SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

           แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
                       ปีการศึกษา 2555

        ชื่อโครงงาน ดนตรีพื้นบ้านล้านนาสู่อาเซียน




                      ชื่อผู้ทาโ ครงงาน
       นายเจษฎา ปัญญาฟู ชั้น ม.6/3 เลขที่ 14
       นายฐิติพันธุ์ แก้วดี        ชั้น ม.6/3 เลขที่ 20
       นายธนพงษ์ เกียรติสัจจา ชั้น ม.6/3 เลขที่ 26

   ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์




    ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2555

        โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
      สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
                         การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์

   สมาชิกในกลุ่ม
   1.นายเจษฎา ปัญญาฟู ชั้น ม.6/3 เลขที่ 14
   2.นายฐิติพันธุ์ แก้วดี   ชั้น ม.6/3 เลขที่ 20
   3.นายธนพงษ์ เกียรติสัจจา ชั้น ม.6/3 เลขที่ 26



ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย): ดนตรีพื้นบ้านล้านนาสู่อาเซียน
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ): Lanna Music Instruments
ประเภทโครงงาน: โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายเจษฎา ปัญญาฟู ชั้น ม.6/3 เลขที่ 14
                นายฐิตพนธุ์ แก้วดี
                      ิ ั             ชัน ม. 6/3 เลขที่ 20
                                        ้
                นายธนพงษ์ เกียรติสจจา ชัน ม. 6/3 เลขที่ 26
                                   ั      ้

ชื่อที่ปรึกษา  อาจารย์เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2555

ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในเร็วๆนี้จะมีการเปิดประชาคมอาเซียนในปี2558 ซึ่งเป็นการเปิดเสรีในทุกๆด้าน รวมถึงด้าน
วัฒนธรรม ผู้จัดทาได้เห็นว่าดนตรีพื้นบ้านล้านนาเป็นดนตรีที่มีประวัติมายาวนาน ปรากฏใน
ประเพณี วัฒนธรรมต่างๆของภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งสมควรแก่การอนุรักษ์ไว้และ
เผยแพร่ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับผู้คนมากมายในประเทศแถบอาเซียน
วัตถุประสงค์
-     เพื่อเผยแพร่ประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามของภาคเหนือ
-    เพื่อให้ความรู้กับผู้ที่สนใจดนตรีพื้นบ้านล้านา
-    เพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอน

    ขอบเขตโครงงาน
- สามารถให้ความรู้ได้อย่างถูกต้องแก่ผู้อ่าน
- สามารถทาให้เป็นที่สนใจ ทาให้ผู้คนอยากเล่น อยากศึกษาดนตรีพื้นบ้านล้านนา

    หลักการและทฤษฎี

    วิธีดาเนินงาน
            แนวทางการดาเนินงาน
                  1. ปรึกษากาหนดหัวข้อในการทาโครงงาน
                  2. เสนอหัวข้อโครงงาน
                  3. กาหนดแนวทางในการเริ่มทาโครงสร้าง คิดรูปแบบโครงงาน
                  4. รวบรวมเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
                  5. ซื้ออุปกรณ์ในการทาโครงงาน
                  6. จัดทาโครงงาน
                  7. ปรับปรุงแก้ไขโครงงาน
                  8. รายงานและบันทึกผลของการดาเนินงาน
                  9. จัดทาเอกสารโครงงาน
                  10. นาเสนอโครงงาน
ประเทศที่เป็นสมาชิกในอาเซียน

1.บรูไนดารุสซาลาม

2.ราชอาณาจักรกัมพูชา

3.สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

4.สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

5.ประเทศมาเลเซีย

6.สาธารณรัฐฟิลิปปินส์

7.สาธารณรัฐสิงคโปร์

8.ราชอาณาจักรไทย

9.สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

10.สหภาพพม่า
ประวัติความเป็นดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือ

ความเป็นมา
     ดนตรีพื้นบ้านเป็นดนตรีชาวบ้านสร้างสรรค์ขึ้นด้วนการร้องหรือบรรเลงโดยชาวบ้านและชาวบ้าน
ด้วยกันเป็นผู้ฟัง ดนตรีพื้นบ้านมีลักษณะดังนี้
     1.เป็นดนตรีของชาวบ้านส่วนมากเกิดขึ้นและพัฒนาในสังคมเกษตรกรรม มีลักษณะที่ไม่มีระบบ
กฎเกณฑ์ชัดเจนตายตัว ประกอบกับใช้วิธีถ่ายทอดด้วนปากและการจดจา จึงเป็นเหตุให้ไม่มีใครเอาใจใส่
ศึกษาหรือจดบันทึกไว้เป็นหลักฐานดังเช่น ดนตรีสากล
     2.เป็นดนตรีที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น แต่ละท้องถิ่นจะมีดนตรีที่มีสาเนียง ทานอง และจังหวะลีลาของ
ตนเอง ดนตรีพื้นบ้านส่วนใหญ่มีทานองที่ประดิษฐ์ดัดแปลงมาจากทานองของเสียงธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น
ซอของดนตรีภาคเหนือ คือ เพลงจะปุ มีทานองอ่อนหวานตามสาเนียงพูดของคนไทยชาวเมืองจะปุในแคว้น
สิบสองปันนาหรือ ซอล่องน่าน ของจังหวัดน่านมีทานองเหมือนกระแสน้าไหล

ลักษณะการบรรเลง
      ชาวบ้านล้านนาในอดีต มักนิยมใช้เวลาว่างในตอนกลางคืนให้เป็นประโยชน์ โดยเฉพาะผูหญิงสาว  ้
ภารกิจที่เป็นประโยชน์มักจะได้แก่ การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์พืชเพื่อเตรียมไปเพาะปลูกในวันรุ่งขึ้น บางทีก็ “
ไซ้(เลือก)” พืชผลทางการเกษตรที่ผลิตออกมาเพื่อจาหน่าย จึงกลายเป็นจุดศูนย์กลางและการดึงดูดความ
สนใจของหนุ่ม และกลายเป็นศูนย์รวม “นักแอ่วสาว” ทั้งหลายและดนตรีคู่กายชายหนุ่มย่อมนามาใช้ตาม
ความถนัด สันนิฐานว่าคงมีการนัดหมายเพื่อให้มาบรรเลง แนวเดียวกัน จึงเป็นการพัฒนาการขั้นแรกของ
การผสมวงดนตรี กลุ่มนักแอ่วสาวตามลานบ้านประกอบด้วยเครื่องดนตรี เปี๊ยะ สะล้อ ซึง ขลุ่ย ปี่ กลอง
พื้นเมือง (กลองโป่งป้ง) จึงกลายเป็นดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือโดยปริยาย นิยมเรียกตามชนิดของเครื่องดนตรี
ที่นามาผสมเป็นวงว่า “วงสะล้อซอซึง”
สะล้อ หรือ ทะล้อ




    สะล้อหรือ ทะล้อ เป็นเครื่องสายบรรเลงด้วยการสี ใช้คัน ชักอิสระ ตัวสะล้อที่เป็นแหล่งกาเนิด เสียง ทา
ด้วยกะลามะพร้าว ตัดและปิดหน้าด้วยไม้บาง ๆ มีช่องเสียงอยู่ด้านหลัง คันสะล้อทาด้วย ไม้สัก หรือไม้เนื้อ
แข็งอื่น ๆ โดยปกติจะ ยาวประมาณ ๖๐ เซนติเมตร ลูกบิดอยู่ด้านหน้านิยม ทาเป็นสองสาย แต่ที่ทาเป็นสาม
สายก็ มีสาย ทาด้วยลวด (เดิมใช้สายไหมฟั่น ) สะล้อมี ๓ ขนาด คือ สะล้อเล็ก สะล้อกลาง และสะล้อใหญ่ ๓
สาย

                                                 ซึง




              เป็นเครื่องสายชนิดหนึ่ง ใช้บรรเลงด้วยการดีด ทา ด้วยไม้สักหรือไม้เนื้อแข็ง
ขลุ่ย




     ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีดั้งเดิมของไทยชนิดหนึ่ง แต่จะเป็นเครื่องดนตรีที่คนไทยคิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เอง
หรือได้รับอิทธิพลจากชาติอื่นไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัด เพราะชาติอื่นก็มีเครื่องเป่าซึ่งมีลักษณะคล้ายกับ
ขลุ่ยของคนไทยเหมือนกัน เช่น ขลุ่ยของญี่ปุ่นเรียก ซากุฮาชิ ซึ่งใช้เป่าเหมือนกับขลุ่ยไทย ขลุ่ยของอินเดีย
เรียก มุราลี ส่วนของจีนก็มีก็มีขลุ่ยเช่นเดียวกันแต่ใช้เป่าด้านข้างเรียกว่า ฮวยเต็ก ถ้าเป็นแบบที่ใช้เป่าตรง
แบบขลุ่ยไทยจะเรียกว่า โถ่งเซียว แต่จะต่างกันตรงที่ขลุ่ยของจีนไม่มีดาก การเป่าต้องใช้การผิวลมจึงจะเกิด
เสียง
      ปัจจุบันขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีที่มีบทบาทสาคัญ วงดนตรีหลายประเภทจึงขาดขลุ่ยไม่ได้เลยทีเดียว เช่น
วงมโหรี วงเครื่องสายชิดต่างๆ วงปี่พาทย์ไม้นวม วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เป็นต้น
      เอกลักษณ์ที่สาคัญของขลุ่ยไทย คือการทาลายบนเลาขลุ่ยให้เป็นลวดลายต่างๆ ซึ่งการทาลายนั้นอาจมา
จากใช้ความร้อนจากตะกั่วที่หลอมละลาย หรือการลนไฟ เป็นต้น เพื่อให้ขลุ่ยมีความสวยงามมากยิ่งขึ้น เช่น
ลายน้าไหล ลายหกขะเมน ลายหิน ลายกระจับ ลายผ้าปูม ลายดอกจิก เป็นต้น แต่ถ้าผิวของไม้ไผ่ที่นามาทา
ขลุ่ยสวยอยู่แล้วอาจไม่ต้องทาลวดลายก็ได้
ปี่




                 เป็นปี่ลิ้นเดียว ที่ตัวลิ้นทาด้วย โลหะเหมือนลิ้นแคน ตัวปี่ทาด้วยไม้ซาง

                                                 ปี่แน




ปี่แน เป็นปี่ประเภทลิ้นคู่ทาด้วยใบตาล ซึ่งผ่านกรรมวิธี มีรูบังคับเสียง เช่นเดียวกับปี่ใน นิยมบรรเลงในวง
กลองตึ่งนง วงพาทย์เมือง เป็นต้น มี 2 ขนาด ได้แก่ ขนาดเล็กนั้นเรียกว่าแนเล็กโดยมีรูปร่างคล้ายปี่ชวาแต่มี
ขนาดใหญ่กว่าและขนาดใหญ่เรียกว่าแนหลวง มีรูปร่างคล้ายปี่มอญ

                                         พิณเปี๊ยะหรือพิณเพียะ

        พิณเปี๊ยะ หรือ พิณเพียะ หรือบางทีก็เรียกว่า เพียะ หรือเปี๊ยะ กะโหลกทาด้วยกะลามะพร้าว
กลองเต่งถิ้ง




กลองเต่งถิ้ง เป็นกลองสองหน้า ทาด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้แดง หรือไม้ เนื้ออ่อน

                                      ตะหลดปด หรือมะหลดปด




           ตะหลดปด หรือมะหลดปด เป็นกลองสองหน้า ขนาดยาวประมาณ ๑๐๐ เซนติเมตร

                                              กลองตึ่งโนง




            กลองตึ่งโนง เป็นกลอง ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ตัวกลองจะยาว มากขนาด ๓-๔ เมตร
กลองสะบัดชัยโบราณ




กลองสะบัดชัยโบราณ เป็นกลองที่ มีมานานแล้ว นับหลายศตวรรษในสมัยก่อนใช้ ตียามออกศึกสงคราม
เพื่อเป็นสิริมงคล และเป็น ขวัญกาลังใจให้แก่เหล่าทหารหาญในการต่อ สู้ให้ได้ชัยชนะ ทานองที่ใช้ในการตี
กลองสะบัดชัยโบราณมี 3 ทานอง คือ ชัยเภรี, ชัย ดิถี และชนะมาร
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน


ลาดับ           ขั้นตอน                                       สัปดาห์ที่                     ผู้รับผิดชอบ
  ที่                                  1    2         3   4   5 6 7         8   9   10 11
  1     คิดหัวข้อโครงงาน                                                                   สมาชิกกลุ่ม
  2     ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล                                                              เจษฎา
  3     จัดทาโครงร่างงาน                                                                 ธนพงษ์
  4     ปฏิบัติการสร้าง                                                                     สมาชิกกลุ่ม
        โครงงาน                                                        
                                                                      


 5      ปรับปรุงทดสอบ                                                                      เจษฎา,ฐิติพันธุ์
 6      การทาเอกสารรายงาน                                                       
                                                                                            ฐิติพันธุ์
 7      ประเมินผลงาน                                                                    สมาชิกกลุ่ม
 8      นาเสนอโครงงาน                                                                       สมาชิ
                                                                                              กกลุ่ม


            ผลที่คาดว่าจะได้รับ
        - รู้จักเครื่องดนตรีพื้นบ้านล้านนาแต่ละชนิด
        - สามารถเผยแพร่ประเพณี วัฒนธรรม ดนตรี พื้นบ้านล้านนาได้
        -ใช้เป็นความรู้เมื่อมีการเปิดประชาคมอาเซียน

           สถานที่ดาเนินการ
        -โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่

            กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
        - กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
        - กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
แหล่งอ้างอิง
http://www.kwksch.ac.th/art/dontreetai1.html
(วันที่สืบค้นข้อมูล 14 กุมภาพันธ์ 2556)

http://www.asean.org/
(วันที่สืบค้นข้อมูล 14 กุมภาพันธ์ 2556)

http://suzasunarat.wordpress.com/2012/01/04/%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%
E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%
B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8
%99/
(วันที่สืบค้นข้อมูล 14 กุมภาพันธ์ 2556)

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E
0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%A2
(วันที่สืบค้นข้อมูล 14 กุมภาพันธ์ 2556)

More Related Content

What's hot

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้Theyok Tanya
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยPiyarerk Bunkoson
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่ครูอ้อ วิรยา
 

What's hot (18)

โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
 
หน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 

Similar to Com (1)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Fangky's Chutintorn
 
แบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงาน
แบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงานแบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงาน
แบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงานfahham
 
Projectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sProjectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sTheyok Tanya
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
โครงการลูกเสือ 50
โครงการลูกเสือ 50โครงการลูกเสือ 50
โครงการลูกเสือ 50Dmath Danai
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Pang' Infinity
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์290840829041912
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมWannakan Kkap
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52Dmath Danai
 

Similar to Com (1) (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงาน
แบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงานแบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงาน
แบบฟอร มเข ยนโครงร_างโครงงาน
 
Projectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sProjectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom's
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
โครงการลูกเสือ 50
โครงการลูกเสือ 50โครงการลูกเสือ 50
โครงการลูกเสือ 50
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 

Com (1)

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2555 ชื่อโครงงาน ดนตรีพื้นบ้านล้านนาสู่อาเซียน ชื่อผู้ทาโ ครงงาน นายเจษฎา ปัญญาฟู ชั้น ม.6/3 เลขที่ 14 นายฐิติพันธุ์ แก้วดี ชั้น ม.6/3 เลขที่ 20 นายธนพงษ์ เกียรติสัจจา ชั้น ม.6/3 เลขที่ 26 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายเจษฎา ปัญญาฟู ชั้น ม.6/3 เลขที่ 14 2.นายฐิติพันธุ์ แก้วดี ชั้น ม.6/3 เลขที่ 20 3.นายธนพงษ์ เกียรติสัจจา ชั้น ม.6/3 เลขที่ 26 ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย): ดนตรีพื้นบ้านล้านนาสู่อาเซียน ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ): Lanna Music Instruments ประเภทโครงงาน: โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายเจษฎา ปัญญาฟู ชั้น ม.6/3 เลขที่ 14 นายฐิตพนธุ์ แก้วดี ิ ั ชัน ม. 6/3 เลขที่ 20 ้ นายธนพงษ์ เกียรติสจจา ชัน ม. 6/3 เลขที่ 26 ั ้ ชื่อที่ปรึกษา อาจารย์เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2555 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในเร็วๆนี้จะมีการเปิดประชาคมอาเซียนในปี2558 ซึ่งเป็นการเปิดเสรีในทุกๆด้าน รวมถึงด้าน วัฒนธรรม ผู้จัดทาได้เห็นว่าดนตรีพื้นบ้านล้านนาเป็นดนตรีที่มีประวัติมายาวนาน ปรากฏใน ประเพณี วัฒนธรรมต่างๆของภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งสมควรแก่การอนุรักษ์ไว้และ เผยแพร่ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับผู้คนมากมายในประเทศแถบอาเซียน
  • 3. วัตถุประสงค์ - เพื่อเผยแพร่ประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามของภาคเหนือ - เพื่อให้ความรู้กับผู้ที่สนใจดนตรีพื้นบ้านล้านา - เพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอน ขอบเขตโครงงาน - สามารถให้ความรู้ได้อย่างถูกต้องแก่ผู้อ่าน - สามารถทาให้เป็นที่สนใจ ทาให้ผู้คนอยากเล่น อยากศึกษาดนตรีพื้นบ้านล้านนา หลักการและทฤษฎี วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ปรึกษากาหนดหัวข้อในการทาโครงงาน 2. เสนอหัวข้อโครงงาน 3. กาหนดแนวทางในการเริ่มทาโครงสร้าง คิดรูปแบบโครงงาน 4. รวบรวมเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 5. ซื้ออุปกรณ์ในการทาโครงงาน 6. จัดทาโครงงาน 7. ปรับปรุงแก้ไขโครงงาน 8. รายงานและบันทึกผลของการดาเนินงาน 9. จัดทาเอกสารโครงงาน 10. นาเสนอโครงงาน
  • 5. ประวัติความเป็นดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือ ความเป็นมา ดนตรีพื้นบ้านเป็นดนตรีชาวบ้านสร้างสรรค์ขึ้นด้วนการร้องหรือบรรเลงโดยชาวบ้านและชาวบ้าน ด้วยกันเป็นผู้ฟัง ดนตรีพื้นบ้านมีลักษณะดังนี้ 1.เป็นดนตรีของชาวบ้านส่วนมากเกิดขึ้นและพัฒนาในสังคมเกษตรกรรม มีลักษณะที่ไม่มีระบบ กฎเกณฑ์ชัดเจนตายตัว ประกอบกับใช้วิธีถ่ายทอดด้วนปากและการจดจา จึงเป็นเหตุให้ไม่มีใครเอาใจใส่ ศึกษาหรือจดบันทึกไว้เป็นหลักฐานดังเช่น ดนตรีสากล 2.เป็นดนตรีที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น แต่ละท้องถิ่นจะมีดนตรีที่มีสาเนียง ทานอง และจังหวะลีลาของ ตนเอง ดนตรีพื้นบ้านส่วนใหญ่มีทานองที่ประดิษฐ์ดัดแปลงมาจากทานองของเสียงธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น ซอของดนตรีภาคเหนือ คือ เพลงจะปุ มีทานองอ่อนหวานตามสาเนียงพูดของคนไทยชาวเมืองจะปุในแคว้น สิบสองปันนาหรือ ซอล่องน่าน ของจังหวัดน่านมีทานองเหมือนกระแสน้าไหล ลักษณะการบรรเลง ชาวบ้านล้านนาในอดีต มักนิยมใช้เวลาว่างในตอนกลางคืนให้เป็นประโยชน์ โดยเฉพาะผูหญิงสาว ้ ภารกิจที่เป็นประโยชน์มักจะได้แก่ การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์พืชเพื่อเตรียมไปเพาะปลูกในวันรุ่งขึ้น บางทีก็ “ ไซ้(เลือก)” พืชผลทางการเกษตรที่ผลิตออกมาเพื่อจาหน่าย จึงกลายเป็นจุดศูนย์กลางและการดึงดูดความ สนใจของหนุ่ม และกลายเป็นศูนย์รวม “นักแอ่วสาว” ทั้งหลายและดนตรีคู่กายชายหนุ่มย่อมนามาใช้ตาม ความถนัด สันนิฐานว่าคงมีการนัดหมายเพื่อให้มาบรรเลง แนวเดียวกัน จึงเป็นการพัฒนาการขั้นแรกของ การผสมวงดนตรี กลุ่มนักแอ่วสาวตามลานบ้านประกอบด้วยเครื่องดนตรี เปี๊ยะ สะล้อ ซึง ขลุ่ย ปี่ กลอง พื้นเมือง (กลองโป่งป้ง) จึงกลายเป็นดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือโดยปริยาย นิยมเรียกตามชนิดของเครื่องดนตรี ที่นามาผสมเป็นวงว่า “วงสะล้อซอซึง”
  • 6. สะล้อ หรือ ทะล้อ สะล้อหรือ ทะล้อ เป็นเครื่องสายบรรเลงด้วยการสี ใช้คัน ชักอิสระ ตัวสะล้อที่เป็นแหล่งกาเนิด เสียง ทา ด้วยกะลามะพร้าว ตัดและปิดหน้าด้วยไม้บาง ๆ มีช่องเสียงอยู่ด้านหลัง คันสะล้อทาด้วย ไม้สัก หรือไม้เนื้อ แข็งอื่น ๆ โดยปกติจะ ยาวประมาณ ๖๐ เซนติเมตร ลูกบิดอยู่ด้านหน้านิยม ทาเป็นสองสาย แต่ที่ทาเป็นสาม สายก็ มีสาย ทาด้วยลวด (เดิมใช้สายไหมฟั่น ) สะล้อมี ๓ ขนาด คือ สะล้อเล็ก สะล้อกลาง และสะล้อใหญ่ ๓ สาย ซึง เป็นเครื่องสายชนิดหนึ่ง ใช้บรรเลงด้วยการดีด ทา ด้วยไม้สักหรือไม้เนื้อแข็ง
  • 7. ขลุ่ย ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีดั้งเดิมของไทยชนิดหนึ่ง แต่จะเป็นเครื่องดนตรีที่คนไทยคิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เอง หรือได้รับอิทธิพลจากชาติอื่นไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัด เพราะชาติอื่นก็มีเครื่องเป่าซึ่งมีลักษณะคล้ายกับ ขลุ่ยของคนไทยเหมือนกัน เช่น ขลุ่ยของญี่ปุ่นเรียก ซากุฮาชิ ซึ่งใช้เป่าเหมือนกับขลุ่ยไทย ขลุ่ยของอินเดีย เรียก มุราลี ส่วนของจีนก็มีก็มีขลุ่ยเช่นเดียวกันแต่ใช้เป่าด้านข้างเรียกว่า ฮวยเต็ก ถ้าเป็นแบบที่ใช้เป่าตรง แบบขลุ่ยไทยจะเรียกว่า โถ่งเซียว แต่จะต่างกันตรงที่ขลุ่ยของจีนไม่มีดาก การเป่าต้องใช้การผิวลมจึงจะเกิด เสียง ปัจจุบันขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีที่มีบทบาทสาคัญ วงดนตรีหลายประเภทจึงขาดขลุ่ยไม่ได้เลยทีเดียว เช่น วงมโหรี วงเครื่องสายชิดต่างๆ วงปี่พาทย์ไม้นวม วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เป็นต้น เอกลักษณ์ที่สาคัญของขลุ่ยไทย คือการทาลายบนเลาขลุ่ยให้เป็นลวดลายต่างๆ ซึ่งการทาลายนั้นอาจมา จากใช้ความร้อนจากตะกั่วที่หลอมละลาย หรือการลนไฟ เป็นต้น เพื่อให้ขลุ่ยมีความสวยงามมากยิ่งขึ้น เช่น ลายน้าไหล ลายหกขะเมน ลายหิน ลายกระจับ ลายผ้าปูม ลายดอกจิก เป็นต้น แต่ถ้าผิวของไม้ไผ่ที่นามาทา ขลุ่ยสวยอยู่แล้วอาจไม่ต้องทาลวดลายก็ได้
  • 8. ปี่ เป็นปี่ลิ้นเดียว ที่ตัวลิ้นทาด้วย โลหะเหมือนลิ้นแคน ตัวปี่ทาด้วยไม้ซาง ปี่แน ปี่แน เป็นปี่ประเภทลิ้นคู่ทาด้วยใบตาล ซึ่งผ่านกรรมวิธี มีรูบังคับเสียง เช่นเดียวกับปี่ใน นิยมบรรเลงในวง กลองตึ่งนง วงพาทย์เมือง เป็นต้น มี 2 ขนาด ได้แก่ ขนาดเล็กนั้นเรียกว่าแนเล็กโดยมีรูปร่างคล้ายปี่ชวาแต่มี ขนาดใหญ่กว่าและขนาดใหญ่เรียกว่าแนหลวง มีรูปร่างคล้ายปี่มอญ พิณเปี๊ยะหรือพิณเพียะ พิณเปี๊ยะ หรือ พิณเพียะ หรือบางทีก็เรียกว่า เพียะ หรือเปี๊ยะ กะโหลกทาด้วยกะลามะพร้าว
  • 9. กลองเต่งถิ้ง กลองเต่งถิ้ง เป็นกลองสองหน้า ทาด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้แดง หรือไม้ เนื้ออ่อน ตะหลดปด หรือมะหลดปด ตะหลดปด หรือมะหลดปด เป็นกลองสองหน้า ขนาดยาวประมาณ ๑๐๐ เซนติเมตร กลองตึ่งโนง กลองตึ่งโนง เป็นกลอง ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ตัวกลองจะยาว มากขนาด ๓-๔ เมตร
  • 10. กลองสะบัดชัยโบราณ กลองสะบัดชัยโบราณ เป็นกลองที่ มีมานานแล้ว นับหลายศตวรรษในสมัยก่อนใช้ ตียามออกศึกสงคราม เพื่อเป็นสิริมงคล และเป็น ขวัญกาลังใจให้แก่เหล่าทหารหาญในการต่อ สู้ให้ได้ชัยชนะ ทานองที่ใช้ในการตี กลองสะบัดชัยโบราณมี 3 ทานอง คือ ชัยเภรี, ชัย ดิถี และชนะมาร
  • 11. ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 คิดหัวข้อโครงงาน   สมาชิกกลุ่ม 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล   เจษฎา 3 จัดทาโครงร่างงาน    ธนพงษ์ 4 ปฏิบัติการสร้าง  สมาชิกกลุ่ม โครงงาน      5 ปรับปรุงทดสอบ   เจษฎา,ฐิติพันธุ์ 6 การทาเอกสารรายงาน     ฐิติพันธุ์ 7 ประเมินผลงาน   สมาชิกกลุ่ม 8 นาเสนอโครงงาน  สมาชิ  กกลุ่ม ผลที่คาดว่าจะได้รับ - รู้จักเครื่องดนตรีพื้นบ้านล้านนาแต่ละชนิด - สามารถเผยแพร่ประเพณี วัฒนธรรม ดนตรี พื้นบ้านล้านนาได้ -ใช้เป็นความรู้เมื่อมีการเปิดประชาคมอาเซียน สถานที่ดาเนินการ -โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ - กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
  • 12. แหล่งอ้างอิง http://www.kwksch.ac.th/art/dontreetai1.html (วันที่สืบค้นข้อมูล 14 กุมภาพันธ์ 2556) http://www.asean.org/ (วันที่สืบค้นข้อมูล 14 กุมภาพันธ์ 2556) http://suzasunarat.wordpress.com/2012/01/04/%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5% E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0% B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8 %99/ (วันที่สืบค้นข้อมูล 14 กุมภาพันธ์ 2556) http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E 0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%A2 (วันที่สืบค้นข้อมูล 14 กุมภาพันธ์ 2556)