SlideShare a Scribd company logo
การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์
(Homeostasis)
Pitsanu Duangkartok
การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์
- ภาวะธํารงดุล (homeo=ไม่เปลี่ยนแปลง stasis=ดำรงอยู่) ความพยายามที่จะทำให้เกิดความสมดุลของสิ่งต่างๆในร่างกาย
เพื่อให้ร่างกายอยู่ในสภาพปกติ ต้องอาศัยกลไกต่างๆในการควบคุมร่างกาย ศูนย์กลางการควบคุม อยู่ในสมองส่วน
hypothalamus
- Excretion คือการกำจัดของเสียจาก metabolism
- Secretion คือการขับออก การระเหยออก เช่น การขับเหงื่อ
- ไต ทำหน้าที่ควบคุมน้ำ แร่ธาตุ
-Thermoregulation การควบคุมอุณหภูมิ ควบคุมโดยผิวหนังและกล้ามเนื้อ ทำหน้าที่เก็บและระบายความร้อน ถ้าอุณหภูมิ
สูงไป จะทำให้โปรตีนเสียสภาพ
- ตับและตับอ่อน ทำหน้าที่ควบคุมระดับ Glucose ในร่างกาย
ระบบควบคุมสมดุลภายในรางกาย (homeostatic control system) คือการทํางานระหวาง ตัวรับรู(receptor) ศูนย
ควบคุม (integrating center) และหนวยตอบสนอง (effector)
- เริ่มจากมีการเปลี่ยนแปลงของปจจัยภายนอกหรือภายในรางกายที่ตางจาก set point สิ่งเรา (stimulus) จะไปกระตุนตัวรับ
รูซึ่งจะแปลงสัญญาณแลวสงสัญญาณไปยังศูนยควบคุม(สมอง) ซึ่งทําหนาที่รวบรวมขอมูล แปลผล และสงคําสั่งเพื่อใหเกิดการ
ตอบสนองไปยังหนวยตอบสนอง เพื่อปรับสมดุลของรางกายใหอยูในภาวะปกติ
FEEDBACK MECHANISM
- negative feedback mechanism คือการปรับให้กลับมาสู่ set point พบได้ทั่วร่างกายเช่น การรักษาอุณหภูมิในร่างกาย
การรักษาระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด ตับอ่อนเป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อ
- positive feedback mechanism คือกระตุ้นให้มีการทำงานของต่อมไร้ท่อ(ผ่านทางเลือด)มากขึ้น ออกห่าง set point
มากขึ้น เช่น ฮอร์โมนออกซิโทซิน ทารกดูดนมมารดาอยู่สม่ำเสมอ จะกระตุ้นให้สร้างออกซิโทซินตลอดเวลาหรือมากขึ้น
THERMOREGULATION อุณหภูมิร่างกายมนุษย์ประมาณ 37 องศา
- สัตว์เลือดเย็น (poikilotherm) หรือ heterotherms หมายถึง สัตว์ที่มีอุณหภูมิของร่างกายเปลี่ยนแปลงไปตาม
สภาพแวดล้อม ได้แก่ ปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน
- ectotherm เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีอุณหภูมิของร่างกายขึ้นอยู่กับแหล่งภายนอก เช่นแสงแดดหรือพื้นผิวหินที่ร้อน
- สัตว์เลือดอุ่น (homeotherm) หมายถึงสัตว์ที่มีการรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ ได้แก่ สัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
- endotherm เป็นสิ่งมีชีวิตที่รักษาอุณหภูมิของร่างกายในระดับที่น่าพอใจโดยไม่ต้องอาศัยความร้อนจากภายนอก
การส่งถ่ายความร้อนในร่างกาย (Body Heat transfer) ความร้อนในร่างกายสามารถเคลื่อนที่ได้ 4 รูปแบบ
1. การนำ (Conduction) เป็นการส่งถ่ายอุณหภูมิโดยที่ตัวกลางนั้นอยู่กับที่ เช่น การนำความร้อนผ่านกำแพงบ้าน
2. การพา (Convection) เป็นการส่งถ่ายอุณหภูมิโดยที่ตัวกลางนั้นเคลื่อนที่ไปกับอุณหภูมิด้วย เช่น น้ำเลือดที่มีอุณหภูมิไหล
ผ่านเส้นเลือด
3. การแผ่รังสี (Radiation) เป็นการถ่ายเทอุณหภูมิที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น ดวงอาทิตย์การแผ่รังสีมายังโลก
4. การระเหย (Evaporation) เป็นการเสียความร้อนโดยไอน้ำทางผิวหนัง เช่น การขับเหงื่อ
อุณหภูมิในอวัยวะสำคัญ
ส่งความร้อนไปผิวหนังเพื่อลดอุณหภูมิ
ผ่านทาง cutaneous vessel
Body shell (skin)
อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
ตามสิ่งแวดล้อม
SWEATING การขับเหงื่อ
- เมื่อร่างกายร้อน ต่อมเหงื่อจะกระตุ้นการขับเหงื่อหรืออาจอยู่ใน
รูปของแก๊ส เพื่อรักษาความร้อนในร่างกาย เราสามารถรับรู้ได้ผ่าน
ผิวหนัง เมื่อผิวหนังคลายความร้อนจะรู้สึกเย็นลง หลอดเลือด
ขยายตัว (Vasodilation)
SHIVERING การสั่น
- Hypothalamus ส่งสัญญาณไปยังกล้ามเนื้อและผิวหนัง, ระบบ
หายใจ, ระบบไหลเวียนโลหิต ทำให้หลอดเลือดหดตัว ลดการ
ไหลเวียนของเลือดเพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อน กล้ามเนื้อรอบ
รูขุมขนหดตัว ทำให้เกิดการสั่น
- มีการปล่อย Thyroid hormones เพื่อเพิ่ม metabolism และมี
การหดตัวของหลอดเลือด (Vasoconstriction) เพื่อทำให้อุ่นขึ้น
OSMOREGULATION การควบคุมสมดุลของเหลว
- water intoxication เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับสารน้ำในปริมาณที่
มากจนกระทั่งเป็นอันตรายต่อเซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เซลล์สมอง ทำให้ระดับของ Na ในเลือดลดต่ำ เรียกภาวะดังกล่าวว่า hyponatremia อาจทำให้เกิดการตายของเซลล์ได้
Types of Osmotic Solutions
1. สารละลายมีความดันออสโมติกเท่ากับความดันออสโมติกในเซลล์ เรียกว่า isotonic solution เซลล์ยังคงมีรูปร่าง
เหมือนเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของเซลล์
2. สารละลายมีความดันออสโมติกต่ำกว่าความดันออสโมติกในเซลล์เรียกว่า hypotonic solution เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น
กว่าเดิมหรือเซลล์แตกได้
3. สารละลายมีความดันออสโมติกมากกว่าความดันออสโมติกในเซลล์เรียกว่า hypertonic solution สิ่งที่เกิดขึ้นจะทำให้
ขนาดของเซลล์เล็กลงกว่าเดิม
WHY IS WATER IMPORTANT?
- น้ำมีอยู่ในร่างกายมนุษย์ถึง 70 % น้ำเป็นตัวกลางในการเกิดปฏิกิริยาเคมีทุกชนิดในกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกาย
- Dehydration เป็นภาวะขาดน้ำ อาจทำให้เซลล์เสียหาย
- ร่างกายได้รับน้ำหลายทางด้วยกัน น้ำที่เป็นส่วนประกอบในอาหาร น้ำดื่ม
- ร่างกายสูญเสียน้ำหลายทางด้วยกัน ผิวหนังในรูปของเหงื่อ การหายใจออก อุจจาระ ปัสสาวะ
-น้ำสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้
- ไตทำหน้าที่ในการรักษาสมดุลน้ำ
-น้ำมีหลายประเภท ได้แก่
⇾ 1.ส่วนของน้ำนอกเซลล์ (extracellular fluid, ECF) ประกอบด้วย พลาสมา น้ำระหว่างเซลล์(interstitial fluid (ISF))
และส่วนน้อยอยู่ใน transcellular fluid ได้แก่ น้ำในทางเดินอาหาร สมอง และไขสันหลัง
⇾ 2.ส่วนของน้ำในเซลล์ (intracellular fluid, ICF) เปลี่ยนแปลงตามอายุ เพศ และปริมาณไขมันในร่างกาย
DEHYDRATION AND ITS CAUSES
- ในรายที่มีความรุนแรงน้อยมักมีอาการวิงเวียน ปากแห้ง ปัสสาวะมีสีเข้ม ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจทำให้เสียชีวิต
- สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะขาดน้ำ ได้แก่ ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป ดื่มน้ำน้อยเกินไป ท้องเสีย ทานอาหารที่มีรสเค็ม อากาศ
แห้ง caffeine and alcohol
WATER REGULATION
- ถ้าร่างกายขาดน้ำ จะทำให้ปริมาตรของเลือดลดลง ความเข้มข้นของเลือดจึง
เพิ่มขึ้น ทำให้แรงดันออสโมติกของเลือดสูงขึ้น Osmoreceptors ในไฮโพทา
ลามัสที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงแรงดันออสโมติกจะกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนท้าย
ให้ปล่อยฮอร์โมน antidiruetic hormone,ADH และส่งไปยังท่อของหน่วยไต
ทำให้เกิดการดูดน้ำกลับเข้าเลือดมากขึ้น ทำให้ปริมาตรของเลือดเพิ่มขึ้น และลด
แรงดันออสโมติกของเลือดพร้อมกับขับถ่ายปัสสาวะออกน้อยลง
- Renin ไปย่อย angiotensinogen -> angiotensin I -> angiotensin II
-> Adrenal gland -> aldosterone ดูดกลับ Na+
- Juxtaglomerular Apparatus มีหน้าที่ควบคุมความดันเลือด ภายในบรรจุ
renin เมื่อมีขาดน้ำ จะกระตุ้นให้หลั่ง renin เข้าสู่กระแสเลือด ต่อมาจะไปเร่ง
ปฏิกริยาเกิด hydrolysis ของ angiotensinogen ให้เป็น angiotensin I ->
angiotensin II เป็นตัว vasocontrictor ที่ควบคุมทั้ง renal และ systemic
vascular resistance ทำให้เกิดการหดตัวของ arterioles เพื่อเพิ่มความดันเลือด
- โรคลมแดด (Heatstroke) เป็นภาวะที่เกิดจากร่างกายมีความร้อนสูงเกินไป
มีอาการสับสน กระวนกระวาย เพ้อ และชักหรือหมดสติได้ ร่วมกับภาวะ
หัวใจเต้นเร็ว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยบางรายจะมีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ผิวหนังแดงและร้อนแต่แห้ง
Glucoregulation
- กิจกรรมที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของ glucose ได้แก่ การกิน การออกกำลังกายที่หนักเกินไป
- อินซูลินซึ่งผลิตจาก 𝛃-cell ในตับอ่อนเป็นฮอร์โมนที่สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือด กระตุ้นการสร้างไกลโคเจน
(glycogenesis) ไปเก็บไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อ ป้องกันการสลายไขมัน และยับยั้งการสร้างน้ำตาล (gluconeogenesis) ส่งผล
ให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดลดลง ในปัจจุบันมีการผลิตฮอร์โมนดังกล่าวจากสัตว์เพื่อใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะเบาหวาน (diabetes
mellitus) ส่วนกลูคากอนซึ่งผลิตจาก α-cell ในตับอ่อน ทำหน้าที่ส่งเสริมการสร้างน้ำตาลโดยกระตุ้นการสลายโปรตีน สลาย
ไขมัน
- ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) รักษาโดยการให้กลูโคส
มี Angiotensin converting
enzyme ช่วยเร่ง
- ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) รักษาโดยปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ออกกำลังกายเป็นประจำ
- crenation คือการหดตัวของเม็ดเลือดแดงที่มีขอบหยักเมื่อสัมผัสกับสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงมากๆ

More Related Content

What's hot

หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
pop Jaturong
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
kasidid20309
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)joongka3332
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
Thitaree Samphao
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
sukanya petin
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
Ta Lattapol
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
sukanya petin
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

What's hot (20)

หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 

Similar to การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok

Homeostasis
HomeostasisHomeostasis
Homeostasis
Mubasher Solangi
 
Homeostasis 2014
Homeostasis 2014Homeostasis 2014
Homeostasis 2014
ngibellini
 
Homeostasis Body Sys 09
Homeostasis Body Sys 09Homeostasis Body Sys 09
Homeostasis Body Sys 09
Howard Knodle
 
Osmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdf
Osmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdfOsmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdf
Osmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdf
NAGENDRA SINGH
 
homeostatis
homeostatishomeostatis
homeostatis
chhayachougule
 
Chapter10 Power Point Lecture
Chapter10 Power Point LectureChapter10 Power Point Lecture
Chapter10 Power Point Lecture
Gladys Escalante
 
ANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptx
ANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptxANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptx
ANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptx
Swetaba Besh
 
Homeostasis Essay
Homeostasis EssayHomeostasis Essay
Homeostasis Essay
Cheap Paper Writing Service
 
Homeostasis presentation
Homeostasis presentationHomeostasis presentation
Homeostasis presentation
Spyros Ktenas
 
Control & Coordination
Control & CoordinationControl & Coordination
Control & Coordination
DhruvBhandari13
 
OVERVIEW OF HOMEOSTASIS.pptx
OVERVIEW OF HOMEOSTASIS.pptxOVERVIEW OF HOMEOSTASIS.pptx
OVERVIEW OF HOMEOSTASIS.pptx
OlumideDolapoDbankz
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
malkeetsingh104
 
2014 The Human Body Systems ppt.ppt
2014 The Human Body Systems ppt.ppt2014 The Human Body Systems ppt.ppt
2014 The Human Body Systems ppt.ppt
anami87
 
Endocrine System
Endocrine SystemEndocrine System
Endocrine System
Rob Benedict Reforsado
 
Homeostasis Experiment
Homeostasis ExperimentHomeostasis Experiment
Zoo (4 handouts)
Zoo (4 handouts)Zoo (4 handouts)
Zoo (4 handouts)
Eemlliuq Agalalan
 
Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33
Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33 Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33
Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33
Stephanie Beck
 
Chapter basic animal form and other improtant
Chapter basic animal form and other improtantChapter basic animal form and other improtant
Chapter basic animal form and other improtant
MazzRudy
 
Anatomy & Physiology of Endocrine System.pptx
Anatomy & Physiology of Endocrine System.pptxAnatomy & Physiology of Endocrine System.pptx
Anatomy & Physiology of Endocrine System.pptx
Nagamani Manjunath
 
13 Endocrine System.ppt
13 Endocrine System.ppt13 Endocrine System.ppt
13 Endocrine System.ppt
Shama
 

Similar to การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok (20)

Homeostasis
HomeostasisHomeostasis
Homeostasis
 
Homeostasis 2014
Homeostasis 2014Homeostasis 2014
Homeostasis 2014
 
Homeostasis Body Sys 09
Homeostasis Body Sys 09Homeostasis Body Sys 09
Homeostasis Body Sys 09
 
Osmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdf
Osmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdfOsmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdf
Osmoregulation Mechanisms and Adaptations in Various Organisms.pdf
 
homeostatis
homeostatishomeostatis
homeostatis
 
Chapter10 Power Point Lecture
Chapter10 Power Point LectureChapter10 Power Point Lecture
Chapter10 Power Point Lecture
 
ANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptx
ANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptxANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptx
ANATOMY AND PHYSIOLOGY OF ENDOCRINE SYSTEM.pptx
 
Homeostasis Essay
Homeostasis EssayHomeostasis Essay
Homeostasis Essay
 
Homeostasis presentation
Homeostasis presentationHomeostasis presentation
Homeostasis presentation
 
Control & Coordination
Control & CoordinationControl & Coordination
Control & Coordination
 
OVERVIEW OF HOMEOSTASIS.pptx
OVERVIEW OF HOMEOSTASIS.pptxOVERVIEW OF HOMEOSTASIS.pptx
OVERVIEW OF HOMEOSTASIS.pptx
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
2014 The Human Body Systems ppt.ppt
2014 The Human Body Systems ppt.ppt2014 The Human Body Systems ppt.ppt
2014 The Human Body Systems ppt.ppt
 
Endocrine System
Endocrine SystemEndocrine System
Endocrine System
 
Homeostasis Experiment
Homeostasis ExperimentHomeostasis Experiment
Homeostasis Experiment
 
Zoo (4 handouts)
Zoo (4 handouts)Zoo (4 handouts)
Zoo (4 handouts)
 
Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33
Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33 Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33
Animal Thermoregulation and Nutrition Ch. 33
 
Chapter basic animal form and other improtant
Chapter basic animal form and other improtantChapter basic animal form and other improtant
Chapter basic animal form and other improtant
 
Anatomy & Physiology of Endocrine System.pptx
Anatomy & Physiology of Endocrine System.pptxAnatomy & Physiology of Endocrine System.pptx
Anatomy & Physiology of Endocrine System.pptx
 
13 Endocrine System.ppt
13 Endocrine System.ppt13 Endocrine System.ppt
13 Endocrine System.ppt
 

More from pitsanu duangkartok

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
pitsanu duangkartok
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
pitsanu duangkartok
 
steroid.pdf
steroid.pdfsteroid.pdf
steroid.pdf
pitsanu duangkartok
 
Hormone exercise
Hormone exerciseHormone exercise
Hormone exercise
pitsanu duangkartok
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
pitsanu duangkartok
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
pitsanu duangkartok
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
pitsanu duangkartok
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
pitsanu duangkartok
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
pitsanu duangkartok
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
pitsanu duangkartok
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
pitsanu duangkartok
 
Pharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptxPharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptx
pitsanu duangkartok
 
Metabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdfMetabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdf
pitsanu duangkartok
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
pitsanu duangkartok
 
ecosystem
ecosystemecosystem
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
pitsanu duangkartok
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
pitsanu duangkartok
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
pitsanu duangkartok
 
Common Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdfCommon Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdf
pitsanu duangkartok
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)
pitsanu duangkartok
 

More from pitsanu duangkartok (20)

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
 
steroid.pdf
steroid.pdfsteroid.pdf
steroid.pdf
 
Hormone exercise
Hormone exerciseHormone exercise
Hormone exercise
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
Pharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptxPharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptx
 
Metabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdfMetabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdf
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Common Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdfCommon Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdf
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)
 

Recently uploaded

220711130083 SUBHASHREE RAKSHIT Internet resources for social science
220711130083 SUBHASHREE RAKSHIT  Internet resources for social science220711130083 SUBHASHREE RAKSHIT  Internet resources for social science
220711130083 SUBHASHREE RAKSHIT Internet resources for social science
Kalna College
 
How to Manage Reception Report in Odoo 17
How to Manage Reception Report in Odoo 17How to Manage Reception Report in Odoo 17
How to Manage Reception Report in Odoo 17
Celine George
 
How to Setup Default Value for a Field in Odoo 17
How to Setup Default Value for a Field in Odoo 17How to Setup Default Value for a Field in Odoo 17
How to Setup Default Value for a Field in Odoo 17
Celine George
 
Elevate Your Nonprofit's Online Presence_ A Guide to Effective SEO Strategies...
Elevate Your Nonprofit's Online Presence_ A Guide to Effective SEO Strategies...Elevate Your Nonprofit's Online Presence_ A Guide to Effective SEO Strategies...
Elevate Your Nonprofit's Online Presence_ A Guide to Effective SEO Strategies...
TechSoup
 
NIPER 2024 MEMORY BASED QUESTIONS.ANSWERS TO NIPER 2024 QUESTIONS.NIPER JEE 2...
NIPER 2024 MEMORY BASED QUESTIONS.ANSWERS TO NIPER 2024 QUESTIONS.NIPER JEE 2...NIPER 2024 MEMORY BASED QUESTIONS.ANSWERS TO NIPER 2024 QUESTIONS.NIPER JEE 2...
NIPER 2024 MEMORY BASED QUESTIONS.ANSWERS TO NIPER 2024 QUESTIONS.NIPER JEE 2...
Payaamvohra1
 
skeleton System.pdf (skeleton system wow)
skeleton System.pdf (skeleton system wow)skeleton System.pdf (skeleton system wow)
skeleton System.pdf (skeleton system wow)
Mohammad Al-Dhahabi
 
Oliver Asks for More by Charles Dickens (9)
Oliver Asks for More by Charles Dickens (9)Oliver Asks for More by Charles Dickens (9)
Oliver Asks for More by Charles Dickens (9)
nitinpv4ai
 
Skimbleshanks-The-Railway-Cat by T S Eliot
Skimbleshanks-The-Railway-Cat by T S EliotSkimbleshanks-The-Railway-Cat by T S Eliot
Skimbleshanks-The-Railway-Cat by T S Eliot
nitinpv4ai
 
How to Download & Install Module From the Odoo App Store in Odoo 17
How to Download & Install Module From the Odoo App Store in Odoo 17How to Download & Install Module From the Odoo App Store in Odoo 17
How to Download & Install Module From the Odoo App Store in Odoo 17
Celine George
 
spot a liar (Haiqa 146).pptx Technical writhing and presentation skills
spot a liar (Haiqa 146).pptx Technical writhing and presentation skillsspot a liar (Haiqa 146).pptx Technical writhing and presentation skills
spot a liar (Haiqa 146).pptx Technical writhing and presentation skills
haiqairshad
 
SWOT analysis in the project Keeping the Memory @live.pptx
SWOT analysis in the project Keeping the Memory @live.pptxSWOT analysis in the project Keeping the Memory @live.pptx
SWOT analysis in the project Keeping the Memory @live.pptx
zuzanka
 
Simple-Present-Tense xxxxxxxxxxxxxxxxxxx
Simple-Present-Tense xxxxxxxxxxxxxxxxxxxSimple-Present-Tense xxxxxxxxxxxxxxxxxxx
Simple-Present-Tense xxxxxxxxxxxxxxxxxxx
RandolphRadicy
 
The basics of sentences session 7pptx.pptx
The basics of sentences session 7pptx.pptxThe basics of sentences session 7pptx.pptx
The basics of sentences session 7pptx.pptx
heathfieldcps1
 
Educational Technology in the Health Sciences
Educational Technology in the Health SciencesEducational Technology in the Health Sciences
Educational Technology in the Health Sciences
Iris Thiele Isip-Tan
 
مصحف القراءات العشر أعد أحرف الخلاف سمير بسيوني.pdf
مصحف القراءات العشر   أعد أحرف الخلاف سمير بسيوني.pdfمصحف القراءات العشر   أعد أحرف الخلاف سمير بسيوني.pdf
مصحف القراءات العشر أعد أحرف الخلاف سمير بسيوني.pdf
سمير بسيوني
 
Level 3 NCEA - NZ: A Nation In the Making 1872 - 1900 SML.ppt
Level 3 NCEA - NZ: A  Nation In the Making 1872 - 1900 SML.pptLevel 3 NCEA - NZ: A  Nation In the Making 1872 - 1900 SML.ppt
Level 3 NCEA - NZ: A Nation In the Making 1872 - 1900 SML.ppt
Henry Hollis
 
REASIGNACION 2024 UGEL CHUPACA 2024 UGEL CHUPACA.pdf
REASIGNACION 2024 UGEL CHUPACA 2024 UGEL CHUPACA.pdfREASIGNACION 2024 UGEL CHUPACA 2024 UGEL CHUPACA.pdf
REASIGNACION 2024 UGEL CHUPACA 2024 UGEL CHUPACA.pdf
giancarloi8888
 
How to Fix [Errno 98] address already in use
How to Fix [Errno 98] address already in useHow to Fix [Errno 98] address already in use
How to Fix [Errno 98] address already in use
Celine George
 
Wound healing PPT
Wound healing PPTWound healing PPT
Wound healing PPT
Jyoti Chand
 
Geography as a Discipline Chapter 1 __ Class 11 Geography NCERT _ Class Notes...
Geography as a Discipline Chapter 1 __ Class 11 Geography NCERT _ Class Notes...Geography as a Discipline Chapter 1 __ Class 11 Geography NCERT _ Class Notes...
Geography as a Discipline Chapter 1 __ Class 11 Geography NCERT _ Class Notes...
ImMuslim
 

Recently uploaded (20)

220711130083 SUBHASHREE RAKSHIT Internet resources for social science
220711130083 SUBHASHREE RAKSHIT  Internet resources for social science220711130083 SUBHASHREE RAKSHIT  Internet resources for social science
220711130083 SUBHASHREE RAKSHIT Internet resources for social science
 
How to Manage Reception Report in Odoo 17
How to Manage Reception Report in Odoo 17How to Manage Reception Report in Odoo 17
How to Manage Reception Report in Odoo 17
 
How to Setup Default Value for a Field in Odoo 17
How to Setup Default Value for a Field in Odoo 17How to Setup Default Value for a Field in Odoo 17
How to Setup Default Value for a Field in Odoo 17
 
Elevate Your Nonprofit's Online Presence_ A Guide to Effective SEO Strategies...
Elevate Your Nonprofit's Online Presence_ A Guide to Effective SEO Strategies...Elevate Your Nonprofit's Online Presence_ A Guide to Effective SEO Strategies...
Elevate Your Nonprofit's Online Presence_ A Guide to Effective SEO Strategies...
 
NIPER 2024 MEMORY BASED QUESTIONS.ANSWERS TO NIPER 2024 QUESTIONS.NIPER JEE 2...
NIPER 2024 MEMORY BASED QUESTIONS.ANSWERS TO NIPER 2024 QUESTIONS.NIPER JEE 2...NIPER 2024 MEMORY BASED QUESTIONS.ANSWERS TO NIPER 2024 QUESTIONS.NIPER JEE 2...
NIPER 2024 MEMORY BASED QUESTIONS.ANSWERS TO NIPER 2024 QUESTIONS.NIPER JEE 2...
 
skeleton System.pdf (skeleton system wow)
skeleton System.pdf (skeleton system wow)skeleton System.pdf (skeleton system wow)
skeleton System.pdf (skeleton system wow)
 
Oliver Asks for More by Charles Dickens (9)
Oliver Asks for More by Charles Dickens (9)Oliver Asks for More by Charles Dickens (9)
Oliver Asks for More by Charles Dickens (9)
 
Skimbleshanks-The-Railway-Cat by T S Eliot
Skimbleshanks-The-Railway-Cat by T S EliotSkimbleshanks-The-Railway-Cat by T S Eliot
Skimbleshanks-The-Railway-Cat by T S Eliot
 
How to Download & Install Module From the Odoo App Store in Odoo 17
How to Download & Install Module From the Odoo App Store in Odoo 17How to Download & Install Module From the Odoo App Store in Odoo 17
How to Download & Install Module From the Odoo App Store in Odoo 17
 
spot a liar (Haiqa 146).pptx Technical writhing and presentation skills
spot a liar (Haiqa 146).pptx Technical writhing and presentation skillsspot a liar (Haiqa 146).pptx Technical writhing and presentation skills
spot a liar (Haiqa 146).pptx Technical writhing and presentation skills
 
SWOT analysis in the project Keeping the Memory @live.pptx
SWOT analysis in the project Keeping the Memory @live.pptxSWOT analysis in the project Keeping the Memory @live.pptx
SWOT analysis in the project Keeping the Memory @live.pptx
 
Simple-Present-Tense xxxxxxxxxxxxxxxxxxx
Simple-Present-Tense xxxxxxxxxxxxxxxxxxxSimple-Present-Tense xxxxxxxxxxxxxxxxxxx
Simple-Present-Tense xxxxxxxxxxxxxxxxxxx
 
The basics of sentences session 7pptx.pptx
The basics of sentences session 7pptx.pptxThe basics of sentences session 7pptx.pptx
The basics of sentences session 7pptx.pptx
 
Educational Technology in the Health Sciences
Educational Technology in the Health SciencesEducational Technology in the Health Sciences
Educational Technology in the Health Sciences
 
مصحف القراءات العشر أعد أحرف الخلاف سمير بسيوني.pdf
مصحف القراءات العشر   أعد أحرف الخلاف سمير بسيوني.pdfمصحف القراءات العشر   أعد أحرف الخلاف سمير بسيوني.pdf
مصحف القراءات العشر أعد أحرف الخلاف سمير بسيوني.pdf
 
Level 3 NCEA - NZ: A Nation In the Making 1872 - 1900 SML.ppt
Level 3 NCEA - NZ: A  Nation In the Making 1872 - 1900 SML.pptLevel 3 NCEA - NZ: A  Nation In the Making 1872 - 1900 SML.ppt
Level 3 NCEA - NZ: A Nation In the Making 1872 - 1900 SML.ppt
 
REASIGNACION 2024 UGEL CHUPACA 2024 UGEL CHUPACA.pdf
REASIGNACION 2024 UGEL CHUPACA 2024 UGEL CHUPACA.pdfREASIGNACION 2024 UGEL CHUPACA 2024 UGEL CHUPACA.pdf
REASIGNACION 2024 UGEL CHUPACA 2024 UGEL CHUPACA.pdf
 
How to Fix [Errno 98] address already in use
How to Fix [Errno 98] address already in useHow to Fix [Errno 98] address already in use
How to Fix [Errno 98] address already in use
 
Wound healing PPT
Wound healing PPTWound healing PPT
Wound healing PPT
 
Geography as a Discipline Chapter 1 __ Class 11 Geography NCERT _ Class Notes...
Geography as a Discipline Chapter 1 __ Class 11 Geography NCERT _ Class Notes...Geography as a Discipline Chapter 1 __ Class 11 Geography NCERT _ Class Notes...
Geography as a Discipline Chapter 1 __ Class 11 Geography NCERT _ Class Notes...
 

การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok

  • 2. การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ - ภาวะธํารงดุล (homeo=ไม่เปลี่ยนแปลง stasis=ดำรงอยู่) ความพยายามที่จะทำให้เกิดความสมดุลของสิ่งต่างๆในร่างกาย เพื่อให้ร่างกายอยู่ในสภาพปกติ ต้องอาศัยกลไกต่างๆในการควบคุมร่างกาย ศูนย์กลางการควบคุม อยู่ในสมองส่วน hypothalamus - Excretion คือการกำจัดของเสียจาก metabolism - Secretion คือการขับออก การระเหยออก เช่น การขับเหงื่อ - ไต ทำหน้าที่ควบคุมน้ำ แร่ธาตุ -Thermoregulation การควบคุมอุณหภูมิ ควบคุมโดยผิวหนังและกล้ามเนื้อ ทำหน้าที่เก็บและระบายความร้อน ถ้าอุณหภูมิ สูงไป จะทำให้โปรตีนเสียสภาพ - ตับและตับอ่อน ทำหน้าที่ควบคุมระดับ Glucose ในร่างกาย ระบบควบคุมสมดุลภายในรางกาย (homeostatic control system) คือการทํางานระหวาง ตัวรับรู(receptor) ศูนย ควบคุม (integrating center) และหนวยตอบสนอง (effector) - เริ่มจากมีการเปลี่ยนแปลงของปจจัยภายนอกหรือภายในรางกายที่ตางจาก set point สิ่งเรา (stimulus) จะไปกระตุนตัวรับ รูซึ่งจะแปลงสัญญาณแลวสงสัญญาณไปยังศูนยควบคุม(สมอง) ซึ่งทําหนาที่รวบรวมขอมูล แปลผล และสงคําสั่งเพื่อใหเกิดการ ตอบสนองไปยังหนวยตอบสนอง เพื่อปรับสมดุลของรางกายใหอยูในภาวะปกติ FEEDBACK MECHANISM - negative feedback mechanism คือการปรับให้กลับมาสู่ set point พบได้ทั่วร่างกายเช่น การรักษาอุณหภูมิในร่างกาย การรักษาระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด ตับอ่อนเป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อ - positive feedback mechanism คือกระตุ้นให้มีการทำงานของต่อมไร้ท่อ(ผ่านทางเลือด)มากขึ้น ออกห่าง set point มากขึ้น เช่น ฮอร์โมนออกซิโทซิน ทารกดูดนมมารดาอยู่สม่ำเสมอ จะกระตุ้นให้สร้างออกซิโทซินตลอดเวลาหรือมากขึ้น
  • 3. THERMOREGULATION อุณหภูมิร่างกายมนุษย์ประมาณ 37 องศา - สัตว์เลือดเย็น (poikilotherm) หรือ heterotherms หมายถึง สัตว์ที่มีอุณหภูมิของร่างกายเปลี่ยนแปลงไปตาม สภาพแวดล้อม ได้แก่ ปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน - ectotherm เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีอุณหภูมิของร่างกายขึ้นอยู่กับแหล่งภายนอก เช่นแสงแดดหรือพื้นผิวหินที่ร้อน - สัตว์เลือดอุ่น (homeotherm) หมายถึงสัตว์ที่มีการรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ ได้แก่ สัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม - endotherm เป็นสิ่งมีชีวิตที่รักษาอุณหภูมิของร่างกายในระดับที่น่าพอใจโดยไม่ต้องอาศัยความร้อนจากภายนอก การส่งถ่ายความร้อนในร่างกาย (Body Heat transfer) ความร้อนในร่างกายสามารถเคลื่อนที่ได้ 4 รูปแบบ 1. การนำ (Conduction) เป็นการส่งถ่ายอุณหภูมิโดยที่ตัวกลางนั้นอยู่กับที่ เช่น การนำความร้อนผ่านกำแพงบ้าน 2. การพา (Convection) เป็นการส่งถ่ายอุณหภูมิโดยที่ตัวกลางนั้นเคลื่อนที่ไปกับอุณหภูมิด้วย เช่น น้ำเลือดที่มีอุณหภูมิไหล ผ่านเส้นเลือด 3. การแผ่รังสี (Radiation) เป็นการถ่ายเทอุณหภูมิที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น ดวงอาทิตย์การแผ่รังสีมายังโลก 4. การระเหย (Evaporation) เป็นการเสียความร้อนโดยไอน้ำทางผิวหนัง เช่น การขับเหงื่อ อุณหภูมิในอวัยวะสำคัญ ส่งความร้อนไปผิวหนังเพื่อลดอุณหภูมิ ผ่านทาง cutaneous vessel Body shell (skin) อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ตามสิ่งแวดล้อม
  • 4. SWEATING การขับเหงื่อ - เมื่อร่างกายร้อน ต่อมเหงื่อจะกระตุ้นการขับเหงื่อหรืออาจอยู่ใน รูปของแก๊ส เพื่อรักษาความร้อนในร่างกาย เราสามารถรับรู้ได้ผ่าน ผิวหนัง เมื่อผิวหนังคลายความร้อนจะรู้สึกเย็นลง หลอดเลือด ขยายตัว (Vasodilation) SHIVERING การสั่น - Hypothalamus ส่งสัญญาณไปยังกล้ามเนื้อและผิวหนัง, ระบบ หายใจ, ระบบไหลเวียนโลหิต ทำให้หลอดเลือดหดตัว ลดการ ไหลเวียนของเลือดเพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อน กล้ามเนื้อรอบ รูขุมขนหดตัว ทำให้เกิดการสั่น - มีการปล่อย Thyroid hormones เพื่อเพิ่ม metabolism และมี การหดตัวของหลอดเลือด (Vasoconstriction) เพื่อทำให้อุ่นขึ้น OSMOREGULATION การควบคุมสมดุลของเหลว - water intoxication เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับสารน้ำในปริมาณที่ มากจนกระทั่งเป็นอันตรายต่อเซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เซลล์สมอง ทำให้ระดับของ Na ในเลือดลดต่ำ เรียกภาวะดังกล่าวว่า hyponatremia อาจทำให้เกิดการตายของเซลล์ได้ Types of Osmotic Solutions 1. สารละลายมีความดันออสโมติกเท่ากับความดันออสโมติกในเซลล์ เรียกว่า isotonic solution เซลล์ยังคงมีรูปร่าง เหมือนเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของเซลล์ 2. สารละลายมีความดันออสโมติกต่ำกว่าความดันออสโมติกในเซลล์เรียกว่า hypotonic solution เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น กว่าเดิมหรือเซลล์แตกได้ 3. สารละลายมีความดันออสโมติกมากกว่าความดันออสโมติกในเซลล์เรียกว่า hypertonic solution สิ่งที่เกิดขึ้นจะทำให้ ขนาดของเซลล์เล็กลงกว่าเดิม WHY IS WATER IMPORTANT? - น้ำมีอยู่ในร่างกายมนุษย์ถึง 70 % น้ำเป็นตัวกลางในการเกิดปฏิกิริยาเคมีทุกชนิดในกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกาย - Dehydration เป็นภาวะขาดน้ำ อาจทำให้เซลล์เสียหาย - ร่างกายได้รับน้ำหลายทางด้วยกัน น้ำที่เป็นส่วนประกอบในอาหาร น้ำดื่ม - ร่างกายสูญเสียน้ำหลายทางด้วยกัน ผิวหนังในรูปของเหงื่อ การหายใจออก อุจจาระ ปัสสาวะ -น้ำสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้
  • 5. - ไตทำหน้าที่ในการรักษาสมดุลน้ำ -น้ำมีหลายประเภท ได้แก่ ⇾ 1.ส่วนของน้ำนอกเซลล์ (extracellular fluid, ECF) ประกอบด้วย พลาสมา น้ำระหว่างเซลล์(interstitial fluid (ISF)) และส่วนน้อยอยู่ใน transcellular fluid ได้แก่ น้ำในทางเดินอาหาร สมอง และไขสันหลัง ⇾ 2.ส่วนของน้ำในเซลล์ (intracellular fluid, ICF) เปลี่ยนแปลงตามอายุ เพศ และปริมาณไขมันในร่างกาย DEHYDRATION AND ITS CAUSES - ในรายที่มีความรุนแรงน้อยมักมีอาการวิงเวียน ปากแห้ง ปัสสาวะมีสีเข้ม ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจทำให้เสียชีวิต - สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะขาดน้ำ ได้แก่ ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป ดื่มน้ำน้อยเกินไป ท้องเสีย ทานอาหารที่มีรสเค็ม อากาศ แห้ง caffeine and alcohol WATER REGULATION - ถ้าร่างกายขาดน้ำ จะทำให้ปริมาตรของเลือดลดลง ความเข้มข้นของเลือดจึง เพิ่มขึ้น ทำให้แรงดันออสโมติกของเลือดสูงขึ้น Osmoreceptors ในไฮโพทา ลามัสที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงแรงดันออสโมติกจะกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนท้าย ให้ปล่อยฮอร์โมน antidiruetic hormone,ADH และส่งไปยังท่อของหน่วยไต ทำให้เกิดการดูดน้ำกลับเข้าเลือดมากขึ้น ทำให้ปริมาตรของเลือดเพิ่มขึ้น และลด แรงดันออสโมติกของเลือดพร้อมกับขับถ่ายปัสสาวะออกน้อยลง - Renin ไปย่อย angiotensinogen -> angiotensin I -> angiotensin II -> Adrenal gland -> aldosterone ดูดกลับ Na+ - Juxtaglomerular Apparatus มีหน้าที่ควบคุมความดันเลือด ภายในบรรจุ renin เมื่อมีขาดน้ำ จะกระตุ้นให้หลั่ง renin เข้าสู่กระแสเลือด ต่อมาจะไปเร่ง ปฏิกริยาเกิด hydrolysis ของ angiotensinogen ให้เป็น angiotensin I -> angiotensin II เป็นตัว vasocontrictor ที่ควบคุมทั้ง renal และ systemic vascular resistance ทำให้เกิดการหดตัวของ arterioles เพื่อเพิ่มความดันเลือด - โรคลมแดด (Heatstroke) เป็นภาวะที่เกิดจากร่างกายมีความร้อนสูงเกินไป มีอาการสับสน กระวนกระวาย เพ้อ และชักหรือหมดสติได้ ร่วมกับภาวะ หัวใจเต้นเร็ว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยบางรายจะมีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ผิวหนังแดงและร้อนแต่แห้ง Glucoregulation - กิจกรรมที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของ glucose ได้แก่ การกิน การออกกำลังกายที่หนักเกินไป - อินซูลินซึ่งผลิตจาก 𝛃-cell ในตับอ่อนเป็นฮอร์โมนที่สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือด กระตุ้นการสร้างไกลโคเจน (glycogenesis) ไปเก็บไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อ ป้องกันการสลายไขมัน และยับยั้งการสร้างน้ำตาล (gluconeogenesis) ส่งผล ให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดลดลง ในปัจจุบันมีการผลิตฮอร์โมนดังกล่าวจากสัตว์เพื่อใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะเบาหวาน (diabetes mellitus) ส่วนกลูคากอนซึ่งผลิตจาก α-cell ในตับอ่อน ทำหน้าที่ส่งเสริมการสร้างน้ำตาลโดยกระตุ้นการสลายโปรตีน สลาย ไขมัน - ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) รักษาโดยการให้กลูโคส มี Angiotensin converting enzyme ช่วยเร่ง
  • 6. - ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) รักษาโดยปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ออกกำลังกายเป็นประจำ - crenation คือการหดตัวของเม็ดเลือดแดงที่มีขอบหยักเมื่อสัมผัสกับสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงมากๆ