SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
Cellular Pathology
พิษณุ ดวงกระโทก
Preface
• เซลล์ทุกเซลล์จะพยายามรักษาสมดุล (Homeostasis) เพื่อความอยู่รอด
และทาหน้าที่ได้อย่างปกติ
• ปัจจัยทั้งภายในและภายนอก
ปัจจัยภายในเซลล์จะถูกควบคุมโดยสารพันธุกรรม
ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ปริมาณของอาหารและสารที่จาเป็น
สภาพแวดล้อมภายนอกและเซลล์ข้างเคียง
การตอบสนองของเซลล์ (Cellular response) ต่อ Stimuli
การตอบสนองของเซลล์ในแต่ละเซลล์ขึ้นอยู่กับ
• ชนิดของเซลล์
• ชนิดและความรุนแรงของสิ่งเร้า (stimuli)
• ระยะเวลาที่เซลล์สัมผัสกับสิ่งเร้า (stimuli)
เซลล์ในร่างกายอาจจะแบ่งชนิดตามความสามารถในการแบ่งตัวเพิ่ม
จานวนได้เป็น 3 ชนิดคือ
1. Labile cells ได้แก่ เซลล์ผิวหนัง เซลล์เยื่อบุทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ทางเดิน
ปัสสาวะ และ เซลล์ไขกระดูก เซลล์เหล่านี้จะมีอายุขัยสั้น (short life span) สามารถเพิ่ม
จานวนทดแทนเซลล์ที่หมดอายุได้ตลอด
2. Stable cells ได้แก่ เซลล์ตับ และ เซลล์กระดูก (Osteoblasts) ซึ่งโดยปกติเซลล์เหล่านี้จะ
ไม่เพิ่มจานวน แต่จะมีการสร้างทดแทนเซลล์ ส่วนที่ถูกทาลายหรือหายไป
3. Permanent cells ได้แก่ เซลล์ประสาท (Neuron) เซลล์กล้ามเนื้อลาย (Skeletal
myocytes) และ เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac myocytes) เพิ่มจานวนได้เฉพาะระยะตัว
อ่อนเท่านั้น ไม่สามารถเพิ่มจานวนหรือทดแทนได้อีก
External Stimuli เป็นสิ่งเร้าทางกายภาพ (Physical stimuli) ทาให้เซลล์
และเนื้อเยื่อบาดเจ็บในปริมาณมาก เป็นสาเหตุให้เสียชีวิตทันที
Internal Stimuli เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม ทาให้ขาดเอนไซม์ใน
ขบวนการเมตาบอลิซึม ทาให้เซลล์บาดเจ็บและตายในที่สุด
Cellular adaptation is
the ability of cells to
respond to various types
of stimuli and adverse
environmental changes.
These adaptations include.
เซลล์กล้ามเนื้อลายเพิ่ม
ปริมาณไฟเบอร์ภายใน
เซลล์ทาให้เซลล์มีขนาดโต
ขึ้น (Hypertrophy)
ถ้าสิ่งเร้า (stimuli) มีความรุนแรงมาก เซลล์ไม่สามารถปรับตัวได้ จะทาให้
เซลล์บาดเจ็บ เรียกว่า Cellular injury
การบาดเจ็บของเซลล์ที่ไม่รุนแรงมากและเซลล์สามารถเปลี่ยนแปลงกลับ
สู่ภาวะปกติได้ เรียกว่า Reversible injury (Non-lethal injury)
สิ่งเร้า (stimuli) นั้นรุนแรงมาก หรือ เกิดขึ้นต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทาให้
เซลล์บาดเจ็บรุนแรงแบบถาวร จนเป็นผลให้เซลล์ตาย เรียกว่า Irreversible
injury (Lethal injury)
Intracellular accumulation
The normal cell accumulate abnormal amount of substance either for
temporary or permanently which may be harmful to the cell and may
cause injury.
มีการสะสมของแคลเซี่ยมในเนื้อเยื่อ ที่เรียกว่า Calcification
เนื่องจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า (stimuli) ไม่รุนแรงที่เกิดขึ้นตลอดชีวิต
ดังนั้น สิ่งเร้า (stimuli) แม้ไม่รุนแรงจนเป็นเหตุให้เซลล์ตาย จะทาให้ Organelles
ต่างๆ และ ส่วนประกอบภายในเซลล์มีการเปลี่ยนแปลงที่เรียกว่า Subcellular
response
สิ่งเร้าที่ไม่ได้ก่อโรคหรือพยาธิสภาพ
เรียกว่า Physiologic stimuli
สิ่งเร้าที่ก่อโรคหรือที่เกิดจากการเป็น
โรค เรียกว่า Pathologic stimuli
ส่วนใหญ่การปรับตัวของเซลล์ เป็น
ผลจาก Physiologic stimuli แต่อาจจะ
พบว่า Pathologic stimuli บางอย่างที่
ไม่รุนแรง และเกิดขึ้นอย่างช้าๆ เซลล์
สามารถปรับตัวได้ และไม่บาดเจ็บ
Hepatic encephalopathy is a nervous system disorder brought on by
severe liver disease. When the liver doesn’t work properly, toxins build up in the
blood. These toxins can travel to the brain and affect brain function.
Hypertrophy
การปรับตัวของเซลล์โดยการเพิ่มขนาด (Increase in cell size) ในภาวะ
ที่สัมผัสกับสิ่งเร้า ที่ต้องการให้เซลล์ทางานเพิ่มขึ้น (Increase functional
demands) เพิ่มทั้งขนาดและจานวนของเซลล์ แต่ เซลล์ที่ไม่สามารถแบ่งตัวได้
อีก (Permanent cells) จะปรับตัวโดยการเพิ่มขนาด ทาให้ เนื้อเยื่อ และ อวัยวะ
นั้นมีขนาดใหญ่ขึ้นตาม
Hypertrophy ที่เป็น Physiological hypertrophy ได้แก่ ในระยะ
ตั้งครรภ์ ผลของฮอร์โมนทาให้กล้ามเนื้อมดลูกมีขนาดใหญ่ขึ้น ส่งผลให้มดลูก
ใหญ่ขึ้น รองรับตัวอ่อนที่โตขึ้นในครรภ์ เป็นต้น
Hypertrophy ที่เป็น Pathologic hypertrophy ได้แก่
- กรณีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงเรื้อรัง ได้รับการรักษาหรือทานยาไม่ต่อเนื่อง
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้าย (Left ventricle) ต้องทางานหนักเพื่อออกแรงสูบ
ฉีดโลหิตเข้าสู่ Aorta ที่มีแรงดันเลือดสูง ผลทาให้กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้าย
โตขึ้นและหนาขึ้น
- ผู้ป่วยที่มีลิ้นหัวใจ aortic ตีบ (Aortic valve stenosis) กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่าง
ซ้าย (Left ventricle) ต้องออกแรงสูบฉีดโลหิตผ่านลิ้นหัวใจ ผลทาให้กล้ามเนื้อ
หัวใจห้องล่างซ้ายโตขึ้นและหนาขึ้น เป็นต้น
ในบางครั้งการปรับตัวของเซลล์ที่เกิดขึ้น อาจจะไม่ส่งผลให้เซลล์โตขึ้นชัดๆ
แต่จะพบการเปลี่ยนแปลงของ organelle บางอย่างภายในเซลล์ เช่น ผู้ป่วยโรค
ลมชัก ที่รับประทานยา Barbiturate เป็นประจาจะพบ Endoplasmic
reticulum ในเซลล์ตับมีขนาดใหญ่ขึ้น (Hypertrophy of ER) ซึ่งเป็นผลจาก
การที่เซลล์ปรับตัว มีการเพิ่มปริมาณของเอนไซม์ cytochrome P-450
เพื่อทาลายหรือสลายยา Barbiturate ส่งผลให้ต้องเพิ่มปริมาณยา
Barbiturate ในการควบคุมอาการชักของผู้ป่วย
Barbiturate

More Related Content

Similar to Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf

บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
สเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดสเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดUtai Sukviwatsirikul
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิตChidchanok Puy
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิตChidchanok Puy
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)pitsanu duangkartok
 
5บทที่ 1
5บทที่ 15บทที่ 1
5บทที่ 1pop Jaturong
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์Krupol Phato
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปPijak Insawang
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาI'mike Surayut
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตฟลุ๊ค ลำพูน
 
สื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายสื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายsaengthawan
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxBewwyKh1
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 

Similar to Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf (20)

บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
สเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดสเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัด
 
โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]
 
Cell
CellCell
Cell
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
 
5บทที่ 1
5บทที่ 15บทที่ 1
5บทที่ 1
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
สื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายสื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกาย
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 

More from pitsanu duangkartok

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...pitsanu duangkartok
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfpitsanu duangkartok
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfpitsanu duangkartok
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1pitsanu duangkartok
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfpitsanu duangkartok
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfpitsanu duangkartok
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfpitsanu duangkartok
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfpitsanu duangkartok
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfpitsanu duangkartok
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)pitsanu duangkartok
 
สรีรวิทยา (part 2).pdf
สรีรวิทยา (part 2).pdfสรีรวิทยา (part 2).pdf
สรีรวิทยา (part 2).pdfpitsanu duangkartok
 

More from pitsanu duangkartok (20)

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
 
steroid.pdf
steroid.pdfsteroid.pdf
steroid.pdf
 
Hormone exercise
Hormone exerciseHormone exercise
Hormone exercise
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
Pharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptxPharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptx
 
Metabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdfMetabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdf
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Common Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdfCommon Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdf
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)
 
สรีรวิทยา (part 2).pdf
สรีรวิทยา (part 2).pdfสรีรวิทยา (part 2).pdf
สรีรวิทยา (part 2).pdf
 

Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf

  • 2. Preface • เซลล์ทุกเซลล์จะพยายามรักษาสมดุล (Homeostasis) เพื่อความอยู่รอด และทาหน้าที่ได้อย่างปกติ • ปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ปัจจัยภายในเซลล์จะถูกควบคุมโดยสารพันธุกรรม ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ปริมาณของอาหารและสารที่จาเป็น สภาพแวดล้อมภายนอกและเซลล์ข้างเคียง
  • 3. การตอบสนองของเซลล์ (Cellular response) ต่อ Stimuli การตอบสนองของเซลล์ในแต่ละเซลล์ขึ้นอยู่กับ • ชนิดของเซลล์ • ชนิดและความรุนแรงของสิ่งเร้า (stimuli) • ระยะเวลาที่เซลล์สัมผัสกับสิ่งเร้า (stimuli)
  • 4. เซลล์ในร่างกายอาจจะแบ่งชนิดตามความสามารถในการแบ่งตัวเพิ่ม จานวนได้เป็น 3 ชนิดคือ 1. Labile cells ได้แก่ เซลล์ผิวหนัง เซลล์เยื่อบุทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ทางเดิน ปัสสาวะ และ เซลล์ไขกระดูก เซลล์เหล่านี้จะมีอายุขัยสั้น (short life span) สามารถเพิ่ม จานวนทดแทนเซลล์ที่หมดอายุได้ตลอด 2. Stable cells ได้แก่ เซลล์ตับ และ เซลล์กระดูก (Osteoblasts) ซึ่งโดยปกติเซลล์เหล่านี้จะ ไม่เพิ่มจานวน แต่จะมีการสร้างทดแทนเซลล์ ส่วนที่ถูกทาลายหรือหายไป 3. Permanent cells ได้แก่ เซลล์ประสาท (Neuron) เซลล์กล้ามเนื้อลาย (Skeletal myocytes) และ เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac myocytes) เพิ่มจานวนได้เฉพาะระยะตัว อ่อนเท่านั้น ไม่สามารถเพิ่มจานวนหรือทดแทนได้อีก
  • 5. External Stimuli เป็นสิ่งเร้าทางกายภาพ (Physical stimuli) ทาให้เซลล์ และเนื้อเยื่อบาดเจ็บในปริมาณมาก เป็นสาเหตุให้เสียชีวิตทันที Internal Stimuli เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม ทาให้ขาดเอนไซม์ใน ขบวนการเมตาบอลิซึม ทาให้เซลล์บาดเจ็บและตายในที่สุด
  • 6. Cellular adaptation is the ability of cells to respond to various types of stimuli and adverse environmental changes. These adaptations include. เซลล์กล้ามเนื้อลายเพิ่ม ปริมาณไฟเบอร์ภายใน เซลล์ทาให้เซลล์มีขนาดโต ขึ้น (Hypertrophy)
  • 7.
  • 8. ถ้าสิ่งเร้า (stimuli) มีความรุนแรงมาก เซลล์ไม่สามารถปรับตัวได้ จะทาให้ เซลล์บาดเจ็บ เรียกว่า Cellular injury การบาดเจ็บของเซลล์ที่ไม่รุนแรงมากและเซลล์สามารถเปลี่ยนแปลงกลับ สู่ภาวะปกติได้ เรียกว่า Reversible injury (Non-lethal injury) สิ่งเร้า (stimuli) นั้นรุนแรงมาก หรือ เกิดขึ้นต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทาให้ เซลล์บาดเจ็บรุนแรงแบบถาวร จนเป็นผลให้เซลล์ตาย เรียกว่า Irreversible injury (Lethal injury)
  • 9. Intracellular accumulation The normal cell accumulate abnormal amount of substance either for temporary or permanently which may be harmful to the cell and may cause injury. มีการสะสมของแคลเซี่ยมในเนื้อเยื่อ ที่เรียกว่า Calcification เนื่องจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า (stimuli) ไม่รุนแรงที่เกิดขึ้นตลอดชีวิต ดังนั้น สิ่งเร้า (stimuli) แม้ไม่รุนแรงจนเป็นเหตุให้เซลล์ตาย จะทาให้ Organelles ต่างๆ และ ส่วนประกอบภายในเซลล์มีการเปลี่ยนแปลงที่เรียกว่า Subcellular response
  • 10. สิ่งเร้าที่ไม่ได้ก่อโรคหรือพยาธิสภาพ เรียกว่า Physiologic stimuli สิ่งเร้าที่ก่อโรคหรือที่เกิดจากการเป็น โรค เรียกว่า Pathologic stimuli ส่วนใหญ่การปรับตัวของเซลล์ เป็น ผลจาก Physiologic stimuli แต่อาจจะ พบว่า Pathologic stimuli บางอย่างที่ ไม่รุนแรง และเกิดขึ้นอย่างช้าๆ เซลล์ สามารถปรับตัวได้ และไม่บาดเจ็บ
  • 11. Hepatic encephalopathy is a nervous system disorder brought on by severe liver disease. When the liver doesn’t work properly, toxins build up in the blood. These toxins can travel to the brain and affect brain function.
  • 12. Hypertrophy การปรับตัวของเซลล์โดยการเพิ่มขนาด (Increase in cell size) ในภาวะ ที่สัมผัสกับสิ่งเร้า ที่ต้องการให้เซลล์ทางานเพิ่มขึ้น (Increase functional demands) เพิ่มทั้งขนาดและจานวนของเซลล์ แต่ เซลล์ที่ไม่สามารถแบ่งตัวได้ อีก (Permanent cells) จะปรับตัวโดยการเพิ่มขนาด ทาให้ เนื้อเยื่อ และ อวัยวะ นั้นมีขนาดใหญ่ขึ้นตาม
  • 13. Hypertrophy ที่เป็น Physiological hypertrophy ได้แก่ ในระยะ ตั้งครรภ์ ผลของฮอร์โมนทาให้กล้ามเนื้อมดลูกมีขนาดใหญ่ขึ้น ส่งผลให้มดลูก ใหญ่ขึ้น รองรับตัวอ่อนที่โตขึ้นในครรภ์ เป็นต้น Hypertrophy ที่เป็น Pathologic hypertrophy ได้แก่ - กรณีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงเรื้อรัง ได้รับการรักษาหรือทานยาไม่ต่อเนื่อง กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้าย (Left ventricle) ต้องทางานหนักเพื่อออกแรงสูบ ฉีดโลหิตเข้าสู่ Aorta ที่มีแรงดันเลือดสูง ผลทาให้กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้าย โตขึ้นและหนาขึ้น - ผู้ป่วยที่มีลิ้นหัวใจ aortic ตีบ (Aortic valve stenosis) กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่าง ซ้าย (Left ventricle) ต้องออกแรงสูบฉีดโลหิตผ่านลิ้นหัวใจ ผลทาให้กล้ามเนื้อ หัวใจห้องล่างซ้ายโตขึ้นและหนาขึ้น เป็นต้น
  • 14.
  • 15. ในบางครั้งการปรับตัวของเซลล์ที่เกิดขึ้น อาจจะไม่ส่งผลให้เซลล์โตขึ้นชัดๆ แต่จะพบการเปลี่ยนแปลงของ organelle บางอย่างภายในเซลล์ เช่น ผู้ป่วยโรค ลมชัก ที่รับประทานยา Barbiturate เป็นประจาจะพบ Endoplasmic reticulum ในเซลล์ตับมีขนาดใหญ่ขึ้น (Hypertrophy of ER) ซึ่งเป็นผลจาก การที่เซลล์ปรับตัว มีการเพิ่มปริมาณของเอนไซม์ cytochrome P-450 เพื่อทาลายหรือสลายยา Barbiturate ส่งผลให้ต้องเพิ่มปริมาณยา Barbiturate ในการควบคุมอาการชักของผู้ป่วย Barbiturate