SlideShare a Scribd company logo
ระบบภูมิคุ้มกัน
(Immune system)
Pitsanu Duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system)
ประกอบไปด้วย
• Skin และ mucous membrane ซึ่งเป็น physical barrier
• การหลั่ง (Secretions) ได้แก่ tears, สารเมือก เป็นต้น ซึ่งเป็น antimicrobial
• Blood cells and หลอดเลือด (vasculature) ซึ่งมี WBCs อยู่
• ไขกระดูก (Bone marrow)
• Liver สร้างองค์ประกอบพวก proteins
• Lymphatic system and lymphoid organs
• เนื้อเยื่อส่วนใหญ่จะมีเซลล์ภูมิคุ้มกันอาศัยอยู่
สีชมพู เป็นอวัยวะที่กาจัดสิ่งแปลกปลอม
สีเขียว เป็นอวัยวะที่มีการเจริญ/พัฒนา
ของ leukocyte
ร่างกายเรามีกลไกป้องกันการรุกล้าของสิ่งแปลกปลอม 2 แบบ คือ
1. Innate or Nonspecific defense mechanisms or First line of defense กลไกการทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จาเพาะ
แบ่งเป็น
1.1 External defense เป็นกลไกการป้องกันที่อยู่ภายนอกร่างกาย เช่น ผิวหนัง และ mucous membrane ที่ทางเดินอาหาร
ทางเดินหายใจ ท่อปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์ เช่น น้าลาย, lysozyme ในน้าตา, urine, HCI ในกระเพาะอาหาร,
Antimicrobial Peptides in sweat ในคนที่สูบบุหรี่จะทาให้ชั้นเยื่อเมือกของ cilia (Mucociliary escalator) ในโพรงจมูก
เสียหาย
1.2 Internal defense เป็นกลไกการป้องกันอยู่ภายในร่างกาย เมื่อสิ่งแปลกปลอมสามารถเข้ามาสู่ภายในร่างกายได้เช่น
การเกิด phagocytosis โดยเม็ดเลือดขาว, การผลิต antimicrobial protein, การอับเสบ มีด้วยกัน 2 ขั้นคือ
1.2.1 1st
line of defense เป็นการป้องกันสิ่งแปลกปลอมจากภายนอกร่างกายทางผิวหนังและ mucosal barriers
1.2.2 2nd
line of defense เป็นปฏิกิริยาระดับเซลล์
- เกิดการ phagocytosis โดย neutrophils และ macrophages การกลืนเชื้อโรคและเศษชิ้นส่วนเซลล์
- การทาลายเซลล์ที่ผิดปกติโดย natural killer cells (NK cells)
- Interferons เป็นสารเคมีที่ส่งสัญญาณเพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัส โดยโปรตีนต้านไวรัสไม่ได้ฆ่าไวรัสแต่ยับยั้งการ
แบ่งเซลล์
- Complement เป็นปฏิกิริยาของ antibody เพื่อทาลายเชื้อโรค
- Inflammation การอักเสบเป็นการกระตุ้นเพื่อจากัดการแพร่กระจายของการติดเชื้อ
- Fever การที่ร่างกายมีอุณหภูมิสูงเพราะมี metabolism สูงขึ้นเพื่อเร่งป้องกันป้องกันร่างกาย
Buffy coat ประกอบด้วย WBCs และ Platelets ซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบ
ภูมิคุ้มกัน Plasma + Buffy coat = Serum
- เราสามารถแบ่ง WBCs ได้ตามการมี granule
- เมื่อ Monocyte เคลื่อนตัวไปอยู่ในเนื้อเยื่อจะเรียกว่า Macrophages
- Basophil พัฒนาไปเป็น Mast cell
- Neutrophils มีประมาณ 50-60% ทางานโดย phagocytes สาคัญมากสาหรับระบบภูมิคุ้มกันแบบก่อเอง ในผู้ป่วยมะเร็งจะ
ตรวจจากระดับ Neutrophils ในเลือด ภายใน Neutrophils ก็จะมี lysosome ที่บรรจุเอนไซม์ lysozyme และนาไปรวมกับ
Macrophages ในอวัยวะต่างๆ
Phagosome เพื่อทาการย่อยแบคทีเรียและ
Neutrophils จะส่งสัญญาณเพื่อกระตุ้นการ
ตอบสนองการติดเชื้อ (Antigen presenting)
ต่อไป
- Monocyte (5% ของ WBCs) หลังจาก
monocyte เข้าสู่กระแสเลือดได้2-3 ชั่วโมงจะ
เคลื่อนเข้าสู่เนื้อเยื่อและพัฒนาเป็น
Macrophages (“big-eater”) ซึ่งมีช่วงชีวิต
ค่อนข้างยาว ทาหน้าที่ phagocytosis ในเนื้อเยื่อ
และ Antigen presenting
- Eosinophil (1.5% ของ WBCs) ทาหน้าที่
ทาลายพยาธิขนาดใหญ่
- Natural killer (NK) cell ทาหน้าที่ทาลาย
virus-infected body cell และเซลล์มะเร็ง โดย
ไปจับที่เยื่อหุ้มเซลล์และทาให้เซลล์แตก
/ลาไส้
โดยปกติ NK Cell จะไม่ทาลายเซลล์ปกติ เนื่องจากบริเวณผิวเซลล์จะมี
โปรตีน MHC I ซึ่งมีอยู่บนเซลล์ปกติ ซึ่งต่างจากเซลล์มะเร็งที่พบ MHC I
ลดลงกว่าเซลล์ปกติ หลังจากที่ NK Cell พบเซลล์ที่ผิดปกติแล้ว จะทาลาย
เซลล์เหล่านั้นด้วยกลไกการหลั่ง Cytotoxic Granules ที่มี Perforins และ
Granzymes หรือทาลายเซลล์ที่ผิดปกติโดยอ้อม ด้วยการหลั่งสารไซโตไคน์
และเคโมไคน์ เช่น Pro-Inflammatory Cytokine Secretion Triggering an
Adaptive Immune Response หรือการทาลายเซลล์ที่ผิดปกติโดยกลไก
Antibody-Dependent Cellular Cytotoxicity (ADCC)
- Antimicrobial protein เป็นโปรตีนที่ทาหน้าที่ป้องกัน/ทาลายสิ่ง
แปลกปลอม ได้แก่ lysozyme, complement system, interferons
- Cytokine เป็นโปรตีนขนาดเล็ก ส่งสัญญาณต่อเซลล์อื่นๆ cytokine ที่ช่วยใน specific immunity ส่วนใหญ่หลังมาจาก
T lymphocyte และ cytokine ที่ช่วยใน non-specific immunity ส่วนใหญ่หลั่งมาจาก mononuclear phagocyte ที่พบสิ่ง
แปลกปลอม แต่ก็ได้รับการกระตุ้นจาก T lymphocyte ด้วยเช่นกัน เซลล์ที่ปล่อยได้แก่ Neutrophils, Macrophages ถูก
กระตุ้นโดยเชื้อโรค, NK cells, Lymphocytes ถูกกระตุ้นโดยเซลล์ที่ติดเชื้อ Toll-like receptors (TLRs) จดจาลักษณะ
ของเชื้อโรคและกระตุ้นให้เกิดการต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย
- Complement system ย่อย microbes และเป็น chemokines ต่อ phagocytic cells กระตุ้น adaptive immune response
- Interferons (IFN) หลั่งจากเซลล์ที่ติดเชื้อ เพื่อยับยั้งการ
ติดเชื้อของเซลล์ข้างเคียง เป็น anti-viral protein แทรกแซงการ
แบ่งเซลล์
- Interleukin (IL) เป็น cytokine ชนิดหนึ่ง มีบทบาทใน
ภูมิคุ้มกันทั้ง non-specific immunity และ specific immunity มี
ฤทธิ์เพิ่ม proliferation ของ B lymphocyte กระตุ้น NK cell
- Tumor necrosis factor (TNF) มี 2 ชนิด คือ TNF-α สร้าง
โดย mononuclear phagocyte และ TNF-β สร้างโดย T
lymphocyte ส่งเสริม inflammatory response ทาลายเซลล์เนื้อ
งอก
The Classical Complement Pathway การเกิด lysis เซลล์ Ag โดย complement มี 2 วิธี
1. Classical pathway มี Ab ไปจับกับ pathogen’s membrane จากนั้น complement ไปจับกับ Ab เกิดการเปลี่ยนแปลง ทา
ให้เกิดรูบนเยื่อหุ้มเซลล์ มีการเคลื่อนของไอออนและน้าเข้าสู่เซลล์ ทาให้เกิดการบวมและแตก
2. Alternative pathway เกิดโดย complement ไปจับกับ substrate ที่อยู่บน pathogen ได้โดยตรง
Coagulation เป็นการหยุดเลือดหลังจากได้รับบาดเจ็บ ประกอบไปด้วย Platelets, Coagulation factors, Vitamin K
- The Inflammatory Response บริเวณที่เป็นแผลเส้นเลือดขยายตัว เกิดการบวมแดง มีการหลั่ง histamine จากเนื้อเยื่อหรือ
basophil &mast cell ทาให้ permeability ของ capillary เพิ่มขึ้น
2. Adaptive or specific defense mechanisms เป็นภูมิคุ้มกันที่ก่อขึ้นเมื่อร่างกายได้รับแอนติเจน เป็นกลไกการทาลายสิ่ง
แปลกปลอมแบบจาเพาะ ได้แก่ การทางานของ lymphocytes และการผลิต antibody
Humoral (antibody-mediated) immune response เป็นการตอบสนองที่อาศัยของเหลวภายในร่างกายคือ antibody ซึ่ง
ส่วนใหญ่อยู่ใน serum เซลล์ที่รับผิดชอบในเรื่องนี้ คือ B lymphocytes
- Lymphocytes เป็นตัวการสาคัญในการทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบจาเพาะ Lymphocytes มี 2 ชนิดคือ B lymphocyte (B
cell; bursa of Fabricius ->เป็นตาแหน่งที่สะสม B cell or ไขกระดูก ) & T lymphocyte (T cell; thymus) แต่ทั้ง 2 เซลล์
เจริญมาจากเซลล์ต้นกาเนิดเดียวกันคือ Pluripotent stem cell ในไขกระดูก จากนั้น lymphocytes ทั้ง 2 ชนิดจะเคลื่อนไปอยู่
ที่ lymphoid tissue เช่น tonsil, lymph node, spleen
- มีขั้นตอนคัดเลือกเพื่อเพิ่มจานวน lymphocyte ที่
เฉพาะต่อ Ag เรียก Clonal selection
-Lymphocyte ที่มี receptor ที่จาเพาะ Ag ในร่างกาย จะกลายสภาพเป็น non-functional หรือเกิด apoptosis จึงทาให้ไม่มีการ
ทาลายเซลล์ในร่างกายตัวเอง (self-tolerance)
- ในการเพิ่มจานวนของ Lymphocytes ที่ถูกคัดเลือก หลังจากเผชิญกับ Ag เป็นครั้งแรก ใช้เวลานานประมาณ 10-17 วัน
เรียกการตอบสนองในระยะแรกนี้ว่า primary immune response ได้เซลล์ 2 ชนิดคือ short-lived effector cell {plasma cell
(จาก B cell)}&effector T cell (จาก T cell)) และ long-lived memory cells
- ถ้าร่างกายมีการเผชิญกับ Ag เดิมเป็นครั้งที่ 2 จะเกิดการ
ตอบสนองเรียก secondary immune response ซึ่งใช้เวลาในน
การตอบสนองเพียง 2-7 วัน
Cell-mediated immune responses เป็นการทางานของ T
lymphocytes เมื่อได้รับสัญญาณจาก APC ( Antigen
presenting cells)
*Major Histocompatibility Complex (MHC)
➸ การทางานของ Helper T-cell หรือ CD4+ จุดอ่อนของ Helper T-Cell คือจะถูกทาลายโดยไวรัส HIV ทาให้ Helper T-
Cell ลดลง ซึ่งนาไปสู่โรคเอดส์ (AIDS : Acquired Immunodeficiency Syndrome)
➸ การทางานของ CD8+ หรือ cytotoxic T-lymphocyte (CTL) การทางานต้องการตัวช่วย คือ Helper T-cell เสมอ
โครงสร้างและหน้าที่ของแอนติบอดี ( Antibody )
➸ สร้างขึ้นเมื่อร่างกายได้รับแอนติเจน
➸ เป็นสารไกลโคโปรตีนที่ทาปฏิกิริยาจาเพาะกับแอนติเจน
➸ พบแอนติบอดีในซีรัมของเลือด โดยเฉพาะในส่วน γ-globulin เรียกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันนี้ Immunoglobulin
➸ Immunoglobulin ประกอบด้วยพอลิเพปไทด์ สายยาว 2 สายที่เหมือนกันเรียก Heavy chain และสายสั้น 2 สายที่
เหมือนกันเรียก Light chain สายหนักแต่ละสายเชื่อมกับสายเบาด้วยพันธะ covalent
➸ ทั้งสายหนักและสายเบา ประกอบด้วย 2 บริเวณ คือ บริเวณที่เปลี่ยนแปลงได้(Variable region) กับบริเวณที่คงที่
(Constant region) กรด amino ที่อยู่บริเวณที่เปลี่ยนแปลงได้ของทั้งสายหนักและสายเบา มีลาดับของกรด amino แตกต่าง
กัน ซึ่งจะจาเพาะกับแอนติบอดีแต่ละชนิด
➸ Immunoglobulin ที่จับกับแอนติเจน เรียกว่า Fab (antigen binding site) ส่วน Fc (Crystallization fragment) จับกับ
receptor ของเซลล์ชนิดต่าง ๆ หรือกระตุ้นการทางานของ complement
➸ Epitope or antigenic determinant เป็นส่วนของ Ag ที่ Ab เข้าไปจับ (Ab จะใช้ส่วน antigen binding site ในการจับ)
➸ แบคทีเรียหนึ่งตัวอาจมี epitope สาหรับจับกับ Ab ได้ถึง 4 ล้านโมเลกุล
ชนิดของ Immunoglobulin แบ่งเป็น 5 ชนิด คือ
- IgG พบมากที่สุดในซีรัม ผ่านรกจากแม่ไปสู่ลูกได้ทาลาย
แบคทีเรีย, ไวรัส และ toxin
- IgA พบในสิ่งคัดหลั่ง เช่น น้าตา น้าลาย ช่วยปกป้องเยื่อเมือก
จากการบุกรุกของแบคทีเรียและไวรัส และป้องกันการติดเชื้อ
ที่ช่องว่างในร่างกาย
- IgM พบครั้งแรกในปลาฉลามและปลากระดูกแข็ง เป็น
Immunoglobulin ตัวแรกที่สร้างขึ้นเมื่อร่างกายถูกกระตุ้นด้วยแอนติเจน ป้องกันการบุกรุกของแบคทีเรียและไวรัส ไม่
สามารถผ่านรกได้แต่ถ้าทารกมีการติดเชื้อจะสาร้าง IgM ขึ้นเอง เป็น Ig ชนิดแรกที่ทารกสร้างขึ้นเอง
- Ig D พบมากที่ผิวผของ B cell คาดว่าช่วยกระตุ้นการเปลี่ยนจาก B cell ไปเป็น plasma cell & memory B cell
- Ig E ชอบเกาะอยู่กับ mast cell & basophil กระตุ้นให้ basophil ปล่อยสารที่ทาให้เกิดการแพ้ออกมา เช่น histamine
,serotoninในกรณีที่เกิดการติดเชื้อปรสิต จะพบว่าในร่างกายจะมีปริมาณ Ig E เพิ่มขึ้น แสดงว่าเกิดภูมิคุ้มกันต่อต้านกับโรค
ติดเชื้อปรสิต
ภาพโครงสร้างพื้นฐานของ Immunoglobulin
Active immunity: การที่เราได้รับเชื้อแล้วร่างกายสร้าง Ab มาทาลายในขณะเดียวกันก็เก็บ memory cell ไว้โดยเชื้อที่ได้รับ
อาจเป็นเชื้อโรคในธรรมชาติ (infection) หรือโดยการฉีดเชื้อที่อ่อนกาลังแต่ยังมี epitope เข้าร่างกาย (vaccination)
Passive immunity: ร่างกายได้รับ Ab ของเชื้อนั้นโดยตรง ซึ่ง Ab จะคงอยู่ในร่างกายเป็นเวลาสั้นๆ เช่น Ab ต่อ พิษงู, พิษ
สุนัขบ้า
➸ วัคซีนเป็นชีววัตถุที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้กระตุ้นร่างกายให้สร้างภูมิคุ้มกันโรค แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
- Toxoid ผลิตโดยนาพิษของแบคทีเรียมาทาให้หมดฤทธิ์ แต่ยังสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันได้ โดยทั่วไปเมื่อ
ฉีด Toxoid จะมีไข้หรือปฏิกิริยาเฉพาะที่เล็กน้อย แต่ถ้าเคยฉีดมาแล้วหลายครั้ง หรือร่างกายมีภูมิคุ้มกันสูงอยู่ก่อนแล้ว อาจ
เกิดปฏิกิริยาเฉพาะที่มากขึ้น ทาให้มีอาการบวม แดง เจ็บบริเวณที่ฉีดและมีไข้ได้เช่น วัคซีนคอตีบ วัคซีนบาดทะยัก
- Inactivated vaccine หรือ Killed vaccine แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้2 กลุ่ม คือ
- วัคซีนที่ทาจากแบคทีเรีย หรือไวรัสทั้งตัวที่ทาให้ตายแล้ว (Whole cell vaccine หรือ Whole virion vaccine) มักจะ
ทาให้เกิดปฏิกิริยาบริเวณที่ฉีด บางครั้งอาจมีไข้ร่วมด้วย อาการมักจะเริ่มหลังฉีด 3-4 ชั่วโมง และจะคงอยู่ประมาณ 1
วัน ตัวอย่างของวัคซีนในกลุ่มนี้ ได้แก่ วัคซีนไอกรน อหิวาตกโรค โปลิโอ พิษสุนัขบ้า ไวรัสตับอักเสบเอ ไข้สมอง
อักเสบเจอีชนิดเชื้อตาย
- วัคซีนที่ทาจากบางส่วนของแบคทีเรียหรือไวรัส (Subunit vaccine หรือ Acellular vaccine) มักมีปฏิกิริยาน้อยหลัง
ฉีด เช่น ไวรัสตับอักเสบบี ไข้หวัดใหญ่ ฮิบ ไอกรนชนิดไร้เซลล์ ไทฟอยด์ชนิดฉีด นิวโมคอคคัส วัคซีนป้องกันมะเร็ง
ปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี
- วัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิตอ่อนฤทธิ์ (Live attenuated vaccine) ทาจากเชื้อที่ยังมีชีวิตอยู่แต่ทาให้ฤทธิ์อ่อนลงแล้ว เมื่อให้เข้า
ไปในร่างกายแล้วจะยังไม่มีปฏิกิริยาทันที เช่น วัคซีนหัดจะเกิดอาการไข้ประมาณวันที่ 5 ถึงวันที่ 12 หลังฉีด ถ้าร่างกายมี
ภูมิคุ้มกันเดิมอยู่บ้างอาจขัดขวางการออกฤทธิ์ของวัคซีน การให้วัคซีนกลุ่มนี้แก่ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือผู้ที่ได้รับยากด
ภูมิคุ้มกันจะต้องระมัดระวัง เพราะอาจทาให้เกิดโรคจากวัคซีนได้วัคซีนในกลุ่มนี้ เช่น วัคซีนโปลิโอชนิดรับประทาน
วัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน วัคซีนอีสุกอีใส วัคซีนวัณโรค วัคซีนทัยฟอยด์ชนิดรับประทาน วัคซีนโรต้า วัคซีน
ไข้หวัดใหญ่ชนิดพ่นจมูก วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็น
วัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ในปัจจุบัน มี 4 ชนิดด้วยกัน ได้แก่
1. “Virus vaccine” คือ วัคซีนที่ผลิตจากไวรัสเอง โดยทำให้ไวรัสอ่อนแอลงไม่พอทำให้เกิดโรค แต่พอให้ร่างกายกระตุ้น
ภูมิคุ้มกันต่อมัน เช่น วัคซีนหัด, sinovac
2. “Nucleic acid vaccine” เช่น DNA vaccine, RNA vaccine วิธีนี้ใช้สารพันธุกรรมในการเริ่มต้นการสร้างวัคซีนทำให้มี
ความปลอดภัยมาก เช่น Pfizer, moderna
3. “Viral vector vaccine” คือใช้ไวรัสที่ทำให้อ่อนลงแล้วไม่ทำให้เกิดโรค มาตัดต่อใส่สารพันธุกรรมของ coronavirus ลง
ไป เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน ยกตัวอย่างวัคซีนที่ใช้วิธีนี้เช่น วัคซีนอีโบล่า, AstraZeneca
4. “Protein-based vaccine” คือการใส่โปรตีนของไวรัส เช่น virus-like particles เพื่อไปกระตุ้นให้เกิดการสร้าง
ภูมิคุ้มกัน ยกตัวอย่างวัคซีน SARS vaccine สำหรับลิง, Novavax
➸ การป้องกันโรคของวัคซีนอย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้เกิดการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคได้จะต้องประกอบด้วยหลาย
ปัจจัย กล่าวคือ
1. วัคซีนจะต้องมีคุณภาพที่ดี มีการบริหารจัดการวัคซีนที่ถูกต้องเป็นระบบ และเพื่อให้ระดับภูมิคุ้มกันอยู่สูงจน
สามารถป้องกันโรคได้นั้น
2. ต้องได้รับวัคซีนในช่วงเวลาที่เหมาะสม เนื่องจากวัคซีนบางชนิด ถ้าร่างกายได้รับเร็วเกินไป ร่างกายจะไม่สามารถ
สร้างภูมิคุ้มกันได้เช่น วัคซีนป้องกันโรคหัด แนะนาให้ฉีดในเด็กอายุตั้งแต่ 9 เดือนขึ้นไป เพราะว่าถ้าเด็กอายุน้อย
กว่านี้ วัคซีนหัดจะกระตุ้นร่างกายให้สร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคนี้ได้ไม่ดี
3. ครบถ้วนตามจานวนครั้งที่กาหนด เช่น วัคซีนบางชนิด เช่น วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอี วัคซีนป้องกัน
โรคโปลิโอ คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก เป็นต้น วัคซีนต่าง ๆ เหล่านี้ เมื่อเข้าสู่ร่างกาย จะกระตุ้นให้สร้างภูมิคุ้มกัน
สูงขึ้นระดับหนึ่ง แล้วระดับภูมิคุ้มกันก็จะลดลง ต้องได้รับการกระตุ้นตามจานวนครั้งที่กาหนด จึงจะมีระดับ
ภูมิคุ้มกันอยู่ในระดับสูงพอในการป้องกันโรค
➸ Herd immunity หรือ Community immunity คือการให้บริการวัคซีนครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่ควรได้รับวัคซีนได้ถึง
ระดับที่ทาให้เกิด Herd immunity สามารถช่วยป้องกันการเกิดโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในกลุ่มบุคคลที่ยังไม่มี
ภูมิคุ้มกันต่อโรคได้ด้วย
ระบบภูมิคุ้มกันและการเกิดโรค
Blood group and blood transfusion
– ABO blood group จาแนกตาม Ag ที่ผิว RBC ซึ่งคน
ที่มีหมู่เลือด A จะมี Ab หมู่ B เป็นต้น
-แต่เนื่องจาก blood group antigen เป็น polysacharide
จึงทาให้ตอบสนองแบบ T-independent response เช่น
แม่หมู่ O ตั้งครรภ์ลูกเลือดหมู่ A (Ab-b) เมื่อตอนคลอด
เลือดจะไหลเข้าสู่ตัวแม่ แม่สามารถกระตุ้นการสร้าง
Ab-b ได้แต่ไม่เป็นอันตรายต่อการตั้งครรภ์ลูกคนต่อมา
(เลือดหมู่ B) เพราะ Ab ที่สร้างเป็น IgM ไม่สามารถ
แพร่ผ่านรกได้
- แต่ในกรณีของหมู่เลือด Rh (แม่ Rh- ลูกRh+) จะเป็น
อันตรายต่อการตั้งครรภ์ลูกคนต่อมา เพราะ Ab ที่สร้าง
เป็น IgG สามารถแพร่ผ่านรกได้
- ภูมิแพ้ (allergy) เป็นสภาวะ hypersensitive ของร่างกายต่อ environmental Ag
(allergens) มีขั้นตอนดังนี้
1. เมื่อร่างกายเผชิญกับ allergen ครั้งแรก B cell เปลี่ยนเป็น plasma cell และหลั่ง IgE
2. บางส่วนของ IgE เข้าจับกับ Mast cell (โดยใช้ส่วนหางจับ)
3. เมื่อร่างกายได้รับ allergen อีกครั้ง allergen จะจับกับ IgE ที่อยู่บน Mast cell จึงไป
กระตุ้นให้ mast cell หลั่งสาร เช่น histamine (ทาให้เกิด dilation และเพิ่ม permeability
ของเส้นเลือด) เกิดอาการแพ้เช่น จาม, คัดจมูก, น้าตาไหล
- Granolucytopenia คือจานวนเม็ดเลือดขาวชนิด granulocyte ลดน้อยลง ส่วนใหญ่
เกิดขึ้นในผู้ป่วยที่ได้รับยาที่กดการสร้างเม็ดเลือดขาว เช่น ยาต้านมะเร็ง หรือผู้ป่วยที่
ได้รับการฉายรังสีซึ่งกดการทางานของไขกระดูก เป็นเหตุให้ขาดเซลล์ที่ทาหน้าที่
ทาลายเชื้อโรค จึงติดเชื้อแบคทีเรียได้โดยง่าย
- มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดต่างๆ ทาให้เม็ดเลือดขาวเสียหน้าที่ในระบบภูมิคุ้มกัน
- ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ได้แก่
1. บกพร่องที่ HMI เป็นเหตุให้ติดเชื้อโรคง่าย
2. บกพร่องที่ CMI เป็นเหตุให้ติดเชื้อชนิดต่างๆ โดยเฉพาะเชื้อที่อยู่ในเซลล์ ได้แก่ไวรัส (เชื้อไวรัสเป็นเชื้อที่ต้องอาศัย
เซลล์ในการเพิ่มจานวน) เชื้อรา โปรโตซัว แบคทีเรียบางชนิด เช่น วัณโรค ส่วนใหญ่เป็นเชื้อที่ไม่ค่อยก่อโรคในคน
ปกติ โรคที่เรารู้จักกันดีคือ โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (เอดส์) หรือ Acquired Immune Deficiency Syndrome (AIDS)
- ภูมิต้านทานเนื้อเยื่อตนเอง เรียกว่า autoimmune didease เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันจาเซลล์ในร่ายกายไม่ได้เข้าใจว่าเป็น
สิ่งแปลกปลอม จึงสร้างภูมิต้านทานต่อเซลล์เหล่านั้นของร่างกายของตนเอง เกิดโรคต่างๆ มากมาย ขึ้นอยู่กับว่าเป็นภูมิ
ต้านทานต่อเซลล์ชนิดใด เช่น
- systemic lupus erythematosus (SLE) หรือที่เรารู้จักกันดีว่าโรคพุ่มพวง (ภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อหลายชนิดใน
ร่างกาย)
- autoimmune hemolytic anemia (AIHA) (เม็ดเลือดแดงแตก จากภูมิต้านทานเม็ดเลือดแดง)
- idiopathic thrombocytopenic purpura (ITP) (เกล็ดเลือดถูก ทาลายจากภูมิต้านทานเกล็ดเลือด)
- ภูมิไวเกิน ได้แก่ โรคภูมิแพ้ชนิดต่างๆ เกิดจากภูมิคุ้มกันตอบสนองไวเกินต่อสารก่อภูมิแพ้
- rheumatoid arthritis (ภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อรอบข้อ เป็นเหตุให้ข้ออักเสบเรื้อรัง)

More Related Content

What's hot

ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
Natthaya Khaothong
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
kanyamadcharoen
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
kasidid20309
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
Thanyamon Chat.
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
Thitaree Samphao
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์BlankThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
 

Similar to ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok

Immune2551
Immune2551Immune2551
Immune2551
Issara Mo
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
BewwyKh1
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
pitsanu duangkartok
 
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.comระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ผู้ชายบ้านๆ รักอิสระ
 
What is Transfer Factor (TF)?
What is Transfer Factor (TF)?What is Transfer Factor (TF)?
What is Transfer Factor (TF)?
4life 4healthy
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10Bios Logos
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
pitsanu duangkartok
 
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
pop Jaturong
 
Cell
CellCell
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.Jurarud Porkhum
 

Similar to ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok (13)

Immune2551
Immune2551Immune2551
Immune2551
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
 
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
 
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.comระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
 
What is Transfer Factor (TF)?
What is Transfer Factor (TF)?What is Transfer Factor (TF)?
What is Transfer Factor (TF)?
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
 
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
 
Cell
CellCell
Cell
 
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายPpt.
 

More from pitsanu duangkartok

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
pitsanu duangkartok
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
pitsanu duangkartok
 
steroid.pdf
steroid.pdfsteroid.pdf
steroid.pdf
pitsanu duangkartok
 
Hormone exercise
Hormone exerciseHormone exercise
Hormone exercise
pitsanu duangkartok
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
pitsanu duangkartok
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
pitsanu duangkartok
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
pitsanu duangkartok
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
pitsanu duangkartok
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
pitsanu duangkartok
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
pitsanu duangkartok
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
pitsanu duangkartok
 
Pharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptxPharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptx
pitsanu duangkartok
 
Metabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdfMetabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdf
pitsanu duangkartok
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
pitsanu duangkartok
 
ecosystem
ecosystemecosystem
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
pitsanu duangkartok
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
pitsanu duangkartok
 
Common Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdfCommon Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdf
pitsanu duangkartok
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)
pitsanu duangkartok
 
สรีรวิทยา (part 2).pdf
สรีรวิทยา (part 2).pdfสรีรวิทยา (part 2).pdf
สรีรวิทยา (part 2).pdf
pitsanu duangkartok
 

More from pitsanu duangkartok (20)

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
 
steroid.pdf
steroid.pdfsteroid.pdf
steroid.pdf
 
Hormone exercise
Hormone exerciseHormone exercise
Hormone exercise
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
Pharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptxPharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptx
 
Metabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdfMetabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdf
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Common Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdfCommon Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdf
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)
 
สรีรวิทยา (part 2).pdf
สรีรวิทยา (part 2).pdfสรีรวิทยา (part 2).pdf
สรีรวิทยา (part 2).pdf
 

Recently uploaded

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok

  • 2. ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) ประกอบไปด้วย • Skin และ mucous membrane ซึ่งเป็น physical barrier • การหลั่ง (Secretions) ได้แก่ tears, สารเมือก เป็นต้น ซึ่งเป็น antimicrobial • Blood cells and หลอดเลือด (vasculature) ซึ่งมี WBCs อยู่ • ไขกระดูก (Bone marrow) • Liver สร้างองค์ประกอบพวก proteins • Lymphatic system and lymphoid organs • เนื้อเยื่อส่วนใหญ่จะมีเซลล์ภูมิคุ้มกันอาศัยอยู่ สีชมพู เป็นอวัยวะที่กาจัดสิ่งแปลกปลอม สีเขียว เป็นอวัยวะที่มีการเจริญ/พัฒนา ของ leukocyte ร่างกายเรามีกลไกป้องกันการรุกล้าของสิ่งแปลกปลอม 2 แบบ คือ 1. Innate or Nonspecific defense mechanisms or First line of defense กลไกการทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จาเพาะ แบ่งเป็น 1.1 External defense เป็นกลไกการป้องกันที่อยู่ภายนอกร่างกาย เช่น ผิวหนัง และ mucous membrane ที่ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ท่อปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์ เช่น น้าลาย, lysozyme ในน้าตา, urine, HCI ในกระเพาะอาหาร, Antimicrobial Peptides in sweat ในคนที่สูบบุหรี่จะทาให้ชั้นเยื่อเมือกของ cilia (Mucociliary escalator) ในโพรงจมูก เสียหาย 1.2 Internal defense เป็นกลไกการป้องกันอยู่ภายในร่างกาย เมื่อสิ่งแปลกปลอมสามารถเข้ามาสู่ภายในร่างกายได้เช่น การเกิด phagocytosis โดยเม็ดเลือดขาว, การผลิต antimicrobial protein, การอับเสบ มีด้วยกัน 2 ขั้นคือ 1.2.1 1st line of defense เป็นการป้องกันสิ่งแปลกปลอมจากภายนอกร่างกายทางผิวหนังและ mucosal barriers 1.2.2 2nd line of defense เป็นปฏิกิริยาระดับเซลล์ - เกิดการ phagocytosis โดย neutrophils และ macrophages การกลืนเชื้อโรคและเศษชิ้นส่วนเซลล์ - การทาลายเซลล์ที่ผิดปกติโดย natural killer cells (NK cells)
  • 3. - Interferons เป็นสารเคมีที่ส่งสัญญาณเพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัส โดยโปรตีนต้านไวรัสไม่ได้ฆ่าไวรัสแต่ยับยั้งการ แบ่งเซลล์ - Complement เป็นปฏิกิริยาของ antibody เพื่อทาลายเชื้อโรค - Inflammation การอักเสบเป็นการกระตุ้นเพื่อจากัดการแพร่กระจายของการติดเชื้อ - Fever การที่ร่างกายมีอุณหภูมิสูงเพราะมี metabolism สูงขึ้นเพื่อเร่งป้องกันป้องกันร่างกาย Buffy coat ประกอบด้วย WBCs และ Platelets ซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบ ภูมิคุ้มกัน Plasma + Buffy coat = Serum - เราสามารถแบ่ง WBCs ได้ตามการมี granule - เมื่อ Monocyte เคลื่อนตัวไปอยู่ในเนื้อเยื่อจะเรียกว่า Macrophages - Basophil พัฒนาไปเป็น Mast cell - Neutrophils มีประมาณ 50-60% ทางานโดย phagocytes สาคัญมากสาหรับระบบภูมิคุ้มกันแบบก่อเอง ในผู้ป่วยมะเร็งจะ ตรวจจากระดับ Neutrophils ในเลือด ภายใน Neutrophils ก็จะมี lysosome ที่บรรจุเอนไซม์ lysozyme และนาไปรวมกับ Macrophages ในอวัยวะต่างๆ Phagosome เพื่อทาการย่อยแบคทีเรียและ Neutrophils จะส่งสัญญาณเพื่อกระตุ้นการ ตอบสนองการติดเชื้อ (Antigen presenting) ต่อไป - Monocyte (5% ของ WBCs) หลังจาก monocyte เข้าสู่กระแสเลือดได้2-3 ชั่วโมงจะ เคลื่อนเข้าสู่เนื้อเยื่อและพัฒนาเป็น Macrophages (“big-eater”) ซึ่งมีช่วงชีวิต ค่อนข้างยาว ทาหน้าที่ phagocytosis ในเนื้อเยื่อ และ Antigen presenting - Eosinophil (1.5% ของ WBCs) ทาหน้าที่ ทาลายพยาธิขนาดใหญ่ - Natural killer (NK) cell ทาหน้าที่ทาลาย virus-infected body cell และเซลล์มะเร็ง โดย ไปจับที่เยื่อหุ้มเซลล์และทาให้เซลล์แตก /ลาไส้
  • 4. โดยปกติ NK Cell จะไม่ทาลายเซลล์ปกติ เนื่องจากบริเวณผิวเซลล์จะมี โปรตีน MHC I ซึ่งมีอยู่บนเซลล์ปกติ ซึ่งต่างจากเซลล์มะเร็งที่พบ MHC I ลดลงกว่าเซลล์ปกติ หลังจากที่ NK Cell พบเซลล์ที่ผิดปกติแล้ว จะทาลาย เซลล์เหล่านั้นด้วยกลไกการหลั่ง Cytotoxic Granules ที่มี Perforins และ Granzymes หรือทาลายเซลล์ที่ผิดปกติโดยอ้อม ด้วยการหลั่งสารไซโตไคน์ และเคโมไคน์ เช่น Pro-Inflammatory Cytokine Secretion Triggering an Adaptive Immune Response หรือการทาลายเซลล์ที่ผิดปกติโดยกลไก Antibody-Dependent Cellular Cytotoxicity (ADCC) - Antimicrobial protein เป็นโปรตีนที่ทาหน้าที่ป้องกัน/ทาลายสิ่ง แปลกปลอม ได้แก่ lysozyme, complement system, interferons - Cytokine เป็นโปรตีนขนาดเล็ก ส่งสัญญาณต่อเซลล์อื่นๆ cytokine ที่ช่วยใน specific immunity ส่วนใหญ่หลังมาจาก T lymphocyte และ cytokine ที่ช่วยใน non-specific immunity ส่วนใหญ่หลั่งมาจาก mononuclear phagocyte ที่พบสิ่ง แปลกปลอม แต่ก็ได้รับการกระตุ้นจาก T lymphocyte ด้วยเช่นกัน เซลล์ที่ปล่อยได้แก่ Neutrophils, Macrophages ถูก กระตุ้นโดยเชื้อโรค, NK cells, Lymphocytes ถูกกระตุ้นโดยเซลล์ที่ติดเชื้อ Toll-like receptors (TLRs) จดจาลักษณะ ของเชื้อโรคและกระตุ้นให้เกิดการต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย - Complement system ย่อย microbes และเป็น chemokines ต่อ phagocytic cells กระตุ้น adaptive immune response - Interferons (IFN) หลั่งจากเซลล์ที่ติดเชื้อ เพื่อยับยั้งการ ติดเชื้อของเซลล์ข้างเคียง เป็น anti-viral protein แทรกแซงการ แบ่งเซลล์ - Interleukin (IL) เป็น cytokine ชนิดหนึ่ง มีบทบาทใน ภูมิคุ้มกันทั้ง non-specific immunity และ specific immunity มี ฤทธิ์เพิ่ม proliferation ของ B lymphocyte กระตุ้น NK cell - Tumor necrosis factor (TNF) มี 2 ชนิด คือ TNF-α สร้าง โดย mononuclear phagocyte และ TNF-β สร้างโดย T lymphocyte ส่งเสริม inflammatory response ทาลายเซลล์เนื้อ งอก The Classical Complement Pathway การเกิด lysis เซลล์ Ag โดย complement มี 2 วิธี 1. Classical pathway มี Ab ไปจับกับ pathogen’s membrane จากนั้น complement ไปจับกับ Ab เกิดการเปลี่ยนแปลง ทา ให้เกิดรูบนเยื่อหุ้มเซลล์ มีการเคลื่อนของไอออนและน้าเข้าสู่เซลล์ ทาให้เกิดการบวมและแตก 2. Alternative pathway เกิดโดย complement ไปจับกับ substrate ที่อยู่บน pathogen ได้โดยตรง
  • 5. Coagulation เป็นการหยุดเลือดหลังจากได้รับบาดเจ็บ ประกอบไปด้วย Platelets, Coagulation factors, Vitamin K - The Inflammatory Response บริเวณที่เป็นแผลเส้นเลือดขยายตัว เกิดการบวมแดง มีการหลั่ง histamine จากเนื้อเยื่อหรือ basophil &mast cell ทาให้ permeability ของ capillary เพิ่มขึ้น 2. Adaptive or specific defense mechanisms เป็นภูมิคุ้มกันที่ก่อขึ้นเมื่อร่างกายได้รับแอนติเจน เป็นกลไกการทาลายสิ่ง แปลกปลอมแบบจาเพาะ ได้แก่ การทางานของ lymphocytes และการผลิต antibody Humoral (antibody-mediated) immune response เป็นการตอบสนองที่อาศัยของเหลวภายในร่างกายคือ antibody ซึ่ง ส่วนใหญ่อยู่ใน serum เซลล์ที่รับผิดชอบในเรื่องนี้ คือ B lymphocytes - Lymphocytes เป็นตัวการสาคัญในการทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบจาเพาะ Lymphocytes มี 2 ชนิดคือ B lymphocyte (B cell; bursa of Fabricius ->เป็นตาแหน่งที่สะสม B cell or ไขกระดูก ) & T lymphocyte (T cell; thymus) แต่ทั้ง 2 เซลล์ เจริญมาจากเซลล์ต้นกาเนิดเดียวกันคือ Pluripotent stem cell ในไขกระดูก จากนั้น lymphocytes ทั้ง 2 ชนิดจะเคลื่อนไปอยู่ ที่ lymphoid tissue เช่น tonsil, lymph node, spleen - มีขั้นตอนคัดเลือกเพื่อเพิ่มจานวน lymphocyte ที่ เฉพาะต่อ Ag เรียก Clonal selection
  • 6. -Lymphocyte ที่มี receptor ที่จาเพาะ Ag ในร่างกาย จะกลายสภาพเป็น non-functional หรือเกิด apoptosis จึงทาให้ไม่มีการ ทาลายเซลล์ในร่างกายตัวเอง (self-tolerance) - ในการเพิ่มจานวนของ Lymphocytes ที่ถูกคัดเลือก หลังจากเผชิญกับ Ag เป็นครั้งแรก ใช้เวลานานประมาณ 10-17 วัน เรียกการตอบสนองในระยะแรกนี้ว่า primary immune response ได้เซลล์ 2 ชนิดคือ short-lived effector cell {plasma cell (จาก B cell)}&effector T cell (จาก T cell)) และ long-lived memory cells - ถ้าร่างกายมีการเผชิญกับ Ag เดิมเป็นครั้งที่ 2 จะเกิดการ ตอบสนองเรียก secondary immune response ซึ่งใช้เวลาในน การตอบสนองเพียง 2-7 วัน Cell-mediated immune responses เป็นการทางานของ T lymphocytes เมื่อได้รับสัญญาณจาก APC ( Antigen presenting cells) *Major Histocompatibility Complex (MHC) ➸ การทางานของ Helper T-cell หรือ CD4+ จุดอ่อนของ Helper T-Cell คือจะถูกทาลายโดยไวรัส HIV ทาให้ Helper T- Cell ลดลง ซึ่งนาไปสู่โรคเอดส์ (AIDS : Acquired Immunodeficiency Syndrome) ➸ การทางานของ CD8+ หรือ cytotoxic T-lymphocyte (CTL) การทางานต้องการตัวช่วย คือ Helper T-cell เสมอ
  • 7. โครงสร้างและหน้าที่ของแอนติบอดี ( Antibody ) ➸ สร้างขึ้นเมื่อร่างกายได้รับแอนติเจน ➸ เป็นสารไกลโคโปรตีนที่ทาปฏิกิริยาจาเพาะกับแอนติเจน ➸ พบแอนติบอดีในซีรัมของเลือด โดยเฉพาะในส่วน γ-globulin เรียกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันนี้ Immunoglobulin ➸ Immunoglobulin ประกอบด้วยพอลิเพปไทด์ สายยาว 2 สายที่เหมือนกันเรียก Heavy chain และสายสั้น 2 สายที่ เหมือนกันเรียก Light chain สายหนักแต่ละสายเชื่อมกับสายเบาด้วยพันธะ covalent ➸ ทั้งสายหนักและสายเบา ประกอบด้วย 2 บริเวณ คือ บริเวณที่เปลี่ยนแปลงได้(Variable region) กับบริเวณที่คงที่ (Constant region) กรด amino ที่อยู่บริเวณที่เปลี่ยนแปลงได้ของทั้งสายหนักและสายเบา มีลาดับของกรด amino แตกต่าง กัน ซึ่งจะจาเพาะกับแอนติบอดีแต่ละชนิด ➸ Immunoglobulin ที่จับกับแอนติเจน เรียกว่า Fab (antigen binding site) ส่วน Fc (Crystallization fragment) จับกับ receptor ของเซลล์ชนิดต่าง ๆ หรือกระตุ้นการทางานของ complement ➸ Epitope or antigenic determinant เป็นส่วนของ Ag ที่ Ab เข้าไปจับ (Ab จะใช้ส่วน antigen binding site ในการจับ) ➸ แบคทีเรียหนึ่งตัวอาจมี epitope สาหรับจับกับ Ab ได้ถึง 4 ล้านโมเลกุล ชนิดของ Immunoglobulin แบ่งเป็น 5 ชนิด คือ - IgG พบมากที่สุดในซีรัม ผ่านรกจากแม่ไปสู่ลูกได้ทาลาย แบคทีเรีย, ไวรัส และ toxin - IgA พบในสิ่งคัดหลั่ง เช่น น้าตา น้าลาย ช่วยปกป้องเยื่อเมือก จากการบุกรุกของแบคทีเรียและไวรัส และป้องกันการติดเชื้อ ที่ช่องว่างในร่างกาย - IgM พบครั้งแรกในปลาฉลามและปลากระดูกแข็ง เป็น Immunoglobulin ตัวแรกที่สร้างขึ้นเมื่อร่างกายถูกกระตุ้นด้วยแอนติเจน ป้องกันการบุกรุกของแบคทีเรียและไวรัส ไม่ สามารถผ่านรกได้แต่ถ้าทารกมีการติดเชื้อจะสาร้าง IgM ขึ้นเอง เป็น Ig ชนิดแรกที่ทารกสร้างขึ้นเอง - Ig D พบมากที่ผิวผของ B cell คาดว่าช่วยกระตุ้นการเปลี่ยนจาก B cell ไปเป็น plasma cell & memory B cell - Ig E ชอบเกาะอยู่กับ mast cell & basophil กระตุ้นให้ basophil ปล่อยสารที่ทาให้เกิดการแพ้ออกมา เช่น histamine ,serotoninในกรณีที่เกิดการติดเชื้อปรสิต จะพบว่าในร่างกายจะมีปริมาณ Ig E เพิ่มขึ้น แสดงว่าเกิดภูมิคุ้มกันต่อต้านกับโรค ติดเชื้อปรสิต ภาพโครงสร้างพื้นฐานของ Immunoglobulin
  • 8. Active immunity: การที่เราได้รับเชื้อแล้วร่างกายสร้าง Ab มาทาลายในขณะเดียวกันก็เก็บ memory cell ไว้โดยเชื้อที่ได้รับ อาจเป็นเชื้อโรคในธรรมชาติ (infection) หรือโดยการฉีดเชื้อที่อ่อนกาลังแต่ยังมี epitope เข้าร่างกาย (vaccination) Passive immunity: ร่างกายได้รับ Ab ของเชื้อนั้นโดยตรง ซึ่ง Ab จะคงอยู่ในร่างกายเป็นเวลาสั้นๆ เช่น Ab ต่อ พิษงู, พิษ สุนัขบ้า ➸ วัคซีนเป็นชีววัตถุที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้กระตุ้นร่างกายให้สร้างภูมิคุ้มกันโรค แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม - Toxoid ผลิตโดยนาพิษของแบคทีเรียมาทาให้หมดฤทธิ์ แต่ยังสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันได้ โดยทั่วไปเมื่อ ฉีด Toxoid จะมีไข้หรือปฏิกิริยาเฉพาะที่เล็กน้อย แต่ถ้าเคยฉีดมาแล้วหลายครั้ง หรือร่างกายมีภูมิคุ้มกันสูงอยู่ก่อนแล้ว อาจ เกิดปฏิกิริยาเฉพาะที่มากขึ้น ทาให้มีอาการบวม แดง เจ็บบริเวณที่ฉีดและมีไข้ได้เช่น วัคซีนคอตีบ วัคซีนบาดทะยัก - Inactivated vaccine หรือ Killed vaccine แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้2 กลุ่ม คือ - วัคซีนที่ทาจากแบคทีเรีย หรือไวรัสทั้งตัวที่ทาให้ตายแล้ว (Whole cell vaccine หรือ Whole virion vaccine) มักจะ ทาให้เกิดปฏิกิริยาบริเวณที่ฉีด บางครั้งอาจมีไข้ร่วมด้วย อาการมักจะเริ่มหลังฉีด 3-4 ชั่วโมง และจะคงอยู่ประมาณ 1 วัน ตัวอย่างของวัคซีนในกลุ่มนี้ ได้แก่ วัคซีนไอกรน อหิวาตกโรค โปลิโอ พิษสุนัขบ้า ไวรัสตับอักเสบเอ ไข้สมอง อักเสบเจอีชนิดเชื้อตาย - วัคซีนที่ทาจากบางส่วนของแบคทีเรียหรือไวรัส (Subunit vaccine หรือ Acellular vaccine) มักมีปฏิกิริยาน้อยหลัง ฉีด เช่น ไวรัสตับอักเสบบี ไข้หวัดใหญ่ ฮิบ ไอกรนชนิดไร้เซลล์ ไทฟอยด์ชนิดฉีด นิวโมคอคคัส วัคซีนป้องกันมะเร็ง ปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี - วัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิตอ่อนฤทธิ์ (Live attenuated vaccine) ทาจากเชื้อที่ยังมีชีวิตอยู่แต่ทาให้ฤทธิ์อ่อนลงแล้ว เมื่อให้เข้า ไปในร่างกายแล้วจะยังไม่มีปฏิกิริยาทันที เช่น วัคซีนหัดจะเกิดอาการไข้ประมาณวันที่ 5 ถึงวันที่ 12 หลังฉีด ถ้าร่างกายมี ภูมิคุ้มกันเดิมอยู่บ้างอาจขัดขวางการออกฤทธิ์ของวัคซีน การให้วัคซีนกลุ่มนี้แก่ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือผู้ที่ได้รับยากด ภูมิคุ้มกันจะต้องระมัดระวัง เพราะอาจทาให้เกิดโรคจากวัคซีนได้วัคซีนในกลุ่มนี้ เช่น วัคซีนโปลิโอชนิดรับประทาน วัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน วัคซีนอีสุกอีใส วัคซีนวัณโรค วัคซีนทัยฟอยด์ชนิดรับประทาน วัคซีนโรต้า วัคซีน ไข้หวัดใหญ่ชนิดพ่นจมูก วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็น
  • 9. วัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ในปัจจุบัน มี 4 ชนิดด้วยกัน ได้แก่ 1. “Virus vaccine” คือ วัคซีนที่ผลิตจากไวรัสเอง โดยทำให้ไวรัสอ่อนแอลงไม่พอทำให้เกิดโรค แต่พอให้ร่างกายกระตุ้น ภูมิคุ้มกันต่อมัน เช่น วัคซีนหัด, sinovac 2. “Nucleic acid vaccine” เช่น DNA vaccine, RNA vaccine วิธีนี้ใช้สารพันธุกรรมในการเริ่มต้นการสร้างวัคซีนทำให้มี ความปลอดภัยมาก เช่น Pfizer, moderna 3. “Viral vector vaccine” คือใช้ไวรัสที่ทำให้อ่อนลงแล้วไม่ทำให้เกิดโรค มาตัดต่อใส่สารพันธุกรรมของ coronavirus ลง ไป เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน ยกตัวอย่างวัคซีนที่ใช้วิธีนี้เช่น วัคซีนอีโบล่า, AstraZeneca 4. “Protein-based vaccine” คือการใส่โปรตีนของไวรัส เช่น virus-like particles เพื่อไปกระตุ้นให้เกิดการสร้าง ภูมิคุ้มกัน ยกตัวอย่างวัคซีน SARS vaccine สำหรับลิง, Novavax ➸ การป้องกันโรคของวัคซีนอย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้เกิดการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคได้จะต้องประกอบด้วยหลาย ปัจจัย กล่าวคือ 1. วัคซีนจะต้องมีคุณภาพที่ดี มีการบริหารจัดการวัคซีนที่ถูกต้องเป็นระบบ และเพื่อให้ระดับภูมิคุ้มกันอยู่สูงจน สามารถป้องกันโรคได้นั้น 2. ต้องได้รับวัคซีนในช่วงเวลาที่เหมาะสม เนื่องจากวัคซีนบางชนิด ถ้าร่างกายได้รับเร็วเกินไป ร่างกายจะไม่สามารถ สร้างภูมิคุ้มกันได้เช่น วัคซีนป้องกันโรคหัด แนะนาให้ฉีดในเด็กอายุตั้งแต่ 9 เดือนขึ้นไป เพราะว่าถ้าเด็กอายุน้อย กว่านี้ วัคซีนหัดจะกระตุ้นร่างกายให้สร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคนี้ได้ไม่ดี 3. ครบถ้วนตามจานวนครั้งที่กาหนด เช่น วัคซีนบางชนิด เช่น วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอี วัคซีนป้องกัน โรคโปลิโอ คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก เป็นต้น วัคซีนต่าง ๆ เหล่านี้ เมื่อเข้าสู่ร่างกาย จะกระตุ้นให้สร้างภูมิคุ้มกัน สูงขึ้นระดับหนึ่ง แล้วระดับภูมิคุ้มกันก็จะลดลง ต้องได้รับการกระตุ้นตามจานวนครั้งที่กาหนด จึงจะมีระดับ ภูมิคุ้มกันอยู่ในระดับสูงพอในการป้องกันโรค ➸ Herd immunity หรือ Community immunity คือการให้บริการวัคซีนครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่ควรได้รับวัคซีนได้ถึง ระดับที่ทาให้เกิด Herd immunity สามารถช่วยป้องกันการเกิดโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในกลุ่มบุคคลที่ยังไม่มี ภูมิคุ้มกันต่อโรคได้ด้วย
  • 10. ระบบภูมิคุ้มกันและการเกิดโรค Blood group and blood transfusion – ABO blood group จาแนกตาม Ag ที่ผิว RBC ซึ่งคน ที่มีหมู่เลือด A จะมี Ab หมู่ B เป็นต้น -แต่เนื่องจาก blood group antigen เป็น polysacharide จึงทาให้ตอบสนองแบบ T-independent response เช่น แม่หมู่ O ตั้งครรภ์ลูกเลือดหมู่ A (Ab-b) เมื่อตอนคลอด เลือดจะไหลเข้าสู่ตัวแม่ แม่สามารถกระตุ้นการสร้าง Ab-b ได้แต่ไม่เป็นอันตรายต่อการตั้งครรภ์ลูกคนต่อมา (เลือดหมู่ B) เพราะ Ab ที่สร้างเป็น IgM ไม่สามารถ แพร่ผ่านรกได้ - แต่ในกรณีของหมู่เลือด Rh (แม่ Rh- ลูกRh+) จะเป็น อันตรายต่อการตั้งครรภ์ลูกคนต่อมา เพราะ Ab ที่สร้าง เป็น IgG สามารถแพร่ผ่านรกได้ - ภูมิแพ้ (allergy) เป็นสภาวะ hypersensitive ของร่างกายต่อ environmental Ag (allergens) มีขั้นตอนดังนี้ 1. เมื่อร่างกายเผชิญกับ allergen ครั้งแรก B cell เปลี่ยนเป็น plasma cell และหลั่ง IgE 2. บางส่วนของ IgE เข้าจับกับ Mast cell (โดยใช้ส่วนหางจับ) 3. เมื่อร่างกายได้รับ allergen อีกครั้ง allergen จะจับกับ IgE ที่อยู่บน Mast cell จึงไป กระตุ้นให้ mast cell หลั่งสาร เช่น histamine (ทาให้เกิด dilation และเพิ่ม permeability ของเส้นเลือด) เกิดอาการแพ้เช่น จาม, คัดจมูก, น้าตาไหล - Granolucytopenia คือจานวนเม็ดเลือดขาวชนิด granulocyte ลดน้อยลง ส่วนใหญ่ เกิดขึ้นในผู้ป่วยที่ได้รับยาที่กดการสร้างเม็ดเลือดขาว เช่น ยาต้านมะเร็ง หรือผู้ป่วยที่ ได้รับการฉายรังสีซึ่งกดการทางานของไขกระดูก เป็นเหตุให้ขาดเซลล์ที่ทาหน้าที่ ทาลายเชื้อโรค จึงติดเชื้อแบคทีเรียได้โดยง่าย - มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดต่างๆ ทาให้เม็ดเลือดขาวเสียหน้าที่ในระบบภูมิคุ้มกัน - ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ได้แก่ 1. บกพร่องที่ HMI เป็นเหตุให้ติดเชื้อโรคง่าย 2. บกพร่องที่ CMI เป็นเหตุให้ติดเชื้อชนิดต่างๆ โดยเฉพาะเชื้อที่อยู่ในเซลล์ ได้แก่ไวรัส (เชื้อไวรัสเป็นเชื้อที่ต้องอาศัย เซลล์ในการเพิ่มจานวน) เชื้อรา โปรโตซัว แบคทีเรียบางชนิด เช่น วัณโรค ส่วนใหญ่เป็นเชื้อที่ไม่ค่อยก่อโรคในคน ปกติ โรคที่เรารู้จักกันดีคือ โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (เอดส์) หรือ Acquired Immune Deficiency Syndrome (AIDS)
  • 11. - ภูมิต้านทานเนื้อเยื่อตนเอง เรียกว่า autoimmune didease เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันจาเซลล์ในร่ายกายไม่ได้เข้าใจว่าเป็น สิ่งแปลกปลอม จึงสร้างภูมิต้านทานต่อเซลล์เหล่านั้นของร่างกายของตนเอง เกิดโรคต่างๆ มากมาย ขึ้นอยู่กับว่าเป็นภูมิ ต้านทานต่อเซลล์ชนิดใด เช่น - systemic lupus erythematosus (SLE) หรือที่เรารู้จักกันดีว่าโรคพุ่มพวง (ภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อหลายชนิดใน ร่างกาย) - autoimmune hemolytic anemia (AIHA) (เม็ดเลือดแดงแตก จากภูมิต้านทานเม็ดเลือดแดง) - idiopathic thrombocytopenic purpura (ITP) (เกล็ดเลือดถูก ทาลายจากภูมิต้านทานเกล็ดเลือด) - ภูมิไวเกิน ได้แก่ โรคภูมิแพ้ชนิดต่างๆ เกิดจากภูมิคุ้มกันตอบสนองไวเกินต่อสารก่อภูมิแพ้ - rheumatoid arthritis (ภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อรอบข้อ เป็นเหตุให้ข้ออักเสบเรื้อรัง)