SlideShare a Scribd company logo
ระบบภูมิคุมกัน คืออะไร ?
ระบบภูมิคุมกัน คือกุญแจดอกสําคัญสําหรับการดูแลสุขภาพ โดยจะชวยใน
การปกปองเรา จากโรคทุกชนิดตั้งแตโรคหวัดจนถึงโรคมะเร็งนอกจากนั้นยัง
สามารถชวยตอสู กับพิษและชะลอความชรา ดังนั้น หากเราใชชีวิตโดยไม
คํานึงถึงสุขภาพอันเกิดจากปจจัยตาง ๆ เชน การรับประทานอาหาร , การ อยู
ในสภาพแวดลอมตาง ๆ สิ่งเหลานี้ลวนแลวแตบั่นทอนระบบภูมิคุนกันให
ออนแอลงและสิ่งที่ตามมา คือ เรามีโอกาสที่จะเปนโรคตาง ๆ ไดงายขึ้น
ระบบภูมิคุมกันทํางานอยางไร ?
ระบบ ภูมิคุมกันจะทําหนาที่เสมือนกองทัพที่
ปกปองรางกาย สวนใหญจะอยูในระบบทางเดินน้ําเหลือง
และกระแสเลือด โดยจะทําหนาที่
1. ทําลายแบคทีเรียที่มารุกราน
2. กําจัดเนื้อเยื่อที่ตายและถูกทําลายลง
ระบบภูมิคุนกันจะสามารถทํางานไดประสิทธิภาพสูงสุด
ตอเมื่อมี ดุลยภาพที่สมบูรณ เชน ลําไสของเรานั้นจะมีทั้ง
แบคทีเรียที่ดีและอันตรายอยูดวยกัน ตราบใดที่แบคทีเรียทั้ง
2 ชนิด ในลําไสอยูดวยกันอยางสมดุลนั้นระบบการยอยก็จะ
แข็งแรงแตในทางตรงขามกันหากแบคทีเรียทั้ง 2 ชนิด ใน
ลําไสอยูกันแบบไรสมดุลก็จะเกิดปญหาในเรื่องของระบบ
การยอยและอาจติดเชื้อได
ศัตรูของระบบภูมิคุมกัน ?
- เซลล ของระบบภูมิคุมกันนั้นตองการสารอาหารบาง
ประเภทเพื่อชวยใหทํางานไดอยาง มีประสิทธิผล เชน อินเตอรเฟยรอน นั้นเปนสารตานไวรัส
และมะเร็งที่ถูกขับออกมาโดยเนื้อเยื่อทั่วรางกายก็ ตองการ Vitamin C ดังนั้น การบริโภค
อาหารที่ขาดสารอาหารที่สมดุลก็จะบั่นทอนระบบภูมิคุมกันใหออนแอ ลง นอกจากนั้นศัตรูที่
สําคัญ ๆ นอกจากการบริโภคอาหารแลวไดแก ความเครียด การสูบบุหรี่ ขาดการออกกําลัง
กาย พักผอนไมเพียงพอ การบริโภคแอลกอฮอลและคาเฟอีนมาก มลพิษตาง ๆ รวมถึงการ
บริโภคยาปฏิชีวนะตาง ๆ อีกดวย
ภูมิคุมกันต่ําเปนอยางไร ?
- ระบบภูมิคุมกันที่ดอยประสิทธิภาพจะสงสัญญาณใหเห็นไดงาย ๆ เชน การที่คนเราปวยเปน
หวัดกันปละ 1-2 ครั้ง และบางครั้งอาจทําใหเราติดเชื้อบอยครั้งขึ้น นอกจากนี้ยังมีอาการอื่น
ๆ อีก ไดแก ระบบการยอยผิดปกติ อาการปวดเมื่อยตามตัวและขอ กลามเนื้อออนแรง
ผิวหนังหมองคล้ํา
Transfer Factor คืออะไร
วารสาร ฟารมาไทม [ปที่ 7 ฉบับที่ 73 มกราคม 2552]
“ฟารมาไทม” เปนวารสารรายเดือน มุงนําเสนอขอมูล ขาวสาร ความรูและ
ความกาวหนาใหม ๆ ทัศนะ และกิจกรรมตาง ๆ ของประชาคมผูประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรรมทั้งในภาครัฐและเอกชน
โดยเฉพาะอยางยิ่ง “ฟารมาไทม” เปนแหลงขอมูลทางวิชาการเพิ่มเติม
สําหรับเภสัชกรสาขาตาง ๆ และรวมถึงนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร เพื่อดํารงไวซึ่ง
มาตรฐานในการประกอบอาชีพและการเตรียมพรอมในการกาวสูความเปน
บุคลากรที่มีคุณภาพของวิชาชีพนี้
น้ํานมแรกของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม และ Transfer Factor
ปกติน้ํานมแมของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม จัดเปนอาหารที่ดีที่สุดสําหรับทารกหรือลูกนอย ธรรมชาติได
จัดสรรใหน้ํานมของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมมีคุณภาพเหมาะสมสําหรับลูก น้ํานมเปนแหลงโปรตีนที่สําคัญซึ่งมี
คุณภาพสูง มีไขมันที่เรียกวา มันเนย ซึ่งเปนแหลงใหพลังงาน มีกรดไขมันที่จําเปนตอรางกายมาก มี
คารโบไฮเดรตและน้ําตาลแล็คโตสที่จะชวยดูดซึมฟอสฟอรัสและแคลเซียม ซึ่งมีอยูมากในน้ํานมไดดี
นอกจากนี้ ยังมี vitamin มากมาย เชน vitamin A, B1, B2, Niacin และ vitamin C เปนตน
ใน 4 -7 วันแรกของน้ํานมแม หรือที่เราเรียกวา “น้ํานมแรก” จะมีน้ํานมน้ําเหลือง (colostrum) ไหล
ออกมาประมาณวันละ 10-40 ซีซี. ซึ่งน้ํานมน้ําเหลืองหรือน้ํานมแรกนี้ จะประกอบดวย protein และ เกลือแร
ที่สูงกวาปกติของน้ํานมทั่วไป แตจะมีไขมันและน้ําตาล lactose ต่ํากวา
ขอดีเดนของน้ํานมแรกหรือน้ํานมน้ําเหลืองก็คือมีภูมิตานทานโรคในปริมาณที่สูง โดยมีสารสําคัญตัว
หนึ่งที่ชื่อวา Transfer Factor (ทรานสเฟอร แฟกเตอร) อยูในน้ํานมแรกนี้ ซึ่งไดถูกคนพบโดย Dr. H.
Sherwood Lawrence (ดร. เอช เชอรวูด ลอเรนซ) ในป ค.ศ.1949 จากนั้นจึงไดมีการคนควาศึกษาวิจัย
อยางตอเนื่อง พบวา Transfer Factor นี้เปน protein ขนาดเล็กที่ประกอบดวย amino acid จํานวน 44 ตัว
และเนื่องจากมีน้ําหนักโมเลกุลไมเกิน 10,000 และเล็กมาก จึงไมเปน antigen ดังนั้น เมื่อ Transfer
Factor เขาสูรางกายจึงไมถูก immune system ทําลาย ทําใหคงอยูในรางกายไดนาน บางทีเปนป ๆ
Transfer Factor ซึ่งมีความหมายวา ตัวปจจัย (factor) ทําหนาที่ถายทอด (transfer) ของ
สิ่งมีชีวิตที่มีภูมิตานทานตอ antigen ชนิดหนึ่งซึ่งเมื่อนําไปใหกับสิ่งมีชีวิตที่ไมเคยไดรับ antigen นั้นมากอน
ก็จะสามารถชักนําใหสิ่งมีชีวิตที่ไดรับ Transfer Factor มีภูมิตานทานตอ antigen ดังกลาวเกิดขึ้น นั่นคือ
ทําใหเกิด passive cellular immunity ได หรือความสามารถในการแสดงออกของภูมิตานทานแบบ cell
mediated immunity จากผูใหที่มีภูมิคุมกันไปสูผูรับที่ไมมีภูมิคุมกัน หรืออาจกลาวไดวา Transfer Factor
เปน dialyzable materials ที่ไดมาจาก sensitized lymphocytes มีคุณสมบัติเปลี่ยน non-sensitized T
lymphocyte เปน sensitized T lymphocyte ซึ่งหลังจากเปลี่ยนสภาพแลว เมื่อพบ antigen (ที่ specific
ตอ Transfer Factor) ก็จะประพฤติตัวเชนเดียวกับ sensitized T lymphocyte มีขอสังเกตวา ถาเอา
lymphocyte ของคนหรือสัตวที่ไดรับ Transfer Factor เชนกันอีกแลวนํามาสกัดก็จะได Transfer
Factor อีก
กลไกการทํางานของ Transfer Factor
กลไกการทํางานของ Transfer Factor ก็ยังไมทราบแนชัด บางก็สันนิษฐานวา Transfer
Factor ซึ่งเปน single-stranded polynucleotide อาจเขาไปใน T lymphocyte และให information แก T
lymphocyte หรือ Transfer Factor เอง อาจถูกนําไปสรางเปน specific antigen receptor บน
lymphocyte ได โดยอาศัยหลักของการชักนํา (inducer fraction) การกระตุนและสราง antibody เฉพาะ
อยาง (antigen specific fraction) และการระงับหรือยับยั้ง (suppressor fraction)
Transfer Factor ถูกนํามาใชประโยชนอยางไร
ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรไดนํา Transfer Factor มาใชประโยชนหลายดาน เนื่องจากทราบ
วา Transfer Factor จะใหความฉลาดกับภูมิคุมกันซึ่งถูกถายทอดเพื่อจะใชในการจดจําขอมูลจากเซลล
หนึ่งไปยังอีกเซลลหนึ่ง โดย Transfer Factor จะทําหนาที่เสมือนอาจารยใหความรูกับเซลลใหมที่ผลิตขึ้น
ในรางกาย เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพของระบบภูมิคุมกันที่แข็งแรง เพื่อการอยูรอดของเซลลที่เกิดใหมใน
สภาพแวดลอมใหม รวมทั้งทําใหการสื่อสารและการแลกเปลี่ยนขอมูลเกี่ยวกับภูมิคุมกันระหวางเซลลใน
รางกายใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น จึงไดมีการนํามาใชในกรณีของ
1. Immunodeficiency เพื่อชวยเพิ่มภูมิตานทานใหกับรางกาย โดยมีขอดีคือ ไมทําใหเกิดปฏิกิริยา
graft versus host ในผูรับที่มี immunodeficiency ดังการให lymphocyte เนื่องจาก Transfer Factor
เปนการให cellular immunity โดยแทจริง ซึ่งผิดกับการให lymphocyte ที่มักจะมี B lymphocyte ปะปนไป
กับ T lymphocyte เสมอ ทําใหได humoral immunity ดวย ซึ่งไมเปนที่ตองการในการรักษา
2. ชวยเพิ่มเซลลตานมะเร็ง (Anti-cancer)
3. ชวยเพิ่มเซลลตานเซลลติดเชื้อ (infectious disease) ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อ bacteria, virus, เชื้อรา
เชน เปนหวัด เจ็บคอ วัณโรค ตับอักเสบ เริม ไซนัส เปนตน
4. ชวยปรับความสมดุลของภูมิคุมกันบกพรอง (HIV)
5. ชวยลดอาการภูมิแพตัวเอง เชน SLE ขออักเสบและการอักเสบอื่น ๆ
6. ชวยลดอาการภูมิแพ หอบหืด ขึ้นผื่น แพอากาศ
7. โรคผิวหนังบางชนิด ชวยลดปญหา เชน Eczema เปนตน
ปจจุบันนี้ Transfer Factor นอกจากจะพบในน้ํานมแรกของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมแลว ยังสามารถพบใด
ไขแดงดวย ซึ่งก็ไดมีการสกัดสาร Transfer Factor มาใชประโยชนทางการแพทย โดยสกัดจากน้ํานมแรก
หรือน้ํานมน้ําเหลือง (colostrum) ของวัว และจากไขแดง ในรูปแบบของการใชรับประทาน จึงเปน
ความกาวหนาทางการแพทยและโลกวิทยาการยุคใหม เพื่อใชในการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบภูมิคุมกัน
ตาง ๆ ของมนุษยในการตอสูกับโรคภัยไขเจ็บตาง ๆ ไมวาจะเปนเรื่องของโรคติดเชื้อ ภูมิแพ ภูมิตานทานต่ํา
ภูมิคุมกันบกพรอง และโรคมะเร็ง
Reference:
1. คูมืออิมมูโนวิทยา คณะผูเรียบเรียง สุทธิพันธ สาระสมบัติ วิบูลยศรี พิมลพันธุ สายสุนี วนดุรงควรรณ นภา
ธร บานชื่น บรรณาธิการโดย ศ.นพ.ประเสริฐ ทองเจริญ หนา 87-88
2. มะเร็ง การรักษาและการปองกัน โดย รศ.พญ. สุพัตรา แสงรุจิ แผนกรังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร
ศิริราชพยาบาล
3. PDR for Nonprescription Drugs, Dietary Supplement, and Herbs 29 edition, 2008
4. รศ.นพ. เบญจะ เพชรคลอย ความรูพื้นฐานและการทดสอบอิมมูโนวิทยา (ป 25)
5. ดร. สนิท มกรแกวเกยูร ภูมิคุมกันระบบเซลลและสารออกฤทธิ์ คูมือภูมิคุมกันวิทยา รวบรวมโดย ศักดิ์ชัย
เดชตรัยรัตน ภาควิชาภูมิคุมกันวิทยาคลินิก คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2530
6. Sean C Sweetman, Martindale (Thirty-fifth edition), 2007
7. Rak, AV et al. Effectiveness of Transfer Factor (TF) in the Treatment of Osteomyelitis
Patients. International Symposium in Moscow 2002, Nov. 5-7, 62-63
Patients, Russian Journal of HIV, AIDS and Related Problems 2002, 1, 79-80
8. Granitor, VM et al. Usage of Transfer Factor Plus in Treatment of HIV Infected

More Related Content

Viewers also liked

ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
kasidid20309
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
oraneehussem
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
oraneehussem
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
oraneehussem
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
oraneehussem
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (6)

ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com

Immune2551
Immune2551Immune2551
Immune2551
Issara Mo
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
BewwyKh1
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
4LIFEYES
 
Tf tri factor
Tf tri factorTf tri factor
Tf tri factor
4LIFEYES
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
pitsanu duangkartok
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
Thitaree Samphao
 
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันบทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันJurarud Porkhum
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
pitsanu duangkartok
 
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีแนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
elearning obste
 
Product training 22 jan 2011 thai
Product training 22 jan 2011 thaiProduct training 22 jan 2011 thai
Product training 22 jan 2011 thaiSiam Hua Hin
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
mewsanit
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนPawat Logessathien
 
4 life fast talk
4 life fast talk4 life fast talk
4 life fast talkAroka
 
Sle pdf01
Sle pdf01Sle pdf01
Sle pdf01
Thanapohn
 
sle-pdf
sle-pdfsle-pdf
sle-pdf
Thanapohn
 
Opp nan
Opp nanOpp nan
Opp nanpyopyo
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
4LIFEYES
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิตChidchanok Puy
 

Similar to ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com (20)

Immune2551
Immune2551Immune2551
Immune2551
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
Tf tri factor
Tf tri factorTf tri factor
Tf tri factor
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันบทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
 
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีแนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
 
Product training 22 jan 2011 thai
Product training 22 jan 2011 thaiProduct training 22 jan 2011 thai
Product training 22 jan 2011 thai
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
 
4 life fast talk
4 life fast talk4 life fast talk
4 life fast talk
 
Sle pdf01
Sle pdf01Sle pdf01
Sle pdf01
 
sle-pdf
sle-pdfsle-pdf
sle-pdf
 
Opp nan
Opp nanOpp nan
Opp nan
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 

ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com

  • 1. ระบบภูมิคุมกัน คืออะไร ? ระบบภูมิคุมกัน คือกุญแจดอกสําคัญสําหรับการดูแลสุขภาพ โดยจะชวยใน การปกปองเรา จากโรคทุกชนิดตั้งแตโรคหวัดจนถึงโรคมะเร็งนอกจากนั้นยัง สามารถชวยตอสู กับพิษและชะลอความชรา ดังนั้น หากเราใชชีวิตโดยไม คํานึงถึงสุขภาพอันเกิดจากปจจัยตาง ๆ เชน การรับประทานอาหาร , การ อยู ในสภาพแวดลอมตาง ๆ สิ่งเหลานี้ลวนแลวแตบั่นทอนระบบภูมิคุนกันให ออนแอลงและสิ่งที่ตามมา คือ เรามีโอกาสที่จะเปนโรคตาง ๆ ไดงายขึ้น ระบบภูมิคุมกันทํางานอยางไร ? ระบบ ภูมิคุมกันจะทําหนาที่เสมือนกองทัพที่ ปกปองรางกาย สวนใหญจะอยูในระบบทางเดินน้ําเหลือง และกระแสเลือด โดยจะทําหนาที่ 1. ทําลายแบคทีเรียที่มารุกราน 2. กําจัดเนื้อเยื่อที่ตายและถูกทําลายลง ระบบภูมิคุนกันจะสามารถทํางานไดประสิทธิภาพสูงสุด ตอเมื่อมี ดุลยภาพที่สมบูรณ เชน ลําไสของเรานั้นจะมีทั้ง แบคทีเรียที่ดีและอันตรายอยูดวยกัน ตราบใดที่แบคทีเรียทั้ง 2 ชนิด ในลําไสอยูดวยกันอยางสมดุลนั้นระบบการยอยก็จะ แข็งแรงแตในทางตรงขามกันหากแบคทีเรียทั้ง 2 ชนิด ใน ลําไสอยูกันแบบไรสมดุลก็จะเกิดปญหาในเรื่องของระบบ การยอยและอาจติดเชื้อได ศัตรูของระบบภูมิคุมกัน ? - เซลล ของระบบภูมิคุมกันนั้นตองการสารอาหารบาง ประเภทเพื่อชวยใหทํางานไดอยาง มีประสิทธิผล เชน อินเตอรเฟยรอน นั้นเปนสารตานไวรัส และมะเร็งที่ถูกขับออกมาโดยเนื้อเยื่อทั่วรางกายก็ ตองการ Vitamin C ดังนั้น การบริโภค อาหารที่ขาดสารอาหารที่สมดุลก็จะบั่นทอนระบบภูมิคุมกันใหออนแอ ลง นอกจากนั้นศัตรูที่ สําคัญ ๆ นอกจากการบริโภคอาหารแลวไดแก ความเครียด การสูบบุหรี่ ขาดการออกกําลัง กาย พักผอนไมเพียงพอ การบริโภคแอลกอฮอลและคาเฟอีนมาก มลพิษตาง ๆ รวมถึงการ บริโภคยาปฏิชีวนะตาง ๆ อีกดวย ภูมิคุมกันต่ําเปนอยางไร ? - ระบบภูมิคุมกันที่ดอยประสิทธิภาพจะสงสัญญาณใหเห็นไดงาย ๆ เชน การที่คนเราปวยเปน หวัดกันปละ 1-2 ครั้ง และบางครั้งอาจทําใหเราติดเชื้อบอยครั้งขึ้น นอกจากนี้ยังมีอาการอื่น ๆ อีก ไดแก ระบบการยอยผิดปกติ อาการปวดเมื่อยตามตัวและขอ กลามเนื้อออนแรง ผิวหนังหมองคล้ํา
  • 2. Transfer Factor คืออะไร วารสาร ฟารมาไทม [ปที่ 7 ฉบับที่ 73 มกราคม 2552] “ฟารมาไทม” เปนวารสารรายเดือน มุงนําเสนอขอมูล ขาวสาร ความรูและ ความกาวหนาใหม ๆ ทัศนะ และกิจกรรมตาง ๆ ของประชาคมผูประกอบวิชาชีพ เภสัชกรรมทั้งในภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะอยางยิ่ง “ฟารมาไทม” เปนแหลงขอมูลทางวิชาการเพิ่มเติม สําหรับเภสัชกรสาขาตาง ๆ และรวมถึงนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร เพื่อดํารงไวซึ่ง มาตรฐานในการประกอบอาชีพและการเตรียมพรอมในการกาวสูความเปน บุคลากรที่มีคุณภาพของวิชาชีพนี้ น้ํานมแรกของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม และ Transfer Factor ปกติน้ํานมแมของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม จัดเปนอาหารที่ดีที่สุดสําหรับทารกหรือลูกนอย ธรรมชาติได จัดสรรใหน้ํานมของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมมีคุณภาพเหมาะสมสําหรับลูก น้ํานมเปนแหลงโปรตีนที่สําคัญซึ่งมี คุณภาพสูง มีไขมันที่เรียกวา มันเนย ซึ่งเปนแหลงใหพลังงาน มีกรดไขมันที่จําเปนตอรางกายมาก มี คารโบไฮเดรตและน้ําตาลแล็คโตสที่จะชวยดูดซึมฟอสฟอรัสและแคลเซียม ซึ่งมีอยูมากในน้ํานมไดดี นอกจากนี้ ยังมี vitamin มากมาย เชน vitamin A, B1, B2, Niacin และ vitamin C เปนตน ใน 4 -7 วันแรกของน้ํานมแม หรือที่เราเรียกวา “น้ํานมแรก” จะมีน้ํานมน้ําเหลือง (colostrum) ไหล ออกมาประมาณวันละ 10-40 ซีซี. ซึ่งน้ํานมน้ําเหลืองหรือน้ํานมแรกนี้ จะประกอบดวย protein และ เกลือแร ที่สูงกวาปกติของน้ํานมทั่วไป แตจะมีไขมันและน้ําตาล lactose ต่ํากวา ขอดีเดนของน้ํานมแรกหรือน้ํานมน้ําเหลืองก็คือมีภูมิตานทานโรคในปริมาณที่สูง โดยมีสารสําคัญตัว หนึ่งที่ชื่อวา Transfer Factor (ทรานสเฟอร แฟกเตอร) อยูในน้ํานมแรกนี้ ซึ่งไดถูกคนพบโดย Dr. H. Sherwood Lawrence (ดร. เอช เชอรวูด ลอเรนซ) ในป ค.ศ.1949 จากนั้นจึงไดมีการคนควาศึกษาวิจัย อยางตอเนื่อง พบวา Transfer Factor นี้เปน protein ขนาดเล็กที่ประกอบดวย amino acid จํานวน 44 ตัว และเนื่องจากมีน้ําหนักโมเลกุลไมเกิน 10,000 และเล็กมาก จึงไมเปน antigen ดังนั้น เมื่อ Transfer Factor เขาสูรางกายจึงไมถูก immune system ทําลาย ทําใหคงอยูในรางกายไดนาน บางทีเปนป ๆ Transfer Factor ซึ่งมีความหมายวา ตัวปจจัย (factor) ทําหนาที่ถายทอด (transfer) ของ สิ่งมีชีวิตที่มีภูมิตานทานตอ antigen ชนิดหนึ่งซึ่งเมื่อนําไปใหกับสิ่งมีชีวิตที่ไมเคยไดรับ antigen นั้นมากอน ก็จะสามารถชักนําใหสิ่งมีชีวิตที่ไดรับ Transfer Factor มีภูมิตานทานตอ antigen ดังกลาวเกิดขึ้น นั่นคือ ทําใหเกิด passive cellular immunity ได หรือความสามารถในการแสดงออกของภูมิตานทานแบบ cell mediated immunity จากผูใหที่มีภูมิคุมกันไปสูผูรับที่ไมมีภูมิคุมกัน หรืออาจกลาวไดวา Transfer Factor เปน dialyzable materials ที่ไดมาจาก sensitized lymphocytes มีคุณสมบัติเปลี่ยน non-sensitized T lymphocyte เปน sensitized T lymphocyte ซึ่งหลังจากเปลี่ยนสภาพแลว เมื่อพบ antigen (ที่ specific ตอ Transfer Factor) ก็จะประพฤติตัวเชนเดียวกับ sensitized T lymphocyte มีขอสังเกตวา ถาเอา lymphocyte ของคนหรือสัตวที่ไดรับ Transfer Factor เชนกันอีกแลวนํามาสกัดก็จะได Transfer Factor อีก กลไกการทํางานของ Transfer Factor กลไกการทํางานของ Transfer Factor ก็ยังไมทราบแนชัด บางก็สันนิษฐานวา Transfer Factor ซึ่งเปน single-stranded polynucleotide อาจเขาไปใน T lymphocyte และให information แก T lymphocyte หรือ Transfer Factor เอง อาจถูกนําไปสรางเปน specific antigen receptor บน lymphocyte ได โดยอาศัยหลักของการชักนํา (inducer fraction) การกระตุนและสราง antibody เฉพาะ อยาง (antigen specific fraction) และการระงับหรือยับยั้ง (suppressor fraction)
  • 3. Transfer Factor ถูกนํามาใชประโยชนอยางไร ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรไดนํา Transfer Factor มาใชประโยชนหลายดาน เนื่องจากทราบ วา Transfer Factor จะใหความฉลาดกับภูมิคุมกันซึ่งถูกถายทอดเพื่อจะใชในการจดจําขอมูลจากเซลล หนึ่งไปยังอีกเซลลหนึ่ง โดย Transfer Factor จะทําหนาที่เสมือนอาจารยใหความรูกับเซลลใหมที่ผลิตขึ้น ในรางกาย เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพของระบบภูมิคุมกันที่แข็งแรง เพื่อการอยูรอดของเซลลที่เกิดใหมใน สภาพแวดลอมใหม รวมทั้งทําใหการสื่อสารและการแลกเปลี่ยนขอมูลเกี่ยวกับภูมิคุมกันระหวางเซลลใน รางกายใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น จึงไดมีการนํามาใชในกรณีของ 1. Immunodeficiency เพื่อชวยเพิ่มภูมิตานทานใหกับรางกาย โดยมีขอดีคือ ไมทําใหเกิดปฏิกิริยา graft versus host ในผูรับที่มี immunodeficiency ดังการให lymphocyte เนื่องจาก Transfer Factor เปนการให cellular immunity โดยแทจริง ซึ่งผิดกับการให lymphocyte ที่มักจะมี B lymphocyte ปะปนไป กับ T lymphocyte เสมอ ทําใหได humoral immunity ดวย ซึ่งไมเปนที่ตองการในการรักษา 2. ชวยเพิ่มเซลลตานมะเร็ง (Anti-cancer) 3. ชวยเพิ่มเซลลตานเซลลติดเชื้อ (infectious disease) ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อ bacteria, virus, เชื้อรา เชน เปนหวัด เจ็บคอ วัณโรค ตับอักเสบ เริม ไซนัส เปนตน 4. ชวยปรับความสมดุลของภูมิคุมกันบกพรอง (HIV) 5. ชวยลดอาการภูมิแพตัวเอง เชน SLE ขออักเสบและการอักเสบอื่น ๆ 6. ชวยลดอาการภูมิแพ หอบหืด ขึ้นผื่น แพอากาศ 7. โรคผิวหนังบางชนิด ชวยลดปญหา เชน Eczema เปนตน ปจจุบันนี้ Transfer Factor นอกจากจะพบในน้ํานมแรกของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมแลว ยังสามารถพบใด ไขแดงดวย ซึ่งก็ไดมีการสกัดสาร Transfer Factor มาใชประโยชนทางการแพทย โดยสกัดจากน้ํานมแรก หรือน้ํานมน้ําเหลือง (colostrum) ของวัว และจากไขแดง ในรูปแบบของการใชรับประทาน จึงเปน ความกาวหนาทางการแพทยและโลกวิทยาการยุคใหม เพื่อใชในการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบภูมิคุมกัน ตาง ๆ ของมนุษยในการตอสูกับโรคภัยไขเจ็บตาง ๆ ไมวาจะเปนเรื่องของโรคติดเชื้อ ภูมิแพ ภูมิตานทานต่ํา ภูมิคุมกันบกพรอง และโรคมะเร็ง Reference: 1. คูมืออิมมูโนวิทยา คณะผูเรียบเรียง สุทธิพันธ สาระสมบัติ วิบูลยศรี พิมลพันธุ สายสุนี วนดุรงควรรณ นภา ธร บานชื่น บรรณาธิการโดย ศ.นพ.ประเสริฐ ทองเจริญ หนา 87-88 2. มะเร็ง การรักษาและการปองกัน โดย รศ.พญ. สุพัตรา แสงรุจิ แผนกรังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล 3. PDR for Nonprescription Drugs, Dietary Supplement, and Herbs 29 edition, 2008 4. รศ.นพ. เบญจะ เพชรคลอย ความรูพื้นฐานและการทดสอบอิมมูโนวิทยา (ป 25) 5. ดร. สนิท มกรแกวเกยูร ภูมิคุมกันระบบเซลลและสารออกฤทธิ์ คูมือภูมิคุมกันวิทยา รวบรวมโดย ศักดิ์ชัย เดชตรัยรัตน ภาควิชาภูมิคุมกันวิทยาคลินิก คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2530 6. Sean C Sweetman, Martindale (Thirty-fifth edition), 2007 7. Rak, AV et al. Effectiveness of Transfer Factor (TF) in the Treatment of Osteomyelitis Patients. International Symposium in Moscow 2002, Nov. 5-7, 62-63 Patients, Russian Journal of HIV, AIDS and Related Problems 2002, 1, 79-80 8. Granitor, VM et al. Usage of Transfer Factor Plus in Treatment of HIV Infected