SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1

           แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 5
                       ปี การศึกษา 2555

            ชื่อโครงงาน โครงสร้ างเซลล์ ของพืช




                   ชื่อผู้ทาโครงงาน
      นางสาวชลทิพย์ สุ วรรณพงษ์ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 6
       นางสาวอรอินท์ โก             ชั้น ม.6/3 เลขที่ 37




   ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์




    ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555




         โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
       สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
                     ้ ่
2

                                                  ใบงาน
                                   การจัดทาข้ อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์

    สมาชิกในกลุ่ม
    1 นางสาวชลทิพย์ สุ วรรณพงษ์ เลขที่ 6
    2 นางสาวอรอินท์ โก           เลขที่ 37

ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) โครงสร้ างของเซลล์พช     ื
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) Plant cells model
ประเภทโครงงาน             วิทยาศาสตร์
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวชลทิพย์ สุ วรรณพงษ์
                 นางสาวอรอินท์ โก
ชื่อทีปรึกษา
       ่         อาจารย์เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรี ยนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555

ทีมาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
  ่
           เหตุผลที่พวกเราคณะผูจดทาได้คิดทาโครงงานนี้ข้ ึนเนื่องจากพวกเราเป็ นนักเรี ยนในแผนการเรี ยนวิทย์-
                                   ้ั
คณิ ต ซึ่ งในการเรี ยนการสอนของพวกเรานั้น จะเน้นวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ เป็ นพิเศษ ซึ่ งเรื่ องเซลล์น้ น
                                                                                                              ั
เป็ นพื้นฐานที่สาคัญในการเรี ยนวิทยาศาสตร์ เมื่อเรามีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องเซลล์ดีแล้ว ก็จะสามารถนา
ความรู ้เรื่ องเซลล์น้ ีไปต่อยอด เพื่อเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์ ในหัวข้ออื่นๆได้ดียงขึ้น
                                                                               ิ่


วัตถุประสงค์
    - เพื่อใช้เป็ นสื่ อในการเรี ยนการสอน
    - เป็ นแนวทางการสอนที่ทาให้มองเห็นภาพชัดเจนมากขึ้น เพื่อง่ายต่อการทาความเข้าใจของ
       นักเรี ยน
    - เพิ่มความน่าสนใจในการสอน เพื่อให้นกเรี ยนสนใจกับการเรี ยนมากขึ้น
                                          ั
3

ขอบเขตโครงงาน
  - สามารถแกะชิ้นส่ วนของโครงสร้างได้
  - มีความแข็งแรง ทนทาน ที่สามารถนามาใช้งานได้หลายครั้ง
  - มีขนาดที่เหมาะสม เก็บได้สะดวก ใช้งานง่าย

หลักการและทฤษฎี
- โครงสร้ างและหน้ าทีของเซลล์
                           ่
          1. ไลโซโซม (Iysosome) เป็ นออร์แกเนลล์ที่พบ เฉพาะในเซลล์สัตว์และโปรติสต์บางชนิด
รู ปร่ างค่อนข้างกลม ทาหน้าที่สะสมเอนไซม์ที่เกี่ยวกับการย่อยสลายสารอินทรี ยต่าง ๆ และทาลาย
                                                                                ์
ของเสี ยภายในเซลล์
                                                       ่ ั
          2. ผนังเซลล์ (Cell Wall) เป็ นผนังแข็งแรงอยูช้ นนอกสุ ดของเซลล์พืชส่ วนใหญ่สร้างจากสาร
เซลโลโลส เป็ นส่ วนที่ไม่มีชีวต ทาให้เซลล์ทนทานและเป็ นเยือที่ยอมให้สารต่าง ๆ ผ่านเข้าและออก
                                   ิ                           ่
จากเซลล์ได้ มีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงและป้ องกันอันตรายให้กบเซลล์ั
          3. ครอโรพลาสต์ (Chlorplast) พบในไซโทรพลาสซึม ของเซลล์พืชบางชนิด มีลกษณะเป็ นั
                                                                         ่
เม็ดสี เขียวมีเยือหุม 2 ชั้น โดยชั้นนอกทาหน้าที่ควบคุมโมเลกุลของสารที่ผานเข้าออกชั้นในมีสารสี
                    ่ ้
เขียวที่เรี ยกว่า ครอโรฟิ ลล์ (Cholorophyll) มีสมบัติดูดพลังงานแสงมาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์
แสง ทาให้พืชสามารถสร้างอาหารได้เอง ซึ่งเซลล์สัตว์ไม่มีครอโรพลาสต์
          4. ไซโตพลาสซึม (Cytoplasm) เป็ นของเหลวที่มีลกษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว ประกอบด้วย
                                                             ั
                                                                                          ั
สารเคมีหลายชนิดรวมทั้งส่ วนที่เป็ นออร์แกเนลล์ (Organelle) เป็ นส่ วนประกอบที่เทียบได้กบอวัยวะ
ที่ทาหน้าที่ต่าง ๆ ให้แก่เซลล์มีหลายอย่าง เช่น ไรโบโซม (ribosome) มีลกษณะเป็ นวงกลมหรื อรู ปไข่
                                                                       ั
ทาหน้าที่สร้างหรื อสังเคราะห์โปรตีน
          5. เยือหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) เยือหุมเซลล์ส่วนใหญ่ประกอบด้วยโมเลกุลของโปรตีน
                ่                              ่ ้
                                                   ่
และไขมันมีลกษณะเป็ นเยือบ่าง ๆ มีความยืนหยุนได้ และมีรูพรุ นสามารถจากัดขนาดของสารที่ผาน
                  ั            ่                                                               ่
เข้าออกได้ จึงมีสมบัติเป็ นเยือเลือกผ่าน คือ ยอมให้โมเลกุลของสารขนาดเล็กผ่านได้ เช่น น้ า ก๊าซ
                                 ่
                                                           ่
ออกซิเจน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ส่ วนสารขนาดใหญ่ผานไม่ได้ เช่น โปรตีน หน้าที่ คือ ห่อหุม       ้
                             ่                                              ่
เซลล์ทาให้เซลล์คงรู ปอยูได้ ช่วยคัดเลือกสารและควบคุมปริ มาณของสารที่ผานเข้าและออกจากเซลล์

      6. กอลจิบอดี (Golgi boby) หรื ออีกอย่างหนึ่งว่า กอจิแอพพาราทัส มีลกษณะเป็ นท่อหรื อถุง
                                                                        ั
แบน ๆ เรี ยนซ้อนกันหลายชั้น ทาหน้าที่เป็ นแหล่งสร้างคาร์โบโฮเดรตที่รวมกับโปรตีนซึ่งสร้างมา
4

จากร่ างแหเอนโดพลาสมิกเรติคูรัมและมีส่วนสาคัญในการสร้างผนังเซลล์ของพืชและสารเคลือบเยือ            ่
หุมเซลล์ของสัตว์
    ้
            7. ร่ างแหเอนโดพลาสมิกเรติคูรัม (Endoplasmic Reticulum) มีลกษณะเป็ นเยือบาง ๆ สอง
                                                                            ั        ่
ชั้นเรี ยงทบไปทบมาคล้ายถุงแบน ๆ แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือชนิดที่มีไรโบโซมเกาะอยู่ ทาหน้าที่
สังเคราะห์โปรตีนและเป็ นทางส่ งโปรตีนนี้ออกนอกเซลล์ และชนิดที่ไม่มีไรโบโซมเกาะอยู่
            8. ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) มีลกษณะกลมจนถึงเรี ยวแตกต่างกันตามชนิดของ
                                                   ั
สิ่ งมีชีวตทาหน้าที่เป็ นแหล่งสร้างพลังงานให้แก่เซลล์
          ิ
            9. แวคิวโอล (Vaculoe) มีลกษณะเป็ นถุงใสที่มีขนาดและรู ปร่ างไม่แน่นอนทาหน้าที่ควบคุม
                                       ั
ปริ มาณน้ าในเซลล์ สะสมน้ า เก็บอาหาร และขับของเสี ยที่เป็ นของเหลว
            10. นิวเคลียส (Nucleus) เป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์ มีลกษณะค่อนข้างกลม มีเยือ
                                                                          ั                   ่
หุม 2 ชั้น มีรูเล็ก ๆ เป็ นเยือเลือกผ่านซึ่งเป็ นทางผ่านของสารต่าง ๆ เข้าและออกจากนิวเคลียส ภายใน
      ้                       ่
มีโครโมโซม บนโครโมโซมมีหน่วยพันธุกรรมหรื อยีนอยู่
หน้าที่ ของนิวเคลียส เป็ นศูนย์กลางในการควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่ งมีชีวต        ิ
และควบคุมการทางานของเซลล์และการเจริ ญเติบโตเป็ นแหล่งสังเคราะห์สารพันธุกรรมและควบคุม
การสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์

ส่ วนประกอบของนิวเคลียส มีดังนี้
           1. เยือหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane)
                 ่
- มีลกษณะเหมือนกับเซลล์เมมเบรน
       ั
- ประกอบไปด้วยโปรตีนและไขมัน บางครั้งจะมีไรโบโซมมาเกาะอยู่
- จะมีรู (pores) มากมาย ซึ่งเป้ นทางผ่าน เข้าออกของสารต่าง ๆ
           2. โครมาติน (Chromatin)
- เป็ นส่ วนของนิวเคลียสที่ติดสี ยอม ้
- ส่ วนที่ติดสี ยอมเข้มเรี ยกว่า เฮทเทอโรโครมาติน (heterochromatin)
                   ้
                                                                        ่
- ส่ วนที่ติดสี จาง ๆ เรี ยกว่า ยูโครมาติน (euchromatin) ซึ่งเป็ นที่อยูของยีนหรื อดีเอ็นเอ
- โครมาตินจะหดสั้นเข้าและหนาในขณะที่เซลล์มีการแบ่งตัวซึ่งเรี ยกว่า โครโมโซม
- สิ่ งมีชีวต แต่ละชนิดก็จะมีจานวนโครโมโซม แตกต่างกันไป
            ิ
5

          3. ส่ วนประกอบของนิวเคลียส
- มีรูปร่ างกลม ๆ จานวนไม่แน่นอนเกาะติดกับโครโมโซม
- เป็ นส่ วนที่ติดสี ยอมชัดเจน
                      ้
- องค์ประกอบทางเคมี คือโปรตีน, RNA และเอ็นไซม์อีกหลายตัว
- ทาหน้าที่ของเกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์




วิธีดาเนินงาน
        แนวทางการดาเนินงาน
              1 ปรึ กษากาหนดหัวข้อในการทาโครงงาน
              2 เสนอหัวข้อโครงงาน
              3 กาหนดแนวทางในการเริ่ มทาโครงสร้าง คิดรู ปแบบโครงงาน
              4 รวบรวมเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
              5 ซื้ออุปกรณ์ในการทาโครงงาน
              6 จัดทาโครงงาน
              7 ปรับปรุ งแก้ไขโครงงาน
              8 รายงานและบันทึกผลของการดาเนินงาน
              9 จัดทาเอกสารโครงงาน
              10 นาเสนอโครงงาน
6




        เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใช้
                              ี่
                1 แผ่นโฟมขนาดใหญ่
                2 สี โปสเตอร์
                3 กระดาษสี
                4 เทปกาว กาว
                5 กรรไกร คัตเตอร์

        งบประมาณ
             1 แผ่นโฟมขนาดใหญ่ท้ งหมด
                                 ั      200   บาท
             2 สี โปสเตอร์              -     บาท
             3 กระดาษสี                 75    บาท
             4 เทปกาว กาว               30    บาท
             5 กรรไกร คัตเตอร์          -     บาท
             รวมทั้งหมด 305 บาท

ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน

ลาดับ           ขั้นตอน                 สัปดาห์ที่        ผูรับผิดชอบ
                                                            ้
  ที่                          1 2 3 4 5 6 7 8 9 10   17
  1      คิดหัวข้อโครงงาน              
                                                      สมาชิกกลุ่ม
  2      ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล         
                                                      อรอินท์
  3      จัดทาโครงร่ างงาน             
                                                     ชลทิพย์
  4      ปฏิบติการสร้าง
              ั                              สมาชิกกลุ่ม
         โครงงาน                         
                                           
  5      ปรับปรุ งทดสอบ                  ชลทิพย์
                                             
  6      การทาเอกสารรายงาน               อรอินท์
                                               
  7      ประเมินผลงาน                    สมาชิกกลุ่ม
  8      นาเสนอโครงงาน                   สมาชิกกลุ่ม
7




ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ
    ่
  - สามารถใช้โมเดลโครงสร้างเซลล์พืชในการเรี ยนรู ้ได้
  - นักเรี ยนมีความสนใจในการเรี ยนการสอน และเข้าใจได้ง่าย
  - นักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนการสอน
  - สามารถเก็บโมเดลได้นาน และใช้ในรุ่ นต่อๆไปได้

สถานทีดาเนินการ
      ่
   - โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทเ่ี กียวข้ อง
                            ่
     - กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา
     - กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ศิลปะ

แหล่งอ้างอิง
       http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=1272
(วันที่สืบค้นข้อมูล 20 มกราคม 2556)
        http://student.nu.ac.th/u46410064/lesson%204.htm
(วันที่สืบค้นข้อมูล 20 มกราคม 2556)
8

ภาคผนวก
วิธีทาโมเดลเซลล์พืช
     1. นาโฟมมาตัดเป็ นรู ปเซลล์และออร์ แกเนลต่างๆที่ตองการ
                                                      ้




   2. นาโฟมที่ตดแล้วมาทาสี
               ั
9

3. นาส่ วนประกกอบต่างๆมาประกอบเข้าด้วยกันตามรู ปแบบเซลล์พืช




4. นาโมเดลมาหุมด้วยพลาสติกใส
              ้

More Related Content

What's hot

การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกTANIKAN KUNTAWONG
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
7.1 (1)
7.1 (1)7.1 (1)
7.1 (1)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 

Similar to โครงงานงานคอม (2)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม 1
โครงงานคอม 1โครงงานคอม 1
โครงงานคอม 1Prangwadee Sriket
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 

Similar to โครงงานงานคอม (2) (20)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
โครงงานคอม 1
โครงงานคอม 1โครงงานคอม 1
โครงงานคอม 1
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 

โครงงานงานคอม (2)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 5 ปี การศึกษา 2555 ชื่อโครงงาน โครงสร้ างเซลล์ ของพืช ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวชลทิพย์ สุ วรรณพงษ์ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 6 นางสาวอรอินท์ โก ชั้น ม.6/3 เลขที่ 37 ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ้ ่
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้ อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นางสาวชลทิพย์ สุ วรรณพงษ์ เลขที่ 6 2 นางสาวอรอินท์ โก เลขที่ 37 ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) โครงสร้ างของเซลล์พช ื ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) Plant cells model ประเภทโครงงาน วิทยาศาสตร์ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวชลทิพย์ สุ วรรณพงษ์ นางสาวอรอินท์ โก ชื่อทีปรึกษา ่ อาจารย์เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรี ยนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555 ทีมาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ่ เหตุผลที่พวกเราคณะผูจดทาได้คิดทาโครงงานนี้ข้ ึนเนื่องจากพวกเราเป็ นนักเรี ยนในแผนการเรี ยนวิทย์- ้ั คณิ ต ซึ่ งในการเรี ยนการสอนของพวกเรานั้น จะเน้นวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ เป็ นพิเศษ ซึ่ งเรื่ องเซลล์น้ น ั เป็ นพื้นฐานที่สาคัญในการเรี ยนวิทยาศาสตร์ เมื่อเรามีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องเซลล์ดีแล้ว ก็จะสามารถนา ความรู ้เรื่ องเซลล์น้ ีไปต่อยอด เพื่อเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์ ในหัวข้ออื่นๆได้ดียงขึ้น ิ่ วัตถุประสงค์ - เพื่อใช้เป็ นสื่ อในการเรี ยนการสอน - เป็ นแนวทางการสอนที่ทาให้มองเห็นภาพชัดเจนมากขึ้น เพื่อง่ายต่อการทาความเข้าใจของ นักเรี ยน - เพิ่มความน่าสนใจในการสอน เพื่อให้นกเรี ยนสนใจกับการเรี ยนมากขึ้น ั
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน - สามารถแกะชิ้นส่ วนของโครงสร้างได้ - มีความแข็งแรง ทนทาน ที่สามารถนามาใช้งานได้หลายครั้ง - มีขนาดที่เหมาะสม เก็บได้สะดวก ใช้งานง่าย หลักการและทฤษฎี - โครงสร้ างและหน้ าทีของเซลล์ ่ 1. ไลโซโซม (Iysosome) เป็ นออร์แกเนลล์ที่พบ เฉพาะในเซลล์สัตว์และโปรติสต์บางชนิด รู ปร่ างค่อนข้างกลม ทาหน้าที่สะสมเอนไซม์ที่เกี่ยวกับการย่อยสลายสารอินทรี ยต่าง ๆ และทาลาย ์ ของเสี ยภายในเซลล์ ่ ั 2. ผนังเซลล์ (Cell Wall) เป็ นผนังแข็งแรงอยูช้ นนอกสุ ดของเซลล์พืชส่ วนใหญ่สร้างจากสาร เซลโลโลส เป็ นส่ วนที่ไม่มีชีวต ทาให้เซลล์ทนทานและเป็ นเยือที่ยอมให้สารต่าง ๆ ผ่านเข้าและออก ิ ่ จากเซลล์ได้ มีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงและป้ องกันอันตรายให้กบเซลล์ั 3. ครอโรพลาสต์ (Chlorplast) พบในไซโทรพลาสซึม ของเซลล์พืชบางชนิด มีลกษณะเป็ นั ่ เม็ดสี เขียวมีเยือหุม 2 ชั้น โดยชั้นนอกทาหน้าที่ควบคุมโมเลกุลของสารที่ผานเข้าออกชั้นในมีสารสี ่ ้ เขียวที่เรี ยกว่า ครอโรฟิ ลล์ (Cholorophyll) มีสมบัติดูดพลังงานแสงมาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ แสง ทาให้พืชสามารถสร้างอาหารได้เอง ซึ่งเซลล์สัตว์ไม่มีครอโรพลาสต์ 4. ไซโตพลาสซึม (Cytoplasm) เป็ นของเหลวที่มีลกษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว ประกอบด้วย ั ั สารเคมีหลายชนิดรวมทั้งส่ วนที่เป็ นออร์แกเนลล์ (Organelle) เป็ นส่ วนประกอบที่เทียบได้กบอวัยวะ ที่ทาหน้าที่ต่าง ๆ ให้แก่เซลล์มีหลายอย่าง เช่น ไรโบโซม (ribosome) มีลกษณะเป็ นวงกลมหรื อรู ปไข่ ั ทาหน้าที่สร้างหรื อสังเคราะห์โปรตีน 5. เยือหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) เยือหุมเซลล์ส่วนใหญ่ประกอบด้วยโมเลกุลของโปรตีน ่ ่ ้ ่ และไขมันมีลกษณะเป็ นเยือบ่าง ๆ มีความยืนหยุนได้ และมีรูพรุ นสามารถจากัดขนาดของสารที่ผาน ั ่ ่ เข้าออกได้ จึงมีสมบัติเป็ นเยือเลือกผ่าน คือ ยอมให้โมเลกุลของสารขนาดเล็กผ่านได้ เช่น น้ า ก๊าซ ่ ่ ออกซิเจน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ส่ วนสารขนาดใหญ่ผานไม่ได้ เช่น โปรตีน หน้าที่ คือ ห่อหุม ้ ่ ่ เซลล์ทาให้เซลล์คงรู ปอยูได้ ช่วยคัดเลือกสารและควบคุมปริ มาณของสารที่ผานเข้าและออกจากเซลล์ 6. กอลจิบอดี (Golgi boby) หรื ออีกอย่างหนึ่งว่า กอจิแอพพาราทัส มีลกษณะเป็ นท่อหรื อถุง ั แบน ๆ เรี ยนซ้อนกันหลายชั้น ทาหน้าที่เป็ นแหล่งสร้างคาร์โบโฮเดรตที่รวมกับโปรตีนซึ่งสร้างมา
  • 4. 4 จากร่ างแหเอนโดพลาสมิกเรติคูรัมและมีส่วนสาคัญในการสร้างผนังเซลล์ของพืชและสารเคลือบเยือ ่ หุมเซลล์ของสัตว์ ้ 7. ร่ างแหเอนโดพลาสมิกเรติคูรัม (Endoplasmic Reticulum) มีลกษณะเป็ นเยือบาง ๆ สอง ั ่ ชั้นเรี ยงทบไปทบมาคล้ายถุงแบน ๆ แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือชนิดที่มีไรโบโซมเกาะอยู่ ทาหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีนและเป็ นทางส่ งโปรตีนนี้ออกนอกเซลล์ และชนิดที่ไม่มีไรโบโซมเกาะอยู่ 8. ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) มีลกษณะกลมจนถึงเรี ยวแตกต่างกันตามชนิดของ ั สิ่ งมีชีวตทาหน้าที่เป็ นแหล่งสร้างพลังงานให้แก่เซลล์ ิ 9. แวคิวโอล (Vaculoe) มีลกษณะเป็ นถุงใสที่มีขนาดและรู ปร่ างไม่แน่นอนทาหน้าที่ควบคุม ั ปริ มาณน้ าในเซลล์ สะสมน้ า เก็บอาหาร และขับของเสี ยที่เป็ นของเหลว 10. นิวเคลียส (Nucleus) เป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์ มีลกษณะค่อนข้างกลม มีเยือ ั ่ หุม 2 ชั้น มีรูเล็ก ๆ เป็ นเยือเลือกผ่านซึ่งเป็ นทางผ่านของสารต่าง ๆ เข้าและออกจากนิวเคลียส ภายใน ้ ่ มีโครโมโซม บนโครโมโซมมีหน่วยพันธุกรรมหรื อยีนอยู่ หน้าที่ ของนิวเคลียส เป็ นศูนย์กลางในการควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่ งมีชีวต ิ และควบคุมการทางานของเซลล์และการเจริ ญเติบโตเป็ นแหล่งสังเคราะห์สารพันธุกรรมและควบคุม การสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์ ส่ วนประกอบของนิวเคลียส มีดังนี้ 1. เยือหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane) ่ - มีลกษณะเหมือนกับเซลล์เมมเบรน ั - ประกอบไปด้วยโปรตีนและไขมัน บางครั้งจะมีไรโบโซมมาเกาะอยู่ - จะมีรู (pores) มากมาย ซึ่งเป้ นทางผ่าน เข้าออกของสารต่าง ๆ 2. โครมาติน (Chromatin) - เป็ นส่ วนของนิวเคลียสที่ติดสี ยอม ้ - ส่ วนที่ติดสี ยอมเข้มเรี ยกว่า เฮทเทอโรโครมาติน (heterochromatin) ้ ่ - ส่ วนที่ติดสี จาง ๆ เรี ยกว่า ยูโครมาติน (euchromatin) ซึ่งเป็ นที่อยูของยีนหรื อดีเอ็นเอ - โครมาตินจะหดสั้นเข้าและหนาในขณะที่เซลล์มีการแบ่งตัวซึ่งเรี ยกว่า โครโมโซม - สิ่ งมีชีวต แต่ละชนิดก็จะมีจานวนโครโมโซม แตกต่างกันไป ิ
  • 5. 5 3. ส่ วนประกอบของนิวเคลียส - มีรูปร่ างกลม ๆ จานวนไม่แน่นอนเกาะติดกับโครโมโซม - เป็ นส่ วนที่ติดสี ยอมชัดเจน ้ - องค์ประกอบทางเคมี คือโปรตีน, RNA และเอ็นไซม์อีกหลายตัว - ทาหน้าที่ของเกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1 ปรึ กษากาหนดหัวข้อในการทาโครงงาน 2 เสนอหัวข้อโครงงาน 3 กาหนดแนวทางในการเริ่ มทาโครงสร้าง คิดรู ปแบบโครงงาน 4 รวบรวมเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 5 ซื้ออุปกรณ์ในการทาโครงงาน 6 จัดทาโครงงาน 7 ปรับปรุ งแก้ไขโครงงาน 8 รายงานและบันทึกผลของการดาเนินงาน 9 จัดทาเอกสารโครงงาน 10 นาเสนอโครงงาน
  • 6. 6 เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใช้ ี่ 1 แผ่นโฟมขนาดใหญ่ 2 สี โปสเตอร์ 3 กระดาษสี 4 เทปกาว กาว 5 กรรไกร คัตเตอร์ งบประมาณ 1 แผ่นโฟมขนาดใหญ่ท้ งหมด ั 200 บาท 2 สี โปสเตอร์ - บาท 3 กระดาษสี 75 บาท 4 เทปกาว กาว 30 บาท 5 กรรไกร คัตเตอร์ - บาท รวมทั้งหมด 305 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผูรับผิดชอบ ้ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน            สมาชิกกลุ่ม 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล            อรอินท์ 3 จัดทาโครงร่ างงาน            ชลทิพย์ 4 ปฏิบติการสร้าง ั      สมาชิกกลุ่ม โครงงาน      5 ปรับปรุ งทดสอบ           ชลทิพย์  6 การทาเอกสารรายงาน           อรอินท์  7 ประเมินผลงาน           สมาชิกกลุ่ม 8 นาเสนอโครงงาน           สมาชิกกลุ่ม
  • 7. 7 ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ่ - สามารถใช้โมเดลโครงสร้างเซลล์พืชในการเรี ยนรู ้ได้ - นักเรี ยนมีความสนใจในการเรี ยนการสอน และเข้าใจได้ง่าย - นักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนการสอน - สามารถเก็บโมเดลได้นาน และใช้ในรุ่ นต่อๆไปได้ สถานทีดาเนินการ ่ - โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทเ่ี กียวข้ อง ่ - กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา - กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ศิลปะ แหล่งอ้างอิง http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=1272 (วันที่สืบค้นข้อมูล 20 มกราคม 2556) http://student.nu.ac.th/u46410064/lesson%204.htm (วันที่สืบค้นข้อมูล 20 มกราคม 2556)
  • 8. 8 ภาคผนวก วิธีทาโมเดลเซลล์พืช 1. นาโฟมมาตัดเป็ นรู ปเซลล์และออร์ แกเนลต่างๆที่ตองการ ้ 2. นาโฟมที่ตดแล้วมาทาสี ั
  • 9. 9 3. นาส่ วนประกกอบต่างๆมาประกอบเข้าด้วยกันตามรู ปแบบเซลล์พืช 4. นาโมเดลมาหุมด้วยพลาสติกใส ้