SlideShare a Scribd company logo
งานชิ้นที่ 3 เรื่อง ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 คืออะไร
ขันธ์ 5 (เบญจขันธ์) เป็นหลักธรรมในศาสนาพุทธที่สอดคล้องกับเรื่องของ “ทุกข์” ตามหลักอริยสัจ 4 โดยหมายถึง
กองแห่งรูปธรรมและนามธรรมทั้ง 5 ที่ทาให้เกิดเป็นตันตนหรือชีวิตขึ้นมา หรืออาจพูดให้เข้าใจได้ง่ายว่า ส่วนประกอบ 5 อย่างที่
รวมกันแล้วก่อให้เกิดเป็นคนและสัตว์ขึ้นมานั่นเอง
ขันธ์ 5 ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ขันธ์ 5 ประกอบด้วยกองรูปธรรม และนามธรรมทั้ง 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ซึ่งสามารถแยก
ออกเป็น 1 รูป และ 4 นาม ดังต่อไปนี้
1. รูปขันธ์ หมายถึง กองรูป ส่วนที่เป็นร่างกาย พฤติกรรม คุณสมบัติต่างๆ ของร่างกาย และส่วนประกอบที่เป็นรูปธรรมทั้งหมด
2. เวทนาขันธ์ หมายถึง กองเวทนา ส่วนที่เป็นความรู้สึกทุกข์สุข ดีใจ พอใจ
3. สัญญาขันธ์ หมายถึง กองสัญญา ส่วนที่เป็นการจาสิ่งที่ได้รับ
4. สังขารขันธ์ หมายถึง กองสังขาร ส่วนที่เป็นการคิดปรุงแต่ง โดยสามารถแยกแยะสิ่งที่รู้สึกหรือจดจาได้
5. วิญญาณขันธ์ หมายถึง กองวิญญาณ หรือ จิต เป็นการรู้แจ้งถึงสิ่งต่างๆ ผ่านทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
โดยรูปขันธ์จะจัดเป็นรูปเพราะเกี่ยวกับส่วนที่มีตัวตน ส่วนเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์จะจัดเป็น 4 นามขันธ์
ซึ่งเป็นปรมัตถธรรม 4 ซึ่งเป็นส่วนที่เป็นความคิดและความรู้สึกนั่นเอง
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันอย่างไร?
ซึ่งหลักธรรมคาสอนเรื่อง “ขันธ์ 5” จะมุ่งเน้นสอนในเรื่องสังขารเป็นหลัก โดยให้มองเห็นความเป็นจริงของสังขารว่า
นั้นเป็นสิ่งที่ปรุงแต่งขึ้นมา ไม่มีความเที่ยงและก่อให้เกิดทุกข์หลายอย่างไม่ว่าจะเป็นความอยาก ความยึดมั่นถือมั่นในตนเอง ดังนั้นเมื่อ
สังขารเกิดขึ้นมาก็ย่อมมีวันสูญสลายไปตามกาลเวลาดังนั้นขันธ์5 จึงหมายถึง กองนามธรรมและรูปธรรม 5 อย่างที่ก่อให้เกิดชีวิตที่
เรียกว่า สังขารขึ้นมาขึ้นมาโดยประกอบด้วยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ที่รวมกันกลายเป็นชีวิต สามารถแยกออกได้เป็น
ส่วนที่เป็นรูปคือร่างกาย และส่วนที่เป็นนามคือส่วนที่เป็นความคิดและความรู้สึกที่ก่อให้เกิดทุกข์นั่นเอง
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
งานชิ้นที่ 4 เรื่องคาถามทบทวนขันธ์ 5
คาถาม ขันธ์ 5
1. ขันธ์ 5 คืออะไร
ตอบ หลักธรรมในศาสนาพุทธที่สอดคล้องกับเรื่องของ ทุกข์ตามหลักอริยสิจ 4 โดยหมายถึง กองแห่งรูปธรรมและนามธรรมทั้ง 5
2. ขันธ์ 5 ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ 1.รูป 2.เวทนา 3.สัญญา 4.สังขาร 5.วิญญาณ
3. ส่วนประกอบ 5 อย่างที่รวมกันแล้วก่อให้เกิดเป็นคนและสัตว์มาจากธรรมทางด้านใด
ตอบ ขันธ์ 5
4. การรู้แจ้งถึงสิ่งต่างๆ ผ่านทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เป็นนามธรรมในข้องใด
ตอบ วิญญาณขันธ์
5.การคิดปรุงแต่งโดยสามารถแยกแยะสิ่งที่รู้สึกหรือจดจาได้เป็นนามธรรมข้อใด
ตอบ สังขารขันธ์
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
6. การจาสิ่งที่ได้รับ เป็นนามธรรมข้อใด
ตอบ สัญญาขันธ์
7. ความรู้สึกทุกข์สุข ดีใจ เป็นนามธรรมข้อใด
ตอบ เวทนาขันธ์
8. ร่างกาย พฤติกรรม สมบัติต่างๆของร่างกาย และส่วนประกอบที่เป็นรูปธรรมทั้งหมด เป็นนามธรรมในข้อใด
ตอบ รูปขันธ์
9.ขันธ์ 5 เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันอย่างไร
ตอบ มุ่งเน้นความเป็นจริงของสังขารเป็นสิ่งที่ปรุงแต่งขึ้นมาไม่มีความเที่ยงและก่อให้เกิดทุกข์
10. เบญจขันธ์ หรือเรียกอีกอย่างว่าอะไร
ตอบ ขันธ์ 5
คาถาม ขันธ์ 5
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304

More Related Content

What's hot

บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
Chalachon Presentation Studio
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
Watcharapol Wiboolyasarin
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิOnpa Akaradech
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติOnpa Akaradech
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
Padvee Academy
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
Padvee Academy
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
พัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติ
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 

Similar to ขันธ์ 5

ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
Padvee Academy
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
Tพี่ชัย พันทะสี
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
Tพี่ชัย พันทะสี
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
freelance
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
Gawewat Dechaapinun
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
solarcell2
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีKiat Chaloemkiat
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
Prachyanun Nilsook
 

Similar to ขันธ์ 5 (20)

ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
ขันธ์52
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
 
บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 

More from ธนาภรณ์ กองวาจา

Is หรือ isis
Is หรือ isisIs หรือ isis
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38 งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขางานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
สรุปคลิปกฎแห่งกรรม
สรุปคลิปกฎแห่งกรรมสรุปคลิปกฎแห่งกรรม
สรุปคลิปกฎแห่งกรรม
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
คลิปกฎแห่งกรรม
คลิปกฎแห่งกรรมคลิปกฎแห่งกรรม
คลิปกฎแห่งกรรม
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
ทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบงทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบง
ธนาภรณ์ กองวาจา
 

More from ธนาภรณ์ กองวาจา (16)

Is หรือ isis
Is หรือ isisIs หรือ isis
Is หรือ isis
 
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
 
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38 งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
 
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขางานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
 
สรุปคลิปกฎแห่งกรรม
สรุปคลิปกฎแห่งกรรมสรุปคลิปกฎแห่งกรรม
สรุปคลิปกฎแห่งกรรม
 
คลิปกฎแห่งกรรม
คลิปกฎแห่งกรรมคลิปกฎแห่งกรรม
คลิปกฎแห่งกรรม
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
ทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบงทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบง
 

Recently uploaded

เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 

Recently uploaded (6)

เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 

ขันธ์ 5

  • 2. ขันธ์ 5 ขันธ์ 5 คืออะไร ขันธ์ 5 (เบญจขันธ์) เป็นหลักธรรมในศาสนาพุทธที่สอดคล้องกับเรื่องของ “ทุกข์” ตามหลักอริยสัจ 4 โดยหมายถึง กองแห่งรูปธรรมและนามธรรมทั้ง 5 ที่ทาให้เกิดเป็นตันตนหรือชีวิตขึ้นมา หรืออาจพูดให้เข้าใจได้ง่ายว่า ส่วนประกอบ 5 อย่างที่ รวมกันแล้วก่อให้เกิดเป็นคนและสัตว์ขึ้นมานั่นเอง ขันธ์ 5 ประกอบด้วยอะไรบ้าง ขันธ์ 5 ประกอบด้วยกองรูปธรรม และนามธรรมทั้ง 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ซึ่งสามารถแยก ออกเป็น 1 รูป และ 4 นาม ดังต่อไปนี้ 1. รูปขันธ์ หมายถึง กองรูป ส่วนที่เป็นร่างกาย พฤติกรรม คุณสมบัติต่างๆ ของร่างกาย และส่วนประกอบที่เป็นรูปธรรมทั้งหมด 2. เวทนาขันธ์ หมายถึง กองเวทนา ส่วนที่เป็นความรู้สึกทุกข์สุข ดีใจ พอใจ 3. สัญญาขันธ์ หมายถึง กองสัญญา ส่วนที่เป็นการจาสิ่งที่ได้รับ 4. สังขารขันธ์ หมายถึง กองสังขาร ส่วนที่เป็นการคิดปรุงแต่ง โดยสามารถแยกแยะสิ่งที่รู้สึกหรือจดจาได้ 5. วิญญาณขันธ์ หมายถึง กองวิญญาณ หรือ จิต เป็นการรู้แจ้งถึงสิ่งต่างๆ ผ่านทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ โดยรูปขันธ์จะจัดเป็นรูปเพราะเกี่ยวกับส่วนที่มีตัวตน ส่วนเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์จะจัดเป็น 4 นามขันธ์ ซึ่งเป็นปรมัตถธรรม 4 ซึ่งเป็นส่วนที่เป็นความคิดและความรู้สึกนั่นเอง น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304
  • 3. ขันธ์ 5 ขันธ์ 5 เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันอย่างไร? ซึ่งหลักธรรมคาสอนเรื่อง “ขันธ์ 5” จะมุ่งเน้นสอนในเรื่องสังขารเป็นหลัก โดยให้มองเห็นความเป็นจริงของสังขารว่า นั้นเป็นสิ่งที่ปรุงแต่งขึ้นมา ไม่มีความเที่ยงและก่อให้เกิดทุกข์หลายอย่างไม่ว่าจะเป็นความอยาก ความยึดมั่นถือมั่นในตนเอง ดังนั้นเมื่อ สังขารเกิดขึ้นมาก็ย่อมมีวันสูญสลายไปตามกาลเวลาดังนั้นขันธ์5 จึงหมายถึง กองนามธรรมและรูปธรรม 5 อย่างที่ก่อให้เกิดชีวิตที่ เรียกว่า สังขารขึ้นมาขึ้นมาโดยประกอบด้วยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ที่รวมกันกลายเป็นชีวิต สามารถแยกออกได้เป็น ส่วนที่เป็นรูปคือร่างกาย และส่วนที่เป็นนามคือส่วนที่เป็นความคิดและความรู้สึกที่ก่อให้เกิดทุกข์นั่นเอง น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304
  • 5. คาถาม ขันธ์ 5 1. ขันธ์ 5 คืออะไร ตอบ หลักธรรมในศาสนาพุทธที่สอดคล้องกับเรื่องของ ทุกข์ตามหลักอริยสิจ 4 โดยหมายถึง กองแห่งรูปธรรมและนามธรรมทั้ง 5 2. ขันธ์ 5 ประกอบด้วยอะไรบ้าง ตอบ 1.รูป 2.เวทนา 3.สัญญา 4.สังขาร 5.วิญญาณ 3. ส่วนประกอบ 5 อย่างที่รวมกันแล้วก่อให้เกิดเป็นคนและสัตว์มาจากธรรมทางด้านใด ตอบ ขันธ์ 5 4. การรู้แจ้งถึงสิ่งต่างๆ ผ่านทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เป็นนามธรรมในข้องใด ตอบ วิญญาณขันธ์ 5.การคิดปรุงแต่งโดยสามารถแยกแยะสิ่งที่รู้สึกหรือจดจาได้เป็นนามธรรมข้อใด ตอบ สังขารขันธ์ น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304
  • 6. 6. การจาสิ่งที่ได้รับ เป็นนามธรรมข้อใด ตอบ สัญญาขันธ์ 7. ความรู้สึกทุกข์สุข ดีใจ เป็นนามธรรมข้อใด ตอบ เวทนาขันธ์ 8. ร่างกาย พฤติกรรม สมบัติต่างๆของร่างกาย และส่วนประกอบที่เป็นรูปธรรมทั้งหมด เป็นนามธรรมในข้อใด ตอบ รูปขันธ์ 9.ขันธ์ 5 เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันอย่างไร ตอบ มุ่งเน้นความเป็นจริงของสังขารเป็นสิ่งที่ปรุงแต่งขึ้นมาไม่มีความเที่ยงและก่อให้เกิดทุกข์ 10. เบญจขันธ์ หรือเรียกอีกอย่างว่าอะไร ตอบ ขันธ์ 5 คาถาม ขันธ์ 5 น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304