทีเกิดขึนเป็ นหน้ าที
  • 17. 17 ของวิญญาณ ไม่ใช่อินทรี ย์ต่าง ๆ โมกษะ เคลือนทีขึนเบืองบนโดยไม่หยุดยัง ในภาวะนิพพานวิญญาณจะพุงสูเ่ บืองบนเนืองจากกรรมในอดีตหมดพลัง ่ ให้ ผลแล้ ว เชือสืบต่อให้ เกิดอีกต่อไปสินสุดลง ความผูกพันต่าง ๆ ได้ พงทลาย ั ไปมีแต่จะมุงตรงไปสูเ่ บืองบนเท่านัน ทีเรี ยกว่า “สิทธวิญญาณจุดหมาย ่ ปลายทางสูงสุดของศาสนาเชน จุดหมายปลายทางสูงสุดของศาสนาเชน ศาสนาเชนมีจุดหมายปลายทางสูงสุดของชีวิต อันเปนความสุขที่แทจริงและ นิรันดร คือ นิรวารณะ หรือ โมกษะ (ความหลุดพน) ผูหลุดพันจากเครื่องผูก คือ กรรม ไดชื่อวา สิทธะ หรือ ผูสําเร็จ เปนผูไมมีชั้นวรรณะ ไมรูสึก กระทบกระเทือนตอกลิ่น ปราศจากความรูสึกเรื่องรส ไมมีความรูสึกที่เรียกวา เวทนา ไมมีความหิว ความเจ็บปวด ความเสียใจ ความดีใจ ไมเกิด แก ตาย ไม มีรูป ไมมีรางกาย ไมมีกรรม เสวยความสงบอันหาที่สุดมิได วิธีที่จะบรรลุ จุดหมายปลายทางนั้นจะตองปฏิบัติโดยเครงครัดตามขอปฏิบัติพื้นฐานที่ เรียกวา อนุพรต 5 จนถึงอยางสูงที่เปนขอปฏิบัติอันยิ่งใหญและสําคัญคือ มหา พรต 3 เอกสารอ้ างอิง นวนิต ประถมบูรณ์. ทรรศนะเรืองความหลุดพ้ นในปรัชญาอินเดีย. บัณฑิตวิทยาลัย. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ๒๕๒๐ ฟื น ดอกบัว. รศ. ปวงปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพฯ :สํานักพิมพ์สยาม.๒๕๔๕ สถิต วงศ์สวรรค์. รศ. ปรัชญาตะวันออก.กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์. ๒๕๔๗ สนัน ไชยานุกล. ปรัชญาอินเดีย. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๕๑๙ ู เสถียร พันธรังษี . ศาสดามหาวีระ. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๔๙๕