SlideShare a Scribd company logo
1 of 99
อ ศิรินุช จันทรางกูล
17/11/57 1
เป็นยาที่ได้จากการสังเคราะห์ หรือสกัดจากจุลชีพ
ใช้ยับยั้งการเจริญเติบโต หรือฆ่าเชื้อจุลชีพ
 Antibacterial agents
 Antiviral agents
 Anti fungal agents
 Antituberculotic agents
 Antimalarial agents
17/11/57 2
ยาสกัดจากจุลชีพ เช่น แบคทีเรีย รา
การออกฤทธิ์ของ Antibiotic
Bacteriostatic ยับยั้ง
Bactericidal ฆ่าเชื้อ
17/11/57 3
 ขอบเขตการออกฤทธิ์
 Broad spectrum
 Medium spectrum
 Narrow spectrum
 การเลือกใช้ยาปฏิชีวนะ
 Empiric therapy ใช้ยาที่ขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง
 Definitive/ Specific therapy ใช้ยาที่จาเพาะเจาะจงกับเชื้อ
17/11/57 4
 แบ่งตามการย้อมติดสีแกรม (Gram's strand)
 Gram positive/ gr+และ Gram negative/gr-
17/11/57 5
 แบ่งตามรูปร่าง...แบคทีเรียก็มีรูปร่างเป็น Cocci และ Bacilli
CocciBacilli
17/11/57 6
 แบคทีเรีย...........มีทั้ง single ,in pair ,cluster
17/11/57 7
 Antibiotic
 Bacteriostatic/ Bactericidal
 Broad spectrum
 Narrow spectrum
 Empiric therapy
 β-lactamase หรือ penicilinase
 anaphylatic shock
 การดื้อยา drug resistance
17/11/57 8
17/11/57 9
ยับยั้งการสังเคราะห์ผนังเซลล์
ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีน
ยับยั้งการแบ่งตัวของ DNA (deoxyribonucleic acid)
รบกวน metabolism ของสารที่จาเป็นต่อการดารงชีพ
17/11/57 10
1.ยับยั้งการ
สังเคราะห์ผนังเซลล์
2.ยับยั้งการ
สังเคราะห์โปรตีน
3.ยับยั้งการ
แบ่งตัวของ DNA
4.รบกวน metabolism ของ
สารที่จาเป็นต่อการดารงชีพ
Penicillin
Cephalosporin
Natural penicillins
Penicillinase resistant penicillins
Extended spectrum penicillins
First Generation
Second-Generation
Third-Generation
Fourth-Generation
aminoglycoside
chloramphenical
tetracycline
macrolides
Lincosamide
quinolone
nitronidazoles
sulfonamide
trimethoprim
ABO
17/11/57 11
17/11/57 12
Penicillin
Cephalosporin
aminoglycoside
chloramphenical
tetracycline macrolides
quinolone
nitronidazoles
sulfonamide
trimethoprim
Lincosamide
 Mechanism of action: ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
โดยรบกวนการสังเคราะห์หรือการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
17/11/57 13
 เป็น Bactericidal มีฤทธิ์ต้าน แบคทีเรีย gr+, gr- และ
spirocheates
1.1 Penicillin : มี 4 กลุ่ม......
1.2 Cephalosporin : มี 4 generation….
17/11/57 14
แบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อย
 Natural penicillins
 B-lactamase resistant penicillins
 Extended spectrum penicillins
 Antipseudomonal penicillins
penicillins
17/11/57 15
 penicillin G, penicillin V,
procaine penicillin G, benzathine
penicillin G
 ยาในกลุ่มนี้มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย gr+
 ถูกทาลายด้วยกรดในกระเพาะอาหาร
 ไม่ทนต่อ B-lactamase
Streptococci, meningococci
Spirochete, clostridium,
Enterococci
penicillins
17/11/57 16
 Cloxacillin, Dicloxacillin, Methicillin, Nafcillin,
Flucloxacillin
 ต้านเชื้อแบคทีเรีย gr+ และ gr- ได้ดี
 ไม่ทนกรด ทนต่อ B-lactamase
 ยาในกลุ่มนี้มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย
staphylococci
penicillins
17/11/57 17
 Ampicillin, Amoxicillin, Bacampicillin,
*Amoxicillin+Clavulanate=Augmentin
*Ampicillin+sulbactam=Sultamicillin,Unasyn
 ออกฤทธิ์กว้าง streptococci,Salmonella,E.coli
เชื้อ gr- บางสายพันธุ์
 ทนต่อกรดในกระเพาะอาหาร ไม่ทนต่อ B-lactamase
penicillins
17/11/57 18
 Ticarcillin, Piperacillin, Mezlocillin
 แบคทีเรียชนิด gr-
 รวมถึงชนิดที่ดื้อยาเช่น Acinetobacter, P.aeruginosa
penicillins
17/11/57 19
เกิดการระคายเคือง GI: คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
IV:Thrombophlebitis
 Micro flora
เกิด pseudomembranous colitis
การแพ้ยา
17/11/57 20
penicillins
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ยา กลุ่ม Penicillin
การแพ้รุนแรงขึ้นหากใช้ร่วมกับ ยากลุ่ม -blocker
การใช้ยาร่วมกับยาคุมกาเนิด จะลดประสิทธิภาพของยา
คุมกาเนิด
ในผู้ป่วยที่ไตทางานผิดปกติ การใช้ยาในขนาดสูง อาจทาให้
เกิดอาการชักได้
17/11/57 21
penicillins
 พิษต่อระบบเลือด กดไขกระดูก
 พิษต่อ ตับ ไต
 ห้ามใช้ร่วมกับยากลุ่ม bacteriostatic เพราะต้านฤทธิ์กัน
เช่น chloramphenicol, erythromycin,
tetracycline
17/11/57 22
penicillins
 รักษาการติดเชื้อ streptococci, menigococci
penicillin G (IV)
 รักษาซิฟิลิส, หนองใน (gonorrhea)
benzathine penicillin และ procaine penicillin
 ใช้ในการรักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนต้น
penicillin V 250-500 mg q 6 hr.
penicillins
รับประทานก่อนอาหาร 1 ชั่วโมง
หรือหลังอาหาร 2 ชั่วโมง
17/11/57 23
 urinary tract infection (UTI)  ampicillin
 upper respiratory tract infection: URI
 low respiratory tract infection
 sinusitis
 otitis
amoxycillin
penicillins
17/11/57 24
**Dicloxacillin,Cloxacillin รักษาโรคติดเชื้อ Stap
 ติดเชื้อที่ผิวหนัง และเยื่อบุต่างๆ (แผล หนอง)
 ติดเชื้อบริเวณทางเดินหายใจส่วนบน (URI)
 Dicloxacillin
รับประทาน 0.25-0.5 mg. q 4-6 hr
ก่อนอาหาร 1 ชั่วโมง หรือหลังอาหาร 2 ชั่วโมง
 Cloxacillin (IV drip)
▪ 5%D/Wหรือ NSS 50-100 ml IV drip 30-40 นาที
penicillins
17/11/57 25
augmentin
 ติดเชื้อแบคทีเรียgr- ที่ผลิต beta-lactamase
augmentin ดื้อต่อยาในกลุ่ม penicillinsกลุ่ม
อื่น
 ใช้สาหรับการติดเชื้อ H.influenza ที่ดื้อยาต่อ ampicillin
penicillins
17/11/57 26
 มีโครงสร้างทางเคมี กลไกการออกฤทธิ์และผลข้างเคียงคล้าย
กับ penicillin
 กลไก: ยับยั้งการสังเคราะห์ผนังเซลล์แบคทีเรีย
 bactericidal: bacteria gr+ และ gr-
Cephalosporins
17/11/57 27
 แบ่งได้เป็น 4 generation ดังนี้
First Generation
Second-Generation
Third-Generation
Fourth-Generation
Cephalosporins
17/11/57 28
 Narrow spectrum
 ให้ฤทธิ์ต่อเชื้อ gr + มากกว่า
 ให้ฤทธิ์แคบต่อ gr - ให้ฤทธิ์ต้านเฉพาะ E. coli,
Klebsiella pneumoniae
 ไม่ทนต่อ -lactamase
 มี Nephrotoxicity สูง
17/11/57 29
Cephalosporins
 Cefazolin, cefadroxil, cefalothin, cephradine
 Cefazolin IV 1-4g q8-12h
 Cephalexin PO 1-4 g q 6 h มีเฉพาะรูปแบบยากิน
 Cephaloridine IM 1g q 6-8h
Cephalosporins
cefadroxil
cephradine
17/11/57 30
Cefazolin
Cephalexin
 ออกฤทธิ์ ต่อ gr+ เท่ากับ 1st generation
 Spectrum ต่อ gr -จะกว้างมากกว่า 1st generation
 ให้ฤทธิ์ต่อต้านเชื้อ Klebsiella, Proteus, H.influenzae
Enterobacter และ Enterobacteriace
 ทนต่อ -lactamase enzyme (cephalosporinase)ได้ดีกว่า
1st
 ไม่เป็นพิษต่อไต
17/11/57 31
Cephalosporins
 cefoxitin, cefalothin, cefuroxime, cefaclor
 Cefamandole IV, IM 0.5-1 g q4-6 h
 Cefoxitin IV, IM 0.5-1 g q4-6 h , 2g q 6-8 h
 Cefuroxime IV 0.25-0.5 g q 12 h
 Cefaclor PO 250 mg q 8 h
Cephalosporins
cefoxitin
cefaclor
17/11/57 32
cefuroxime
Cefamandole
 ติดเชื้อที่หัวใจและเยื่อหุ้มหัวใจ : Cefazolin มี t1/2 นานจึง
อยู่ในเนื้อเยื่อได้ เหมาะที่จะนามาใช้ป้องกันการติดเชื้อจากการ
ผ่าตัดหัวใจและหลอดเลือด
 ป้องกันการติดเชื้อจากการผ่าตัด – cefazolin
 ติดเชื้อที่กระดูกและข้อ : 1st generation เข้ากระดูก และข้อได้ดี
มาก ทั้งแบบให้ทางรับประทาน และฉีด
 cefamandole(2nd )เข้าสู่กระดูกและข้อได้ดี
แต่ใช้เวลานานกว่า
17/11/57 33Cephalosporins
 ติดเชื้อที่ปอดอักเสบที่เกิดนอกโรงพยาบาล (community-acquired
pneumonia)
---cefuroxime
 ติดเชื้อที่ทางเดินอาหารและน้าดี:
Cefamandole และ cefoxitin จะเข้าสู่น้าดีได้ดีกว่าตัวอื่น
 ติดเชื้อทางสูตินารีเวช
เช่น การผ่าตัดคลอดใช้ cefoxitin
17/11/57 34Cephalosporins
 รักษาการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ (UTI)
 **ใช้ในผู้ที่แพ้ยา penicillins :มีไข้/ ผื่นคัน
 cefazolin, cefalexin
17/11/57 35
**แต่ไม่ใช้กับผู้ที่
แพ้ penicillins
ชนิดรุนแรง
Cephalosporins
 รักษา sinusitis, otitis, lower
respiratory tract infections
 รักษาอาการอักเสบติดเชื้อในช่องท้อง อุ้งเชิงกราน
 รักษาแผลติดเชื้อบริเวณเท้า
ของผู้ป่วยเบาหวาน
17/11/57 36
Cephalosporins
 ออกฤทธิ์ต่อเชื้อ gr + จะต่ากว่า 1st และ 2nd generation
โดยเฉพาะ Staphylococci และ Streptococci
 ให้ฤทธิ์ต่อ gr -ดีมาก spectrum กว้าง
 ให้ฤทธิ์ต่อ P. aeruginosa, Proteus, Enterobacter aerogenes
 สามารถผ่าน blood brain barrier (BBB) /
ผ่านเข้าน้าไขสันหลังได้
 ให้ฤทธิ์เสริมกับยาปฏิชีวนะกลุ่ม aminoglycoside
 ไม่เป็นพิษต่อไต
17/11/57 37
Cephalosporins
 Cefotaxime (claforan) ®,
**ceftriaxone, cefdinir (omnicef )®
 Cefotaxime (claforan) IV1-2 g q 6-12 h
 Ceftriaxone (cef-3) IV 1-2 g q 6-12 h
 Cefoperazone IV 2-4g q 12 h
 Ceftazidime (fortum, cef-4) IV 1 g q 8-12 h
Cephalosporins
17/11/57 38
ceftazidime
 รักษาเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitis) จากเชื้อ gr-
*** ถ้าเคยใช้ยากลุ่ม penicillin ไม่ได้ผล
การใช้ยากลุ่มนี้จะไม่ได้ผลเช่นเดียวกัน***
 โรคติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลางที่เกิดจากแบคทีเรีย gr-
โดยเฉพาะในเด็กแรกเกิด เช่น cefdinir (omnicef )®
 รักษาการติดเชื้อโรคหนองใน และแผลริมอ่อน อาจเลือกใช้ยาเป็นยา
รักษาตัวแรก เช่น ceftriaxone และ Cefotaxime
Cephalosporins
17/11/57 39
 การติดเชื้อในโรงพยาบาลที่เกิดจากเชื้อที่ดื้อต่อ cephalosporins 2
กลุ่มแรกและ aminoglycosides
 ใช้สาหรับการติดเชื้อ penicillin resistant s. pneumonia
(PRSR)  cefotaxime
 empiric therapy สาหรับ nosocomia infection
cefoperazone sodium+sulbactam sodium
sulperazone
 specific therapy สาหรับเชื้อ Acinetobacter
 sulperazone
17/11/57 40
Cephalosporins
 spectrum ในการฆ่าเชื้อกว้างกว่า 3rd generation
 ฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ gr + สูงกว่า 3rd generation
 ทนต่อเอนไซม์ bata-lactamase ได้ดี ยาในกลุ่มนี้สามารถ
ผ่านเข้าไปสู่ cerebrospinal fluid
 ให้ฤทธิ์ฆ่าเชื้อ Enterobacteriaceae, Enterococci และ gr-
สูง ให้ฤทธิ์ดีต่อ Pseudomonas aeruginosa
 ไม่เป็นพิษต่อไต
17/11/57 41
Cephalosporins
 Cepirome และ cefepime
 Cefepime IV 1-2g q 12h
cefepime
17/11/57 42
Cephalosporins
 รักษาโรคติดเชื้อได้เช่นเดียวกับ third Generation
 ใช้เป็น empirical treatment ใน nosocromal
infection ที่ดื้อต่อ extended-spectrum penicillin
 ใช้เป็น drug of choice ใน meningitis
 Skin infection
 Septicemia
 Urinary tract infection
Cephalosporins
17/11/57 43
 อาจเกิดการแพ้ยา เช่น มีไข้ ผื่นคัน
 อาจมีอาการรุนแรงถึง anaphylactic shock
 อาการที่พบบ่อยคือ ท้องเสีย คลื่นไส้
pseudomembranous colitis
 อาจพบภาวะไตอักเสบ (nephritis)
 เม็ดเลือดขาวต่า (granulocytopenia)
 ภาวะซีดจากเม็ดเลือดแดงแตก (hemolytic anemia)
Cephalosporins
17/11/57 44
 การกดไขกระดูก เมื่อใช้ยา cefamandole,
moxalactam, cefoperazone
 ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง พบปวดศีรษะ วิงเวียน มึนงง เมื่อยล้า
(disulfiram like effect ) เมื่อใช้ยา
cefamandole, moxalactam และ
cefoperazone
 การติดเชื้อแทรกซ้อน โดยเฉพาะเชื้อรา candida
และ pseudomonas เพิ่มกว่าปกติ
17/11/57 45
Cephalosporins
 การให้ยาทาง IM ทาให้ปวดบริเวณที่ฉีดได้
 การให้ยาทาง IV อาจทาให้เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดา
(thrombophlebitis)
****ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่ม
cephalosporin
ในผู้ป่ วยที่เคยมีประวัติแพ้ยาในกลุ่ม penicillin
Cephalosporins
17/11/57 46
a) ยากลุ่ม aminoglycoside
b) ยากลุ่ม chloramphenical
c) ยากลุ่ม tetracycline
d) ยากลุ่ม macrolides
e) ยากลุ่ม Lincosamide
17/11/57 47
 ยังยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย โดยจับกับ
bacteria ribosome subunit ซึ่งเป็นบริเวณที่มี
การสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย
 bacteria ribosome subunit 30 s
 bacteria ribosome subunit 50 s
17/11/57 48
 gentamycin, streptomycin,
neomycin, amikacin, tobramycin,
netilmicin
 ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรียที่ bacteria
ribosome 30 S
 เมื่อใช้ในขนาดปกติมีคุณสมบัติเป็น bactericidal
 ในขนาดต่ามีคุณสมบัติเป็น bacteriostatic
aminoglycoside
gentamycin
streptomycin
neomycin
17/11/57 49
 ต้านเชื้อแบคทีเรีย gr-, staphylococci ได้ดี
 ยากลุ่มนี้ดูดซึมจากทางเดินอาหารได้น้อย
**ฉะนั้นจึงใช้ในรูปแบบฉีด
**นอกจากนี้ยังพบว่ามีปริมาณยาที่ renal cortex และ
endolymph ของหูชั้นใน
**ฉะนั้นจึงมีพิษต่อไต และหูได้
aminoglycoside
17/11/57 50
 รักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย gr- รุนแรง เช่น
sepsis, pneumonia
 รักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
 รักษาการติดเชื้อของผิวหนัง หรือโครงสร้างผิวหนัง
 รักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
aminoglycoside
17/11/57 51
 รักษาการติดเชื้อของกระดูก เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
 รักษาวัณโรค streptomycin
 รักษาเยื่อหุ้มสมองอักเสบ จาก bacteria gr- โดยการ
ฉีดเข้าไขสันหลัง (intrathecal) 1-10 mg/day
 amikacin เป็น Broad spectrum มีพิษ
รุนแรง จะเก็บไว้ใช้เมื่อจาเป็น ถ้าผู้ป่วยดื้อยานี้จะดื้อยาตัวอื่น
ในกลุ่มด้วย
aminoglycoside
17/11/57 52
aminoglycoside
17/11/57 53
 ใช้ร่วมกับ penicillin หรือ vancomycin ในการรักษาการ
อักเสบของเนื้อเยื่อบุโพรงหัวใจ
 ใช้สาหรับป้องกันการติดเชื้อจากการผ่าตัดลาไส้ใหญ่แบบไม่ฉุกเฉิน เช่น
neomycin sulfate
 neomycin, kanamycin ,gentamycin
sulfate
 ส่วนใหญ่ใช้รูปแบบทาภายนอก (topical) เนื่องจากมีความ
เป็นพิษต่อหูสูงและ neomycin ยังมีพิษต่อไตสูงด้วย
 ใช้ในการรักษาการอักเสบติดเชื้อที่ผิวหนัง เช่น แผลไฟไหม้น้า
ร้อนลวก แผลทั่วไป
aminoglycoside
neomycin
17/11/57 54
 พิษต่อไต พบระดับ creatinin สูงขึ้น มักพบในผู้ที่ได้รับยานาน
เกิน 3-5 วัน
 พิษต่อหู พบหูอื้อ หูตึง วิงเวียน (vertigo) เดินเซ (ataxia)
มักเป็นแบบถาวร พบในผู้ที่ได้รับยาเกิน 5 วัน
 ยาในขนาดสูงทาให้เกิด neuromuscular blockade พบ
กล้ามเนื้ออ่อนแรงโดย ทาให้หายใจลาบาก หยุดหายใจได้
**ระวังการใช้ร่วมกับยาสลบ ยาคลายกล้ามเนื้อ**
รักษาโดยใช้ calcium gluconate
aminoglycoside
17/11/57 55
 bacteriostatic ออกฤทธิ์กว้าง
 ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย โดยจับกับ
bacteria ribosome 50S.
Chloramphenical
17/11/57 56
 การรักษาเยื่อบุตาขาวอักเสบ เช่น ยาหยอดตา
 การรักษาภาวะหู อักเสบ เช่น ยาหยดหู chloramphenical
ear drop
 รักษาเยื่อหุ้มสมองอักเสบในผู้ที่แพ้beta lactam
หรือใช้ยาอื่นไม่ได้ผล เนื่องจากยาผ่าน BBB ได้ดี
 การรักษาTyphoid fever, Scrub typhus
 รักษาการติดเชื้อพวก anairobes เช่น เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
Chloramphenical
Scrub typhus
17/11/57 57
 ไม่ใช้ร่วมกับยาในกลุ่ม macrolide จะทาให้ประสิทธิภาพของยาไม่
ดีจากการมี site of action ที่เดียวกัน
Chloramphenical
• ยาฉีด chloramphenical (IV, IV drip)
•1gm q 6 hr
•ผสมใน sterile water เก็บไว้ได้ 1 สัปดาห์ ที่ 2-8 C
•หรือผสมกับสารละลายNSS 50-100 ml drip 30-60 นาที
• ยารับประทาน
•chloramphenical (250, 500 mg) qid.
17/11/57 58
 ระคายเคืองทางเดินอาหาร คลื่นไส้อาเจียน และท้องเสีย
 กดการทางานของไขกระดูก พบการสร้าง red blood
cell,ลดลง, เกิดภาวะซีด แต่พบได้น้อยมาก
 การใช้ยาในทารกอาจทาให้เกิด gray baby syndrome
พบตัวซีดเทา ระบบไหลเวียนเลือดส่วนปลายล้มเหลว
Chloramphenical
คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ตัวสีเขียวคล้าจน
คล้ายสีเทา เนื่องจากขาด oxygen
17/11/57 59
 Tetracycline, doxyclycline, minoclycline
 ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย โดยการยับยั้งการสร้างโปรตีน
ของแบคทีเรียโดยจับกับ 30S ribosome
Tetracycline
doxyclycline
Tetracycline
17/11/57 60
 รักษาโรคติดเชื้อ mycoplasma pnuemoniae,
chlamydiae (เชื้อที่ทาให้เกิดหนองในเทียม) การติดเชื้อ
rickettesiae พวกพยาธิ เชื้อรา
 รักษาสิว รักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น syphillis
 ใช้ร่วมกับยาอื่นในการรักษาโรคกระเพาะอาหารอักเสบที่มีสาเหตุจากเชื้อ
H. pylori
 ใช้ในการรักษาหลอดลมอักเสบรุนแรง ปอดบวม, Leptospirosis
17/11/57 61
Tetracycline
 ระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้อาเจียน และท้องเสีย อาการหายได้
เมื่อหยุดยา
 **มีผลต่อกระดูกและฟัน พบการเจริญของฟันผิดปกติแบบ
ถาวร ฟันเหลือง การเจริญของกระดูกผิดปกติ
 นอกจากนี้อาจมีอาการแพ้แสง ความเป็นพิษต่อตับและไต
 doxycycline และ minocycline ทาให้เกิดอาการวิงเวียน
มึนงง
***ห้ามใช้ยาในเด็กอายุต่ากว่า 8 ปี
***ไม่ควรใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร
17/11/57 62
Tetracycline
 รับประทานยา ในขณะที่ท้องว่าง หรือ2 ชม. หลังรับประทานยาลดกรด ยา
บารุงเลือดที่มีธาตุเหล็ก นม เพราะการรับประทานร่วมกันมีผลลดการดูดซึมยา
 สังเกตจากสีผงที่กลายเป็นสีเหลืองคล้า หรือสีน้าตาล เพราะเป็นพิษต่อไตจาก
ยาเสื่อมคุณภาพ แนะนาให้เก็บยาในที่ทึบแสง อุณหภูมิไม่สูงเกินไป
 อาจทาให้เกิดอาการแพ้แสง ควรแนะนาให้ผู้ป่วยทาครีมกันแดด กางร่วม
สวมหมวก และเสื้อแขนยาวหากต้องออกไปกลางแจ้ง
 ในหญิงไม่ควรใช้ยาคุมกาเนิดร่วมกับยา tetracycline เนื่องจากทาให้
ประสิทธิภาพในการคุมกาเนิดลดลง
17/11/57 63
Tetracycline
 erythromycin, clarithromycin,
roxithromycin, ketolode
 ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรียที่ bacteria
ribosome 50S.
erythromycin
clarithromycin
roxithromycin
17/11/57 64
Macrolides
 รักษา โรคคอตีบ โรคไอกรน การติดเชื้อในกระแสเลือด การอักเสบ
บริเวณขาหนีบและรักแร้
 รักษาการติดเชื้อของทางเดินหายใจ ในกรณีที่ใช้ยาอื่นไม่ได้หรือไม่
ได้ผล เช่น clarithromycin, roxithromycin
 ใช้ป้องกันการติดเชื้อ mycobacterium avium
complex (MAC) ในผู้ป่วย AIDS เช่น
azithromycin
17/11/57 65
Macrolides
 เบื่ออาหาร (anorexia) คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
 ตับอักเสบ มีไข้ ตัวตาเหลือง
 เมื่อใช้ erythromycin ร่วมกับ theophylline ทา
ให้ระดับ theophylline เพิ่มขึ้นเป็นอันตรายได้
 IM ยาจะระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อบริเวณที่ฉีดยา ทาให้เกิด
อาการปวดหลังฉีดยา
 IV อาจทาให้หลอดเลือดอักเสบ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
17/11/57 66
Macrolides
 Lincomycin, clindamycin
 ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย ที่ bacteria
ribosome 50S
 ใช้ต้านแบคทีเรีย gr+
Lincomycin
clindamycin
17/11/57 67
Lincosamide
 รักษา/ป้องกันการติดเชื้อของแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง
 รักษาการติดเชื้อในระบบสืบพันธ์ในหญิง อาจใช้ร่วมกับ
aminoglycoside
 ใช้รักษาสิว เช่น Clindamycin
 ใช้แทนการรักษาด้วย erythromycinในการรักษา endocarditis
 ใช้เป็นยาแทน ในการป้องกันหรือรักษาปอดอักเสบจากเชื้อในผู้ป่วยเอดส์
 ใช้ Clindamycin +Primaquine รักษาปอดอักเสบจากเชื้อ
Pneumocystic jiroveci
17/11/57 68
Lincosamide
 อาการที่พบบ่อย : ท้องเสีย คลื่นไส้ผื่นคัน หากผู้ป่วยเกิด
diarrhia>>> ควรหยุดยาทันที
 ผู้ป่วยที่ดื้อต่อ erythomycin จะดื้อต่อ
Clindamycin ด้วย
 ควรประเมินการทางานของตับ และไตเมื่อใช้ยากลุ่มนี้ในระยะยาว
17/11/57 69
Lincosamide
a) ยากลุ่ม quinolone
b) ยากลุ่ม nitronidazoles
 มีฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง DNA gyrase ซึ่งเป็น
เอนไซม์ที่จาเป็นสาหรับ DNA replication
ของแบคทีเรีย
 Bactericidal
17/11/57 70
 Norfloxacin, ofloxacin,
ciprofloxacin, levofolxacin
 Norfloxacin 400 mg bid
1 ชั่วโมง ก่อนอาหารหรือ 2 ชั่วโมงหลังอาหาร
 Ofloxacin 200-600mg ต่อวัน แบ่งให้ 1-3 ครั้ง
Norfloxacin
ofloxacinciprofloxacin17/11/57 71
Quinolone
 รักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบสืบพันธุ์
 ต่อมลูกหมากอักเสบ
 รักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร เช่น
norfloxacin ใช้รักษาท้องเสียหรือท้องเดินจากการติด
เชื้อได้ดี ยาถูกดูดซึมได้น้อยจึงเหลือยาในทางเดินอาหารมาก
 รักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
 norfloxacin 400 mg bid 1 ชั่วโมง ก่อนอาหารหรือ 2 ชั่วโมงหลัง
อาหาร
17/11/57 72
Quinolone
 คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ผื่นคัน แพ้แสง ปวดข้อ เอ็นอักเสบ
 อาจพบอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ มึนงง นอนไม่หลับ สับสน ชัก
ยาที่ทาให้ชักมากที่สุดคือ
ciprofloxacin> norfloxacin > lomefloxacin
 หลีกเลี่ยงการใช้ในผู้ป่วยโรคไต
17/11/57 73
Quinolone
 ไม่ควรใช้ร่วมกับยาลดกรด ธาตุเหล็ก เพราะขัดขวางการดูดซึม
 ถ้าใช้ร่วมกับยา theophylline จะไปลดการขับ
theophylline ออกจากร่างกาย ทาให้เพิ่มความเป็นพิษของ
ยา
 ถ้าใช้ร่วมกับยากลุ่ม NSAIDs จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการชักใน
คนไข้ลมชัก
 ไม่ควรใช้ยากลุ่มนี้ในหญิงตั้งครรภ์หรือเด็ก เนื่องจากอาจกดการ
เจริญเติบโตของกระดูกข้อต่อ
17/11/57 74
Quinolone
 กลไกการออกฤทธิ์ยังไม่ทราบแน่ชัด เชื่อว่าเกิดจากการออกฤทธิ์ทาลาย
DNA ของแบคทีเรียโดยตรง
 metronidazole, tinidazole
 PO metronidazole 250 mg tid pc
เป็นเวลา 7 วัน
metronidazole
tinidazole
17/11/57 75
Nitronidazoles
 เป็นยาฆ่าเชื้อบิดทั้ง intestinalและ extra intestinal
sites ปัจจุบันนิยมใช้กับ asymptomatic intestinal
amoebiasis โดยอาจใช้ตัวเดียวหรือใช้ร่วมกับยาอื่น
17/11/57 76
Nitronidazoles
 คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย ปวดศีรษะ วิงเวียน
 กรณีดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ระหว่างการใช้ยาอาจพบ
disulfiram like reaction (หน้าแดง อาเจียน หัว
ใจเต้นเร็ว หายใจถี่ ความดันโลหิตลด)
 ถ้าพบอาการชาและแขนขาไม่มีแรง ก็ควรหยุดยาทันมี
17/11/57 77
Nitronidazoles
a) ยากลุ่ม sulfonamide
b) ยากลุ่ม trimethoprim
 รบกวน metabolism ที่สาคัญในการสังเคราะห์ DNA และ
RNA ของแบคทีเรีย
 ยากลุ่มนี้มีคุณสมบัติเป็น bactericidal
17/11/57 78
 Sulfamethoxazole ,Sulfadiazine,
sulfisoxazole,, sulfanilamide
Sulfadiazine sulfisoxazole
sulfamethoxazole
17/11/57 79
 Trimethoprim 100 mg q 12 hr หรือรับประทาน 200
mg OD นาน 10 วัน
17/11/57 80
 Cotrimoxazole (bactrim)®
:Sulfamethoxazole +trimethoprim
17/11/57 81
 Sulfisoxazole 500 mg ใช้ 4 g ในครั้งแรก
หลังจากนั้นให้ 1g q 6 hr
 Sulfamethoxazole 500 mg ใช้2 g ในครั้งแรก
หลังจากนั้นให้ 1g q 8-12 hr.
 Trimthoprim 100 mg q 12 hr , 200 mg OD นาน 10 วัน
 Cotrimoxazole: Sulfamethoxazole 400 (800)
mg+trimethoprim 80 (160) mg 2tab bid pc.
17/11/57 82
 ใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ (UTI)>>
ยากลุ่ม sulfonamide และ cotrimoxazole
 ใช้ทาเพื่อป้องกันการติดเชื้อแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก
(burn) เช่น 1% silver sulfadiazineและ
mafenide
 ใช้ในการรักษาต่อมลูกหมากอักเสบ
(Prostatitis)>>cotrimoxazole
17/11/57 83
 ใช้ป้องกัน/ รักษาปอดอักเสบจากเชื้อ pneumocystis
carinii ในผู้ป่วยติดเชื้อ HIV>>cotrimoxazole
และยากลุ่ม sulfonamide
 อาจใช้ในการรักษาอาการท้องเสียในกลุ่มนักเดินทาง
>>cotrimoxazole
 รักษาเชื้อ Toxoplasmosis >>cotrimoxazole
17/11/57 84
 ปฏิกิริยาการแพ้ยา จะเกิดผื่นคันและลมพิษ บางครั้งผื่นจะเกิดทั่วตัว
ยกเว้นหนังศีรษะ ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ถ้าอาการรุนแรงจะมีไข้ร่วมด้วย
 ระบบโลหิต ยาจะกดไขกระดูกทาให้เม็ดเลือดลดลง ในผู้ป่วยที่ขาด
เอ็นไซม์ G-6PD ควรระวังการใช้ยาเพราะอาจทาให้เกิดเม็ดเลือด
แดงแตกเฉียบพลัน
 เป็นพิษต่อไต เนื่องจากยาละลายน้าได้น้อยจะตกตะกอนในไต อุดตัน
ท่อปัสสาวะทาให้ปัสสาวะไม่ออก ควรแนะนาให้ผู้ป่วยดื่มน้ามากๆ เพื่อ
ป้องกันการเกิดนิ่วในไต
17/11/57 85
 เป็นพิษต่อตับ ทาให้ตับอักเสบเฉพาะที่ หรือกระจายทั่ว
 อาการที่พบได้แก่ ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน มีไข้ ดีซ่าน ตับโต
จะมีอาการหลังจากได้รับยา 3-5 วัน
 การให้ยาในหญิงตั้งครรภ์ (3 เดือนก่อนคลอด) อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อ
การเกิด kernicterus ในทารก
 ควรระวังในผู้ที่แพ้ยากลุ่ม sulfonamide อาจทาให้เกิด
hematologic abnormalities
17/11/57 86
 Penicillin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ
สังเคราะห์ผนังเซลล์
 Cloxacillin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ
สังเคราะห์ผนังเซลล์
 Ampicillin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ
สังเคราะห์ผนังเซลล์
 Amoxicillin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ
สังเคราะห์ผนังเซลล์
17/11/57 87
 Ceftriaxone ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ
สังเคราะห์ผนังเซลล์
 Cefotaxime ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ
สังเคราะห์ผนังเซลล์
 Ceftazidime ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ
สังเคราะห์ผนังเซลล์
 Gentamycin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ
สังเคราะห์โปรตีน
17/11/57 88
 Chloramphenical ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ
สังเคราะห์โปรตีน
 Clindamycin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ
สังเคราะห์โปรตีน
 Streptomycin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ
สังเคราะห์โปรตีน
 Norfloxacin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ
แบ่งตัวของ DNA
17/11/57 89
แนวทางการประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาล
17/11/57 90
การประเมินภาวะสุขภาพ
 ซักประวัติ:
ประวัติเกี่ยวกับการติดเชื้อในร่างกาย การใช้ยาปฏิชีวนะ
ซักถามการได้รับผลข้างเคียงจากยา การแพ้ยา โรคประจาตัว
การใช้ยาชนิดใดเป็นประจา
พฤติกรรมการดาเนินชีวิตประจาวัน การรับประทานอาการ การทางาน การ
พักผ่อน การขับถ่าย เป็นต้น
 ตรวจร่างกาย: ตรวจร่างการระบบที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ ตรวจรอยโรคบริเวณที่ติด
เชื้อ
 การตรวจพิเศษ: และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC hemoculture
(H/C), sputum culture, pus culture ,UA, UC, CXR
17/11/57 91
 การวางแผนการพยาบาล
 จากข้อมูลที่ประเมินได้ นามากาหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล วัตถุประสงค์ เกณฑ์การ
ประเมิน และแผนการพยาบาล
 ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการการได้ยินลดลงเนื่องจากได้รับยา gentamycin
ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการคลื่นไส้อาเจียน เนื่องจากได้รับ
ผลข้างเคียงจากการ ceftriaxone
ถ่ายเหลว เนื่องจากได้รับผลข้างเคียงจากการได้รับยา tetracycline
พร่องความรู้เกี่ยวกับการรับประทานยาปฏิชีวนะเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
17/11/57 92
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาปฏิชีวนะ
 ประเมินภาวะสุขภาพก่อนให้ยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะประวัติการแพ้ยา
 ซักถามอาการข้างเคียงจากการได้รับยาปฏิชีวนะ
 ให้ยาโดยคานึงถึงหลัก 6 right ทุกครั้งที่ให้ยา
ยาฉีด
 ควรระวังการเกิดหลอดเลือดดาอักเสบ โดยเฉพาะยาที่ระคายเคืองต่อหลอด
เลือด
Cloxacillin 1 g ควรเจือจางยา ใน NSS 100 ml drip in 1h
Gentamycin >150 mg ควรเจือจางยา ใน NSS or D5W 100 drip in 30 min
 ยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ควรฉีดที่กล้ามเนื้อมัดใหญ่และคลึงเพื่อบรรเทาอาการปวด
และไม่ควรฉีดซ้าบริเวณเดิม
 หลังฉีดยาควรสังเกตอาการอย่างน้อย 30 นาที เพื่อดูอาการแพ้17/11/57 93
ยารับประทาน
 ควรรับประทานตามคาแนะนาอย่างเคร่งครัด
ให้ครบตามแพทย์สั่ง ไม่ควรหยุดยาเอง
 ควรศึกษาวิธีการรับประทานยา ข้อห้ามใช้ให้ชัดเจนก่อนใช้ยา
 เมื่อใช้ยาปฏิชีวนะพร้อมยาคุมกาเนิด จะทาให้ยาคุมกาเนิดลดประสิทธิภาพลง
 สังเกตและประเมินอาการข้างเคียงของยาแต่ละชนิด (ดูผลข้างเคียงของยาแต่
ละชนิดตามรายละเอียดข้างต้น )
 ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับยาที่ใช้อยู่ วิธีใช้ อาการข้างเคียง ข้อควร
ระวัง ผลการรักษา เพื่อจะได้ปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อใช้ยาเองที่บ้าน
17/11/57 94
ข้อควรระวังเมื่อได้รับยา กลุ่มต่างๆ
 ยากลุ่ม Penicillins
ระวังการแพ้ยาอย่างรุนแรง
ห้ามรับประทานร่วมกับน้าส้ม เครื่องดื่มที่มีคาร์บอร์เนต ทาให้ยาสลายตัว
ชนิดรับประทาน ให้รับประทานก่อนอาหาร 1-2 ชม.ยกเว้น amocycillin
 ยากลุ่ม cephalosporins
ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ penicillin อาจมีการแพ้ข้ามกลุ่มได้
ผู้ป่วยโรคไต หากได้รับยานี้ขนาดสูง ทาให้ชักได้
ถ้าจาเป็นต้องรับประทานยาลดกรด ควรรับประทานห่างกันอย่างน้อย 2
ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกับยาขับปัสสาวะ เช่น furosemide
เพราะเพิ่มความเป็นพิษต่อไต
17/11/57 95
Tetracyclin
 พบอาการคลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลวได้บ่อย
 กระดูก และฟันเจริญผิดปกติ ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 8 ปี
 ไม่ใช้ร่วมกับยากลุ่ม penicillin เพราะต้านฤทธิ์กัน
 ไม่รับประทานพร้อมยาลดกรด ยาบารุงเลือด เพราะขัดขวางการดูดซึม
 ห้ามใช้ยา tetracycline ที่เสื่อมคุณภาพ เพราะเป็นพิษต่อไต แนะนาให้เก็บยาในที่ทึบ
แสง อุณหภูมิไม่สูงเกินไป ผู้ใช้อาจทาให้เกิดอาการแพ้แสง
Aminoglycoside
 ตรวจการได้ยิน และการทรงตัว เพราะยามีพิษต่อหู
 ติดตามการทางานของไต ดูผล BUN Cr กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ามากๆ ระหว่างได้รับยา
chloramphenicol
 กดการทางานของไขกระดูก ในทารกอาจเกิด gray baby syndrome
 แนะนาให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการขับขี่ หรือทางานกับเครื่องจักรกล17/11/57 96
Sulfonamide
 แนะนาให้ผู้ป่ วยดื่มน้ามากๆ เพื่อป้ องกันการเกิด
crystalluria และนิ่วในไต
 อาจทาให้เกิดอาการแพ้แสง ควรแนะนาให้ผู้ป่ วยทาครีมกันแดด
17/11/57 97
การประเมินผล
 การดูประสิทธิภาพของการรักษา การรุกลามของโรค หลังจากการใช้ยา
 การสังเกตอาการข้างเคียง อาการแทรกซ้อนจากการใช้ยา
 ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ เช่น ระดับยาในเลือด CBC, LFT,
profile, BUN, Cr
 ควรประเมินการเกิดการติดเชื้อซ้า (Super-infection) ในกรณีที่
ได้รับยาในขนาดสูง หรือได้รับยาเป็นระยะเวลานาน
17/11/57 98
THE END17/11/57 99

More Related Content

What's hot

ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Utai Sukviwatsirikul
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลRachanont Hiranwong
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineAiman Sadeeyamu
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, Utai Sukviwatsirikul
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักAiman Sadeeyamu
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014 Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
Aerius drug monograph
Aerius drug monograph Aerius drug monograph
Aerius drug monograph
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 

Viewers also liked

Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Sirinoot Jantharangkul
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา Utai Sukviwatsirikul
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
pneumocystis jiroveci pneumonia in HIV
pneumocystis jiroveci pneumonia in HIV pneumocystis jiroveci pneumonia in HIV
pneumocystis jiroveci pneumonia in HIV Maryam AL-Qahtani
 
Pneumocystis Jiroveci (Carinii)
Pneumocystis Jiroveci (Carinii)Pneumocystis Jiroveci (Carinii)
Pneumocystis Jiroveci (Carinii)Luis Rios
 
Antibiotic Mechanisms of Action
Antibiotic Mechanisms of ActionAntibiotic Mechanisms of Action
Antibiotic Mechanisms of ActionYazan Kherallah
 

Viewers also liked (20)

Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
 
K 5
K 5K 5
K 5
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
หลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
หลักการใช้ยาต้านจุลชีพหลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
หลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Neumocistosis
NeumocistosisNeumocistosis
Neumocistosis
 
Pneumocystis Pneumonia
Pneumocystis Pneumonia Pneumocystis Pneumonia
Pneumocystis Pneumonia
 
pneumocystis jiroveci pneumonia in HIV
pneumocystis jiroveci pneumonia in HIV pneumocystis jiroveci pneumonia in HIV
pneumocystis jiroveci pneumonia in HIV
 
Pneumocystis Jiroveci (Carinii)
Pneumocystis Jiroveci (Carinii)Pneumocystis Jiroveci (Carinii)
Pneumocystis Jiroveci (Carinii)
 
Antibiotic Mechanisms of Action
Antibiotic Mechanisms of ActionAntibiotic Mechanisms of Action
Antibiotic Mechanisms of Action
 

More from Sirinoot Jantharangkul

More from Sirinoot Jantharangkul (11)

Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)
 
Vildagliptin
Vildagliptin Vildagliptin
Vildagliptin
 
Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)
 
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride) Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
 
Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2
 
Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 
Agent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemiaAgent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemia
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 

Antibiotic_1

  • 3. ยาสกัดจากจุลชีพ เช่น แบคทีเรีย รา การออกฤทธิ์ของ Antibiotic Bacteriostatic ยับยั้ง Bactericidal ฆ่าเชื้อ 17/11/57 3
  • 4.  ขอบเขตการออกฤทธิ์  Broad spectrum  Medium spectrum  Narrow spectrum  การเลือกใช้ยาปฏิชีวนะ  Empiric therapy ใช้ยาที่ขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง  Definitive/ Specific therapy ใช้ยาที่จาเพาะเจาะจงกับเชื้อ 17/11/57 4
  • 5.  แบ่งตามการย้อมติดสีแกรม (Gram's strand)  Gram positive/ gr+และ Gram negative/gr- 17/11/57 5
  • 8.  Antibiotic  Bacteriostatic/ Bactericidal  Broad spectrum  Narrow spectrum  Empiric therapy  β-lactamase หรือ penicilinase  anaphylatic shock  การดื้อยา drug resistance 17/11/57 8
  • 11. 1.ยับยั้งการ สังเคราะห์ผนังเซลล์ 2.ยับยั้งการ สังเคราะห์โปรตีน 3.ยับยั้งการ แบ่งตัวของ DNA 4.รบกวน metabolism ของ สารที่จาเป็นต่อการดารงชีพ Penicillin Cephalosporin Natural penicillins Penicillinase resistant penicillins Extended spectrum penicillins First Generation Second-Generation Third-Generation Fourth-Generation aminoglycoside chloramphenical tetracycline macrolides Lincosamide quinolone nitronidazoles sulfonamide trimethoprim ABO 17/11/57 11
  • 13.  Mechanism of action: ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย โดยรบกวนการสังเคราะห์หรือการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรีย 17/11/57 13
  • 14.  เป็น Bactericidal มีฤทธิ์ต้าน แบคทีเรีย gr+, gr- และ spirocheates 1.1 Penicillin : มี 4 กลุ่ม...... 1.2 Cephalosporin : มี 4 generation…. 17/11/57 14
  • 15. แบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อย  Natural penicillins  B-lactamase resistant penicillins  Extended spectrum penicillins  Antipseudomonal penicillins penicillins 17/11/57 15
  • 16.  penicillin G, penicillin V, procaine penicillin G, benzathine penicillin G  ยาในกลุ่มนี้มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย gr+  ถูกทาลายด้วยกรดในกระเพาะอาหาร  ไม่ทนต่อ B-lactamase Streptococci, meningococci Spirochete, clostridium, Enterococci penicillins 17/11/57 16
  • 17.  Cloxacillin, Dicloxacillin, Methicillin, Nafcillin, Flucloxacillin  ต้านเชื้อแบคทีเรีย gr+ และ gr- ได้ดี  ไม่ทนกรด ทนต่อ B-lactamase  ยาในกลุ่มนี้มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย staphylococci penicillins 17/11/57 17
  • 18.  Ampicillin, Amoxicillin, Bacampicillin, *Amoxicillin+Clavulanate=Augmentin *Ampicillin+sulbactam=Sultamicillin,Unasyn  ออกฤทธิ์กว้าง streptococci,Salmonella,E.coli เชื้อ gr- บางสายพันธุ์  ทนต่อกรดในกระเพาะอาหาร ไม่ทนต่อ B-lactamase penicillins 17/11/57 18
  • 19.  Ticarcillin, Piperacillin, Mezlocillin  แบคทีเรียชนิด gr-  รวมถึงชนิดที่ดื้อยาเช่น Acinetobacter, P.aeruginosa penicillins 17/11/57 19
  • 20. เกิดการระคายเคือง GI: คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน IV:Thrombophlebitis  Micro flora เกิด pseudomembranous colitis การแพ้ยา 17/11/57 20 penicillins
  • 21. ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ยา กลุ่ม Penicillin การแพ้รุนแรงขึ้นหากใช้ร่วมกับ ยากลุ่ม -blocker การใช้ยาร่วมกับยาคุมกาเนิด จะลดประสิทธิภาพของยา คุมกาเนิด ในผู้ป่วยที่ไตทางานผิดปกติ การใช้ยาในขนาดสูง อาจทาให้ เกิดอาการชักได้ 17/11/57 21 penicillins
  • 22.  พิษต่อระบบเลือด กดไขกระดูก  พิษต่อ ตับ ไต  ห้ามใช้ร่วมกับยากลุ่ม bacteriostatic เพราะต้านฤทธิ์กัน เช่น chloramphenicol, erythromycin, tetracycline 17/11/57 22 penicillins
  • 23.  รักษาการติดเชื้อ streptococci, menigococci penicillin G (IV)  รักษาซิฟิลิส, หนองใน (gonorrhea) benzathine penicillin และ procaine penicillin  ใช้ในการรักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนต้น penicillin V 250-500 mg q 6 hr. penicillins รับประทานก่อนอาหาร 1 ชั่วโมง หรือหลังอาหาร 2 ชั่วโมง 17/11/57 23
  • 24.  urinary tract infection (UTI)  ampicillin  upper respiratory tract infection: URI  low respiratory tract infection  sinusitis  otitis amoxycillin penicillins 17/11/57 24
  • 25. **Dicloxacillin,Cloxacillin รักษาโรคติดเชื้อ Stap  ติดเชื้อที่ผิวหนัง และเยื่อบุต่างๆ (แผล หนอง)  ติดเชื้อบริเวณทางเดินหายใจส่วนบน (URI)  Dicloxacillin รับประทาน 0.25-0.5 mg. q 4-6 hr ก่อนอาหาร 1 ชั่วโมง หรือหลังอาหาร 2 ชั่วโมง  Cloxacillin (IV drip) ▪ 5%D/Wหรือ NSS 50-100 ml IV drip 30-40 นาที penicillins 17/11/57 25
  • 26. augmentin  ติดเชื้อแบคทีเรียgr- ที่ผลิต beta-lactamase augmentin ดื้อต่อยาในกลุ่ม penicillinsกลุ่ม อื่น  ใช้สาหรับการติดเชื้อ H.influenza ที่ดื้อยาต่อ ampicillin penicillins 17/11/57 26
  • 27.  มีโครงสร้างทางเคมี กลไกการออกฤทธิ์และผลข้างเคียงคล้าย กับ penicillin  กลไก: ยับยั้งการสังเคราะห์ผนังเซลล์แบคทีเรีย  bactericidal: bacteria gr+ และ gr- Cephalosporins 17/11/57 27
  • 28.  แบ่งได้เป็น 4 generation ดังนี้ First Generation Second-Generation Third-Generation Fourth-Generation Cephalosporins 17/11/57 28
  • 29.  Narrow spectrum  ให้ฤทธิ์ต่อเชื้อ gr + มากกว่า  ให้ฤทธิ์แคบต่อ gr - ให้ฤทธิ์ต้านเฉพาะ E. coli, Klebsiella pneumoniae  ไม่ทนต่อ -lactamase  มี Nephrotoxicity สูง 17/11/57 29 Cephalosporins
  • 30.  Cefazolin, cefadroxil, cefalothin, cephradine  Cefazolin IV 1-4g q8-12h  Cephalexin PO 1-4 g q 6 h มีเฉพาะรูปแบบยากิน  Cephaloridine IM 1g q 6-8h Cephalosporins cefadroxil cephradine 17/11/57 30 Cefazolin Cephalexin
  • 31.  ออกฤทธิ์ ต่อ gr+ เท่ากับ 1st generation  Spectrum ต่อ gr -จะกว้างมากกว่า 1st generation  ให้ฤทธิ์ต่อต้านเชื้อ Klebsiella, Proteus, H.influenzae Enterobacter และ Enterobacteriace  ทนต่อ -lactamase enzyme (cephalosporinase)ได้ดีกว่า 1st  ไม่เป็นพิษต่อไต 17/11/57 31 Cephalosporins
  • 32.  cefoxitin, cefalothin, cefuroxime, cefaclor  Cefamandole IV, IM 0.5-1 g q4-6 h  Cefoxitin IV, IM 0.5-1 g q4-6 h , 2g q 6-8 h  Cefuroxime IV 0.25-0.5 g q 12 h  Cefaclor PO 250 mg q 8 h Cephalosporins cefoxitin cefaclor 17/11/57 32 cefuroxime Cefamandole
  • 33.  ติดเชื้อที่หัวใจและเยื่อหุ้มหัวใจ : Cefazolin มี t1/2 นานจึง อยู่ในเนื้อเยื่อได้ เหมาะที่จะนามาใช้ป้องกันการติดเชื้อจากการ ผ่าตัดหัวใจและหลอดเลือด  ป้องกันการติดเชื้อจากการผ่าตัด – cefazolin  ติดเชื้อที่กระดูกและข้อ : 1st generation เข้ากระดูก และข้อได้ดี มาก ทั้งแบบให้ทางรับประทาน และฉีด  cefamandole(2nd )เข้าสู่กระดูกและข้อได้ดี แต่ใช้เวลานานกว่า 17/11/57 33Cephalosporins
  • 34.  ติดเชื้อที่ปอดอักเสบที่เกิดนอกโรงพยาบาล (community-acquired pneumonia) ---cefuroxime  ติดเชื้อที่ทางเดินอาหารและน้าดี: Cefamandole และ cefoxitin จะเข้าสู่น้าดีได้ดีกว่าตัวอื่น  ติดเชื้อทางสูตินารีเวช เช่น การผ่าตัดคลอดใช้ cefoxitin 17/11/57 34Cephalosporins
  • 35.  รักษาการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ (UTI)  **ใช้ในผู้ที่แพ้ยา penicillins :มีไข้/ ผื่นคัน  cefazolin, cefalexin 17/11/57 35 **แต่ไม่ใช้กับผู้ที่ แพ้ penicillins ชนิดรุนแรง Cephalosporins
  • 36.  รักษา sinusitis, otitis, lower respiratory tract infections  รักษาอาการอักเสบติดเชื้อในช่องท้อง อุ้งเชิงกราน  รักษาแผลติดเชื้อบริเวณเท้า ของผู้ป่วยเบาหวาน 17/11/57 36 Cephalosporins
  • 37.  ออกฤทธิ์ต่อเชื้อ gr + จะต่ากว่า 1st และ 2nd generation โดยเฉพาะ Staphylococci และ Streptococci  ให้ฤทธิ์ต่อ gr -ดีมาก spectrum กว้าง  ให้ฤทธิ์ต่อ P. aeruginosa, Proteus, Enterobacter aerogenes  สามารถผ่าน blood brain barrier (BBB) / ผ่านเข้าน้าไขสันหลังได้  ให้ฤทธิ์เสริมกับยาปฏิชีวนะกลุ่ม aminoglycoside  ไม่เป็นพิษต่อไต 17/11/57 37 Cephalosporins
  • 38.  Cefotaxime (claforan) ®, **ceftriaxone, cefdinir (omnicef )®  Cefotaxime (claforan) IV1-2 g q 6-12 h  Ceftriaxone (cef-3) IV 1-2 g q 6-12 h  Cefoperazone IV 2-4g q 12 h  Ceftazidime (fortum, cef-4) IV 1 g q 8-12 h Cephalosporins 17/11/57 38 ceftazidime
  • 39.  รักษาเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitis) จากเชื้อ gr- *** ถ้าเคยใช้ยากลุ่ม penicillin ไม่ได้ผล การใช้ยากลุ่มนี้จะไม่ได้ผลเช่นเดียวกัน***  โรคติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลางที่เกิดจากแบคทีเรีย gr- โดยเฉพาะในเด็กแรกเกิด เช่น cefdinir (omnicef )®  รักษาการติดเชื้อโรคหนองใน และแผลริมอ่อน อาจเลือกใช้ยาเป็นยา รักษาตัวแรก เช่น ceftriaxone และ Cefotaxime Cephalosporins 17/11/57 39
  • 40.  การติดเชื้อในโรงพยาบาลที่เกิดจากเชื้อที่ดื้อต่อ cephalosporins 2 กลุ่มแรกและ aminoglycosides  ใช้สาหรับการติดเชื้อ penicillin resistant s. pneumonia (PRSR)  cefotaxime  empiric therapy สาหรับ nosocomia infection cefoperazone sodium+sulbactam sodium sulperazone  specific therapy สาหรับเชื้อ Acinetobacter  sulperazone 17/11/57 40 Cephalosporins
  • 41.  spectrum ในการฆ่าเชื้อกว้างกว่า 3rd generation  ฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ gr + สูงกว่า 3rd generation  ทนต่อเอนไซม์ bata-lactamase ได้ดี ยาในกลุ่มนี้สามารถ ผ่านเข้าไปสู่ cerebrospinal fluid  ให้ฤทธิ์ฆ่าเชื้อ Enterobacteriaceae, Enterococci และ gr- สูง ให้ฤทธิ์ดีต่อ Pseudomonas aeruginosa  ไม่เป็นพิษต่อไต 17/11/57 41 Cephalosporins
  • 42.  Cepirome และ cefepime  Cefepime IV 1-2g q 12h cefepime 17/11/57 42 Cephalosporins
  • 43.  รักษาโรคติดเชื้อได้เช่นเดียวกับ third Generation  ใช้เป็น empirical treatment ใน nosocromal infection ที่ดื้อต่อ extended-spectrum penicillin  ใช้เป็น drug of choice ใน meningitis  Skin infection  Septicemia  Urinary tract infection Cephalosporins 17/11/57 43
  • 44.  อาจเกิดการแพ้ยา เช่น มีไข้ ผื่นคัน  อาจมีอาการรุนแรงถึง anaphylactic shock  อาการที่พบบ่อยคือ ท้องเสีย คลื่นไส้ pseudomembranous colitis  อาจพบภาวะไตอักเสบ (nephritis)  เม็ดเลือดขาวต่า (granulocytopenia)  ภาวะซีดจากเม็ดเลือดแดงแตก (hemolytic anemia) Cephalosporins 17/11/57 44
  • 45.  การกดไขกระดูก เมื่อใช้ยา cefamandole, moxalactam, cefoperazone  ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง พบปวดศีรษะ วิงเวียน มึนงง เมื่อยล้า (disulfiram like effect ) เมื่อใช้ยา cefamandole, moxalactam และ cefoperazone  การติดเชื้อแทรกซ้อน โดยเฉพาะเชื้อรา candida และ pseudomonas เพิ่มกว่าปกติ 17/11/57 45 Cephalosporins
  • 46.  การให้ยาทาง IM ทาให้ปวดบริเวณที่ฉีดได้  การให้ยาทาง IV อาจทาให้เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดา (thrombophlebitis) ****ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่ม cephalosporin ในผู้ป่ วยที่เคยมีประวัติแพ้ยาในกลุ่ม penicillin Cephalosporins 17/11/57 46
  • 47. a) ยากลุ่ม aminoglycoside b) ยากลุ่ม chloramphenical c) ยากลุ่ม tetracycline d) ยากลุ่ม macrolides e) ยากลุ่ม Lincosamide 17/11/57 47
  • 48.  ยังยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย โดยจับกับ bacteria ribosome subunit ซึ่งเป็นบริเวณที่มี การสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย  bacteria ribosome subunit 30 s  bacteria ribosome subunit 50 s 17/11/57 48
  • 49.  gentamycin, streptomycin, neomycin, amikacin, tobramycin, netilmicin  ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรียที่ bacteria ribosome 30 S  เมื่อใช้ในขนาดปกติมีคุณสมบัติเป็น bactericidal  ในขนาดต่ามีคุณสมบัติเป็น bacteriostatic aminoglycoside gentamycin streptomycin neomycin 17/11/57 49
  • 50.  ต้านเชื้อแบคทีเรีย gr-, staphylococci ได้ดี  ยากลุ่มนี้ดูดซึมจากทางเดินอาหารได้น้อย **ฉะนั้นจึงใช้ในรูปแบบฉีด **นอกจากนี้ยังพบว่ามีปริมาณยาที่ renal cortex และ endolymph ของหูชั้นใน **ฉะนั้นจึงมีพิษต่อไต และหูได้ aminoglycoside 17/11/57 50
  • 51.  รักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย gr- รุนแรง เช่น sepsis, pneumonia  รักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ  รักษาการติดเชื้อของผิวหนัง หรือโครงสร้างผิวหนัง  รักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ aminoglycoside 17/11/57 51
  • 52.  รักษาการติดเชื้อของกระดูก เยื่อบุช่องท้องอักเสบ  รักษาวัณโรค streptomycin  รักษาเยื่อหุ้มสมองอักเสบ จาก bacteria gr- โดยการ ฉีดเข้าไขสันหลัง (intrathecal) 1-10 mg/day  amikacin เป็น Broad spectrum มีพิษ รุนแรง จะเก็บไว้ใช้เมื่อจาเป็น ถ้าผู้ป่วยดื้อยานี้จะดื้อยาตัวอื่น ในกลุ่มด้วย aminoglycoside 17/11/57 52
  • 53. aminoglycoside 17/11/57 53  ใช้ร่วมกับ penicillin หรือ vancomycin ในการรักษาการ อักเสบของเนื้อเยื่อบุโพรงหัวใจ  ใช้สาหรับป้องกันการติดเชื้อจากการผ่าตัดลาไส้ใหญ่แบบไม่ฉุกเฉิน เช่น neomycin sulfate
  • 54.  neomycin, kanamycin ,gentamycin sulfate  ส่วนใหญ่ใช้รูปแบบทาภายนอก (topical) เนื่องจากมีความ เป็นพิษต่อหูสูงและ neomycin ยังมีพิษต่อไตสูงด้วย  ใช้ในการรักษาการอักเสบติดเชื้อที่ผิวหนัง เช่น แผลไฟไหม้น้า ร้อนลวก แผลทั่วไป aminoglycoside neomycin 17/11/57 54
  • 55.  พิษต่อไต พบระดับ creatinin สูงขึ้น มักพบในผู้ที่ได้รับยานาน เกิน 3-5 วัน  พิษต่อหู พบหูอื้อ หูตึง วิงเวียน (vertigo) เดินเซ (ataxia) มักเป็นแบบถาวร พบในผู้ที่ได้รับยาเกิน 5 วัน  ยาในขนาดสูงทาให้เกิด neuromuscular blockade พบ กล้ามเนื้ออ่อนแรงโดย ทาให้หายใจลาบาก หยุดหายใจได้ **ระวังการใช้ร่วมกับยาสลบ ยาคลายกล้ามเนื้อ** รักษาโดยใช้ calcium gluconate aminoglycoside 17/11/57 55
  • 56.  bacteriostatic ออกฤทธิ์กว้าง  ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย โดยจับกับ bacteria ribosome 50S. Chloramphenical 17/11/57 56
  • 57.  การรักษาเยื่อบุตาขาวอักเสบ เช่น ยาหยอดตา  การรักษาภาวะหู อักเสบ เช่น ยาหยดหู chloramphenical ear drop  รักษาเยื่อหุ้มสมองอักเสบในผู้ที่แพ้beta lactam หรือใช้ยาอื่นไม่ได้ผล เนื่องจากยาผ่าน BBB ได้ดี  การรักษาTyphoid fever, Scrub typhus  รักษาการติดเชื้อพวก anairobes เช่น เยื่อบุช่องท้องอักเสบ Chloramphenical Scrub typhus 17/11/57 57
  • 58.  ไม่ใช้ร่วมกับยาในกลุ่ม macrolide จะทาให้ประสิทธิภาพของยาไม่ ดีจากการมี site of action ที่เดียวกัน Chloramphenical • ยาฉีด chloramphenical (IV, IV drip) •1gm q 6 hr •ผสมใน sterile water เก็บไว้ได้ 1 สัปดาห์ ที่ 2-8 C •หรือผสมกับสารละลายNSS 50-100 ml drip 30-60 นาที • ยารับประทาน •chloramphenical (250, 500 mg) qid. 17/11/57 58
  • 59.  ระคายเคืองทางเดินอาหาร คลื่นไส้อาเจียน และท้องเสีย  กดการทางานของไขกระดูก พบการสร้าง red blood cell,ลดลง, เกิดภาวะซีด แต่พบได้น้อยมาก  การใช้ยาในทารกอาจทาให้เกิด gray baby syndrome พบตัวซีดเทา ระบบไหลเวียนเลือดส่วนปลายล้มเหลว Chloramphenical คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ตัวสีเขียวคล้าจน คล้ายสีเทา เนื่องจากขาด oxygen 17/11/57 59
  • 60.  Tetracycline, doxyclycline, minoclycline  ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย โดยการยับยั้งการสร้างโปรตีน ของแบคทีเรียโดยจับกับ 30S ribosome Tetracycline doxyclycline Tetracycline 17/11/57 60
  • 61.  รักษาโรคติดเชื้อ mycoplasma pnuemoniae, chlamydiae (เชื้อที่ทาให้เกิดหนองในเทียม) การติดเชื้อ rickettesiae พวกพยาธิ เชื้อรา  รักษาสิว รักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น syphillis  ใช้ร่วมกับยาอื่นในการรักษาโรคกระเพาะอาหารอักเสบที่มีสาเหตุจากเชื้อ H. pylori  ใช้ในการรักษาหลอดลมอักเสบรุนแรง ปอดบวม, Leptospirosis 17/11/57 61 Tetracycline
  • 62.  ระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้อาเจียน และท้องเสีย อาการหายได้ เมื่อหยุดยา  **มีผลต่อกระดูกและฟัน พบการเจริญของฟันผิดปกติแบบ ถาวร ฟันเหลือง การเจริญของกระดูกผิดปกติ  นอกจากนี้อาจมีอาการแพ้แสง ความเป็นพิษต่อตับและไต  doxycycline และ minocycline ทาให้เกิดอาการวิงเวียน มึนงง ***ห้ามใช้ยาในเด็กอายุต่ากว่า 8 ปี ***ไม่ควรใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 17/11/57 62 Tetracycline
  • 63.  รับประทานยา ในขณะที่ท้องว่าง หรือ2 ชม. หลังรับประทานยาลดกรด ยา บารุงเลือดที่มีธาตุเหล็ก นม เพราะการรับประทานร่วมกันมีผลลดการดูดซึมยา  สังเกตจากสีผงที่กลายเป็นสีเหลืองคล้า หรือสีน้าตาล เพราะเป็นพิษต่อไตจาก ยาเสื่อมคุณภาพ แนะนาให้เก็บยาในที่ทึบแสง อุณหภูมิไม่สูงเกินไป  อาจทาให้เกิดอาการแพ้แสง ควรแนะนาให้ผู้ป่วยทาครีมกันแดด กางร่วม สวมหมวก และเสื้อแขนยาวหากต้องออกไปกลางแจ้ง  ในหญิงไม่ควรใช้ยาคุมกาเนิดร่วมกับยา tetracycline เนื่องจากทาให้ ประสิทธิภาพในการคุมกาเนิดลดลง 17/11/57 63 Tetracycline
  • 64.  erythromycin, clarithromycin, roxithromycin, ketolode  ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรียที่ bacteria ribosome 50S. erythromycin clarithromycin roxithromycin 17/11/57 64 Macrolides
  • 65.  รักษา โรคคอตีบ โรคไอกรน การติดเชื้อในกระแสเลือด การอักเสบ บริเวณขาหนีบและรักแร้  รักษาการติดเชื้อของทางเดินหายใจ ในกรณีที่ใช้ยาอื่นไม่ได้หรือไม่ ได้ผล เช่น clarithromycin, roxithromycin  ใช้ป้องกันการติดเชื้อ mycobacterium avium complex (MAC) ในผู้ป่วย AIDS เช่น azithromycin 17/11/57 65 Macrolides
  • 66.  เบื่ออาหาร (anorexia) คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย  ตับอักเสบ มีไข้ ตัวตาเหลือง  เมื่อใช้ erythromycin ร่วมกับ theophylline ทา ให้ระดับ theophylline เพิ่มขึ้นเป็นอันตรายได้  IM ยาจะระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อบริเวณที่ฉีดยา ทาให้เกิด อาการปวดหลังฉีดยา  IV อาจทาให้หลอดเลือดอักเสบ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย 17/11/57 66 Macrolides
  • 67.  Lincomycin, clindamycin  ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย ที่ bacteria ribosome 50S  ใช้ต้านแบคทีเรีย gr+ Lincomycin clindamycin 17/11/57 67 Lincosamide
  • 68.  รักษา/ป้องกันการติดเชื้อของแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง  รักษาการติดเชื้อในระบบสืบพันธ์ในหญิง อาจใช้ร่วมกับ aminoglycoside  ใช้รักษาสิว เช่น Clindamycin  ใช้แทนการรักษาด้วย erythromycinในการรักษา endocarditis  ใช้เป็นยาแทน ในการป้องกันหรือรักษาปอดอักเสบจากเชื้อในผู้ป่วยเอดส์  ใช้ Clindamycin +Primaquine รักษาปอดอักเสบจากเชื้อ Pneumocystic jiroveci 17/11/57 68 Lincosamide
  • 69.  อาการที่พบบ่อย : ท้องเสีย คลื่นไส้ผื่นคัน หากผู้ป่วยเกิด diarrhia>>> ควรหยุดยาทันที  ผู้ป่วยที่ดื้อต่อ erythomycin จะดื้อต่อ Clindamycin ด้วย  ควรประเมินการทางานของตับ และไตเมื่อใช้ยากลุ่มนี้ในระยะยาว 17/11/57 69 Lincosamide
  • 70. a) ยากลุ่ม quinolone b) ยากลุ่ม nitronidazoles  มีฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง DNA gyrase ซึ่งเป็น เอนไซม์ที่จาเป็นสาหรับ DNA replication ของแบคทีเรีย  Bactericidal 17/11/57 70
  • 71.  Norfloxacin, ofloxacin, ciprofloxacin, levofolxacin  Norfloxacin 400 mg bid 1 ชั่วโมง ก่อนอาหารหรือ 2 ชั่วโมงหลังอาหาร  Ofloxacin 200-600mg ต่อวัน แบ่งให้ 1-3 ครั้ง Norfloxacin ofloxacinciprofloxacin17/11/57 71 Quinolone
  • 72.  รักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบสืบพันธุ์  ต่อมลูกหมากอักเสบ  รักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร เช่น norfloxacin ใช้รักษาท้องเสียหรือท้องเดินจากการติด เชื้อได้ดี ยาถูกดูดซึมได้น้อยจึงเหลือยาในทางเดินอาหารมาก  รักษาการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ  norfloxacin 400 mg bid 1 ชั่วโมง ก่อนอาหารหรือ 2 ชั่วโมงหลัง อาหาร 17/11/57 72 Quinolone
  • 73.  คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ผื่นคัน แพ้แสง ปวดข้อ เอ็นอักเสบ  อาจพบอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ มึนงง นอนไม่หลับ สับสน ชัก ยาที่ทาให้ชักมากที่สุดคือ ciprofloxacin> norfloxacin > lomefloxacin  หลีกเลี่ยงการใช้ในผู้ป่วยโรคไต 17/11/57 73 Quinolone
  • 74.  ไม่ควรใช้ร่วมกับยาลดกรด ธาตุเหล็ก เพราะขัดขวางการดูดซึม  ถ้าใช้ร่วมกับยา theophylline จะไปลดการขับ theophylline ออกจากร่างกาย ทาให้เพิ่มความเป็นพิษของ ยา  ถ้าใช้ร่วมกับยากลุ่ม NSAIDs จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการชักใน คนไข้ลมชัก  ไม่ควรใช้ยากลุ่มนี้ในหญิงตั้งครรภ์หรือเด็ก เนื่องจากอาจกดการ เจริญเติบโตของกระดูกข้อต่อ 17/11/57 74 Quinolone
  • 75.  กลไกการออกฤทธิ์ยังไม่ทราบแน่ชัด เชื่อว่าเกิดจากการออกฤทธิ์ทาลาย DNA ของแบคทีเรียโดยตรง  metronidazole, tinidazole  PO metronidazole 250 mg tid pc เป็นเวลา 7 วัน metronidazole tinidazole 17/11/57 75 Nitronidazoles
  • 76.  เป็นยาฆ่าเชื้อบิดทั้ง intestinalและ extra intestinal sites ปัจจุบันนิยมใช้กับ asymptomatic intestinal amoebiasis โดยอาจใช้ตัวเดียวหรือใช้ร่วมกับยาอื่น 17/11/57 76 Nitronidazoles
  • 77.  คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย ปวดศีรษะ วิงเวียน  กรณีดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ระหว่างการใช้ยาอาจพบ disulfiram like reaction (หน้าแดง อาเจียน หัว ใจเต้นเร็ว หายใจถี่ ความดันโลหิตลด)  ถ้าพบอาการชาและแขนขาไม่มีแรง ก็ควรหยุดยาทันมี 17/11/57 77 Nitronidazoles
  • 78. a) ยากลุ่ม sulfonamide b) ยากลุ่ม trimethoprim  รบกวน metabolism ที่สาคัญในการสังเคราะห์ DNA และ RNA ของแบคทีเรีย  ยากลุ่มนี้มีคุณสมบัติเป็น bactericidal 17/11/57 78
  • 79.  Sulfamethoxazole ,Sulfadiazine, sulfisoxazole,, sulfanilamide Sulfadiazine sulfisoxazole sulfamethoxazole 17/11/57 79
  • 80.  Trimethoprim 100 mg q 12 hr หรือรับประทาน 200 mg OD นาน 10 วัน 17/11/57 80
  • 82.  Sulfisoxazole 500 mg ใช้ 4 g ในครั้งแรก หลังจากนั้นให้ 1g q 6 hr  Sulfamethoxazole 500 mg ใช้2 g ในครั้งแรก หลังจากนั้นให้ 1g q 8-12 hr.  Trimthoprim 100 mg q 12 hr , 200 mg OD นาน 10 วัน  Cotrimoxazole: Sulfamethoxazole 400 (800) mg+trimethoprim 80 (160) mg 2tab bid pc. 17/11/57 82
  • 83.  ใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ (UTI)>> ยากลุ่ม sulfonamide และ cotrimoxazole  ใช้ทาเพื่อป้องกันการติดเชื้อแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก (burn) เช่น 1% silver sulfadiazineและ mafenide  ใช้ในการรักษาต่อมลูกหมากอักเสบ (Prostatitis)>>cotrimoxazole 17/11/57 83
  • 84.  ใช้ป้องกัน/ รักษาปอดอักเสบจากเชื้อ pneumocystis carinii ในผู้ป่วยติดเชื้อ HIV>>cotrimoxazole และยากลุ่ม sulfonamide  อาจใช้ในการรักษาอาการท้องเสียในกลุ่มนักเดินทาง >>cotrimoxazole  รักษาเชื้อ Toxoplasmosis >>cotrimoxazole 17/11/57 84
  • 85.  ปฏิกิริยาการแพ้ยา จะเกิดผื่นคันและลมพิษ บางครั้งผื่นจะเกิดทั่วตัว ยกเว้นหนังศีรษะ ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ถ้าอาการรุนแรงจะมีไข้ร่วมด้วย  ระบบโลหิต ยาจะกดไขกระดูกทาให้เม็ดเลือดลดลง ในผู้ป่วยที่ขาด เอ็นไซม์ G-6PD ควรระวังการใช้ยาเพราะอาจทาให้เกิดเม็ดเลือด แดงแตกเฉียบพลัน  เป็นพิษต่อไต เนื่องจากยาละลายน้าได้น้อยจะตกตะกอนในไต อุดตัน ท่อปัสสาวะทาให้ปัสสาวะไม่ออก ควรแนะนาให้ผู้ป่วยดื่มน้ามากๆ เพื่อ ป้องกันการเกิดนิ่วในไต 17/11/57 85
  • 86.  เป็นพิษต่อตับ ทาให้ตับอักเสบเฉพาะที่ หรือกระจายทั่ว  อาการที่พบได้แก่ ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน มีไข้ ดีซ่าน ตับโต จะมีอาการหลังจากได้รับยา 3-5 วัน  การให้ยาในหญิงตั้งครรภ์ (3 เดือนก่อนคลอด) อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อ การเกิด kernicterus ในทารก  ควรระวังในผู้ที่แพ้ยากลุ่ม sulfonamide อาจทาให้เกิด hematologic abnormalities 17/11/57 86
  • 87.  Penicillin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ สังเคราะห์ผนังเซลล์  Cloxacillin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ สังเคราะห์ผนังเซลล์  Ampicillin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ สังเคราะห์ผนังเซลล์  Amoxicillin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ สังเคราะห์ผนังเซลล์ 17/11/57 87
  • 88.  Ceftriaxone ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ สังเคราะห์ผนังเซลล์  Cefotaxime ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ สังเคราะห์ผนังเซลล์  Ceftazidime ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ สังเคราะห์ผนังเซลล์  Gentamycin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ สังเคราะห์โปรตีน 17/11/57 88
  • 89.  Chloramphenical ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ สังเคราะห์โปรตีน  Clindamycin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ สังเคราะห์โปรตีน  Streptomycin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ สังเคราะห์โปรตีน  Norfloxacin ยาต้านเชื้อแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ แบ่งตัวของ DNA 17/11/57 89
  • 91. การประเมินภาวะสุขภาพ  ซักประวัติ: ประวัติเกี่ยวกับการติดเชื้อในร่างกาย การใช้ยาปฏิชีวนะ ซักถามการได้รับผลข้างเคียงจากยา การแพ้ยา โรคประจาตัว การใช้ยาชนิดใดเป็นประจา พฤติกรรมการดาเนินชีวิตประจาวัน การรับประทานอาการ การทางาน การ พักผ่อน การขับถ่าย เป็นต้น  ตรวจร่างกาย: ตรวจร่างการระบบที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ ตรวจรอยโรคบริเวณที่ติด เชื้อ  การตรวจพิเศษ: และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC hemoculture (H/C), sputum culture, pus culture ,UA, UC, CXR 17/11/57 91
  • 92.  การวางแผนการพยาบาล  จากข้อมูลที่ประเมินได้ นามากาหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล วัตถุประสงค์ เกณฑ์การ ประเมิน และแผนการพยาบาล  ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล เสี่ยงต่อการการได้ยินลดลงเนื่องจากได้รับยา gentamycin ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการคลื่นไส้อาเจียน เนื่องจากได้รับ ผลข้างเคียงจากการ ceftriaxone ถ่ายเหลว เนื่องจากได้รับผลข้างเคียงจากการได้รับยา tetracycline พร่องความรู้เกี่ยวกับการรับประทานยาปฏิชีวนะเมื่อกลับไปอยู่บ้าน 17/11/57 92
  • 93. การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาปฏิชีวนะ  ประเมินภาวะสุขภาพก่อนให้ยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะประวัติการแพ้ยา  ซักถามอาการข้างเคียงจากการได้รับยาปฏิชีวนะ  ให้ยาโดยคานึงถึงหลัก 6 right ทุกครั้งที่ให้ยา ยาฉีด  ควรระวังการเกิดหลอดเลือดดาอักเสบ โดยเฉพาะยาที่ระคายเคืองต่อหลอด เลือด Cloxacillin 1 g ควรเจือจางยา ใน NSS 100 ml drip in 1h Gentamycin >150 mg ควรเจือจางยา ใน NSS or D5W 100 drip in 30 min  ยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ควรฉีดที่กล้ามเนื้อมัดใหญ่และคลึงเพื่อบรรเทาอาการปวด และไม่ควรฉีดซ้าบริเวณเดิม  หลังฉีดยาควรสังเกตอาการอย่างน้อย 30 นาที เพื่อดูอาการแพ้17/11/57 93
  • 94. ยารับประทาน  ควรรับประทานตามคาแนะนาอย่างเคร่งครัด ให้ครบตามแพทย์สั่ง ไม่ควรหยุดยาเอง  ควรศึกษาวิธีการรับประทานยา ข้อห้ามใช้ให้ชัดเจนก่อนใช้ยา  เมื่อใช้ยาปฏิชีวนะพร้อมยาคุมกาเนิด จะทาให้ยาคุมกาเนิดลดประสิทธิภาพลง  สังเกตและประเมินอาการข้างเคียงของยาแต่ละชนิด (ดูผลข้างเคียงของยาแต่ ละชนิดตามรายละเอียดข้างต้น )  ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับยาที่ใช้อยู่ วิธีใช้ อาการข้างเคียง ข้อควร ระวัง ผลการรักษา เพื่อจะได้ปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อใช้ยาเองที่บ้าน 17/11/57 94
  • 95. ข้อควรระวังเมื่อได้รับยา กลุ่มต่างๆ  ยากลุ่ม Penicillins ระวังการแพ้ยาอย่างรุนแรง ห้ามรับประทานร่วมกับน้าส้ม เครื่องดื่มที่มีคาร์บอร์เนต ทาให้ยาสลายตัว ชนิดรับประทาน ให้รับประทานก่อนอาหาร 1-2 ชม.ยกเว้น amocycillin  ยากลุ่ม cephalosporins ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ penicillin อาจมีการแพ้ข้ามกลุ่มได้ ผู้ป่วยโรคไต หากได้รับยานี้ขนาดสูง ทาให้ชักได้ ถ้าจาเป็นต้องรับประทานยาลดกรด ควรรับประทานห่างกันอย่างน้อย 2 ชั่วโมง หลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกับยาขับปัสสาวะ เช่น furosemide เพราะเพิ่มความเป็นพิษต่อไต 17/11/57 95
  • 96. Tetracyclin  พบอาการคลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลวได้บ่อย  กระดูก และฟันเจริญผิดปกติ ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 8 ปี  ไม่ใช้ร่วมกับยากลุ่ม penicillin เพราะต้านฤทธิ์กัน  ไม่รับประทานพร้อมยาลดกรด ยาบารุงเลือด เพราะขัดขวางการดูดซึม  ห้ามใช้ยา tetracycline ที่เสื่อมคุณภาพ เพราะเป็นพิษต่อไต แนะนาให้เก็บยาในที่ทึบ แสง อุณหภูมิไม่สูงเกินไป ผู้ใช้อาจทาให้เกิดอาการแพ้แสง Aminoglycoside  ตรวจการได้ยิน และการทรงตัว เพราะยามีพิษต่อหู  ติดตามการทางานของไต ดูผล BUN Cr กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ามากๆ ระหว่างได้รับยา chloramphenicol  กดการทางานของไขกระดูก ในทารกอาจเกิด gray baby syndrome  แนะนาให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการขับขี่ หรือทางานกับเครื่องจักรกล17/11/57 96
  • 97. Sulfonamide  แนะนาให้ผู้ป่ วยดื่มน้ามากๆ เพื่อป้ องกันการเกิด crystalluria และนิ่วในไต  อาจทาให้เกิดอาการแพ้แสง ควรแนะนาให้ผู้ป่ วยทาครีมกันแดด 17/11/57 97
  • 98. การประเมินผล  การดูประสิทธิภาพของการรักษา การรุกลามของโรค หลังจากการใช้ยา  การสังเกตอาการข้างเคียง อาการแทรกซ้อนจากการใช้ยา  ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ เช่น ระดับยาในเลือด CBC, LFT, profile, BUN, Cr  ควรประเมินการเกิดการติดเชื้อซ้า (Super-infection) ในกรณีที่ ได้รับยาในขนาดสูง หรือได้รับยาเป็นระยะเวลานาน 17/11/57 98