SlideShare a Scribd company logo
ระบบขับถ่าย/กาจัดของเสีย
Excretory System
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
www.kruseksan.com
เมื่อเรียนจบหัวข้อนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ
1. ระบุอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการกาจัดของเสียทางไต
2. อธิบายกระบวนการทางานของไต
3. สรุปความสาคัญของไตและตระหนักถึงการดูแลรักษาไต
4. ระบุโครงสร้างที่ใช้ในการขับถ่ายของเสียของสัตว์บางชนิด
จุดประสงค์การเรียนรู้
คือ สิ่งที่ร่างกายขับออกมาหรือของส่วนเกินต่าง ๆ ที่เกิดจาก
กระบวนการเมแทบอลิซึม ที่ร่างกายไม่ต้องการใช้แล้ว และไม่มี
ประโยชน์จึงขับออกไปนอกร่างกาย นอกจากแก๊ส CO2 จากระบบ
หายใจ เหงื่อจากทางผิวหนัง และอุจจาระจากระบบย่อยอาหารแล้ว
ยังมีของเสียในรูปไนโตรเจน (N) เป็นองค์ประกอบหลัง ที่เรียกว่า
Nitrogen waste
ของเสีย (Waste)
Nitrogen waste
ความเป็น
พิษ
สถานะ พลังงานที่ใช้ใน
การขับ
สิ่งมีชีวิต
แอมโมเนีย (NH3) สูงมาก ก๊าซ
ละลายน้าได้ดี
ปานกลาง สัตว์ชันต้า, ปลา
,สัตว์ครึงบกครึง
น้า
กรดยูริก
(Uric acid)
ต้า ของแข็ง
ไม่ละลายน้า
สูงทีสุด สัตว์เลือยคลาน,
แมลง ,นก
ยูเรีย (Urea) ปานกลาง ของเหลว น้อยทีสุด คน, สัตว์เลียง
ลูกด้วยนม
ประเภทของของเสียในสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต โครงสร้างที่ใช้
อะมีบา พารามีเซียม (สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว) เยื่อหุ้มเซลล์, Contractile vaccuole
เพื่อขับน้าส่วนกิน
ฟองน้า , ไฮดรา แพร่โดยตรงเข้าเซลล์
หนอนตัวแบน Flame cell
ไส้เดือนดิน Nephridia
แมลง Mulphighian Tubule
สัตว์มีกระดูกสันหลัง, คน Kidney (ไต)
อวัยวะที่ใช้ในการขับถ่ายของสิ่งมีชีวิต
ปัจจัยที่มีผลต่อการดารงชีวิตของมนุษย์
มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ สิ่งแวดล้อมภายนอกร่างกาย
สิ่งแวดล้อมภายในร่างกาย
น้้า
อุณหภูมิ
ความเป็นกรด - เบส
อื่นๆ
> 70%
1. การรักษาสมดุลของของเหลวในร่างกาย (Regulation of body fluid)
- สมดุลเกลือและน้้า
- สมดุลกรด ด่างในเลือดและของเหลวนอกเซลล์
- สมดุลของสารละลายในเลือดและของเหลวในร่างกาย
2. การรักษาอุณหภูมิของร่างกาย (Thermoregulation)
การรักษาสมดุลร่างกาย (Homeostasis)
สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ (ระบบขับถ่าย)
สารที่ร่างกายจาเป็นต้องกาจัดออก เรียกว่า ของเสีย
การรักษาสมดุลของเหลวในร่างกายของสัตว์น้้าจืดและสัตว์น้้าเค็ม
การรักษาสมดุลร่างกาย (Homeostasis)
น้าเค็ม น้าจืด
H2O (osmosis)
Hypertonic น้้าเข้มข้นมากกว่าของเหลวในปลา Hypotonic น้้าเข้มข้นน้อยกว่าของเหลวในปลา
การปรับตัวตัว
ดื่มน้้ามาก เหงือกก้าจัดแร่ธาตุส่วนเกินออก ดื่มน้้าน้อย เหงือกดูดเกลือแร่
ปัสสาวะน้อยเข้มข้น (active transport)
ปัสสาวะบ่อยเจือจาง
Hypertonic sol
Hypotonic sol
สาร > น้้า
H2O
กลุ่มเซลล์ขับ
แร่ธาตุส่วนเกิน
ผิวหนัง / เกล็ดป้องกันแร่ธาตุ
ปัสสาวะน้อยและมีความเข้มข้นสูง /
ก้าจัดทางทวารหนัก
สาร > น้้า
H2O ผิวหนัง / เกล็ดป้องกันน้้า
ปัสสาวะบ่อยและค่อนข้าง
มีความเจือจาง
กลุ่มเซลล์ดูดแร่ธาตุกลับ
Active transport
1. Contractile Vacuole [contract= บีบตัว] พบ
ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม นอกจากนี้ยัง
ใช้เยื่อหุ้มเซลล์ในการขับสารด้วย
อวัยวะในการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตบางชนิด
อวัยวะในการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตบางชนิด
Contractile Vacuole [contract= บีบตัว] ทาหน้าที่
ขับน้้าที่มากเกินไปออกจากเซลล์ เพื่อรักษาปริมาณน้้าภายในเซลล์
ให้พอเหมาะ (Osmoregulation)
2. Cell membrane พบในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น ฟองน้า
และกลุ่มไฮดรา เป็นต้น
อวัยวะในการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตบางชนิด
1. โพรโทซัวน้้าจืด จะก้าจัด
- แอมโมเนีย และ CO2 ด้วยการแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรง
เพราะแอมโมเนีย และ CO2 มีขนาดเล็ก
- น้้าที่มากเกิน จะใช้คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล ควบคุมแรงดัน
Osmoregulator ท้าหน้าที่ คล้ายไต
2. โพรโทซัวน้้าเค็ม ไม่มีคอนแทร็กไทล์แวคิวโอล เพราะแรงดัน
ของน้้าทะเลสูงกว่าของร่างกาย ท้าให้มีโอกาสสูญเสียน้้า
อวัยวะในการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตบางชนิด
3. Flame cell พบในสิ่งมีชีวิต เช่น พลานาเรีย
อวัยวะในการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตบางชนิด
พลานาเรีย
Flame cell
ท่อขับถ่าย
4. Nephridium พบในสิ่งมีชีวิต เช่น ไส้เดือนดิน ป้องละ1 คู่
เนื่องจากมีโครงสร้างร่างกายที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น หลักการทางาน
คล้ายไต
อวัยวะในการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตบางชนิด
Nephriostome
Nephriopore
5. Malpighian tubule พบในสิ่งมีชีวิตเช่น แมลง
อวัยวะในการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตบางชนิด
ท่อมัลพิเกียล
ทวารหนัก
เต่าทะเล
นกทะเล
6. Salt gland ต่อมเกลือ เช่น นกทะเล เต่าทะเล ทาหน้าที่
ขับแร่ธาตุส่วนเกินออก
(Nasal gland)
www.vcharkarn.com/vcafe/8273
การขับถ่ายของสัตว์
สัตว์น้า เลี้ยงลูกด้วยน้านม สัตว์ปีก/สัตว์เลื้อยคลาน
แอมโมเนีย ยูเรีย ยูริก
ปลา, ครึ่งบกครึ่งน้้า สุนัข, มนุษย์ นก, ไก่, จิ้งจก, งู
อวัยวะในการรักษาสมดุลของมนุษย์
เรื่องของ ขี้จิ้งจก... กับ....คนขี้สงสัย
(จากคาถามหนึ่ง นาไปสู่ความรู้มากมาย)
"ขี้จิ้งจกหนึ่งก้อน มีสองสีคือสีดา กับสีขาว ที่อีกปลายนั้นน่ะ สีดาคือ
อุจจาระ ส่วนสีขาวคือปัสสาวะ โดยเวลามันถ่ายจะถ่ายออกมาพร้อมกัน
ทางช่องทวารเดียวกัน สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์ปีกจะขับถ่ายเช่นนี้ เช่น
ขี้ตุ๊กแก จิ้งเหลน ขี้นก ซึ่งแตกต่างจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอย่างเรา ๆ "
"แล้วทาไม ปลายจุดถึงมีสีขาว ทาไมขี้คนไม่มีสีขาว"
Kidney พบในสิ่งมีชีวิตหลายชนิดที่มีโครงสร้างค่อนข้าง
ซับซ้อน เช่น หอย หมึก สัตว์มีกระดูกสันหลัง ไตเกิดจากการ
รวมตัวของ Nephridium
อวัยวะในการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตบางชนิด
Renal
cortex
Renal
medulla
ท่อไต
Renal
pelvis
ถ้าปริมาณน้้าที่รับเข้าและขับออกไม่สมดุลกัน จะเกิดปัญหาแก่ร่างกาย
อย่างไร
การรักษาดุลยภาพของน้าและสารในร่างกายคน
Renal
cortex
Renal
medulla
ท่อไต
Renal
pelvis
สัตว์มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ ทั้งคนมีระบบควบคุมดุลยภาพน้้า
ประกอบด้วยไต (Kidney) ท่อไต (Ureter) และกระเพาะ
ปัสสาวะ (Urinary bladder)
และขับออกทาง ท่อปัสสาวะ (Urethra)
ของเหลวทีร่างกายรับเข้า
อาหาร
1,200 cm3เครืองดืม
กระบวนการหายใจ
1,000 cm3
300 cm3
2,500 cm3รวม
ของเหลวทีร่างกายขับออก
เหงือ
1,500 cm3ปัสสาวะ
หายใจออก
500 cm3
350 cm3
150 cm3
รวม
อุจจาระ
2,500 cm3
น้าในร่างกายคนเรา ถูกแบ่งด้วยเยือหุ้มเซลล์ออกเป็น 3 ส่วน คือ
1. น้้านอกเซลล์ (Extracellular) คือ น้้าในร่างกายอยู่
ภายนอกเซลล์ หน้าที่ รักษาสภาพแวดล้อมนอกเซลล์ให้คงที่
ได้แก่ พลาสมาหมุนเวียนในเลือด ส่วนอยู่ระหว่างเซลล์ และ
น้้าเหลือง (Lymph)
2. น้้าข้ามเซลล์ (Transcellular) คือ ส่วนน้้านอกเซลล์ที่
ลักษณะพิเศษ ที่ถูกหลั่งจากเซลล์เยื่อบุ (Epithelium) ด้วย
วิธีแอกทีฟทรานสปอร์ต มาหล่อเลี้ยงตามช่องเฉพาะของร่างกาย
ได้แก่ น้้าไขสันหลัง
3. น้้าในเซลล์ (Intracellular) คือ ส่วนที่อยู่ภายในเซลล์
เป็นแหล่งเกิดกระบวนการเมตาบอลิซึมในเซลล์ มีปริมาณกว่า
ครึ่งของน้้าทั้งหมดในร่างกาย
การควบคุมการท้างานของไต
อวัยวะในการรักษาดุลยภาพของน้าในร่างกายมนุษย์
ADH
กระหาย
เลือดความเข้มข้นเพิ่ม
แรงดันออสโมติกสูง
ดื่มน้้าลดความ
เข้มข้นเลือดตัวรับความ
เข้มข้นเลือด
ทาให้ท่อหน่วยไต (convoluted tubule)
เพิ่มการดูดน้้ากลับ ขับถ่ายปัสสาวน้อยลง
ADH (antidiuretic hormone) ฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก
เหงื่อ (Sweal) หรือหายใจทางปอด
ขับถ่ายของเสีย ซึ่งเกิดจากเมแทบอลิซึมของร่างกาย
เกิดสารบางอย่างที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น กลูโคส
ควบคุมสมดุลน้า และอิเล็กโทรไลต์ของร่างกาย
ควบคุมความเป็นกรดเบสของของเหลวในร่างกาย
สร้างสารบางชนิดที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย
เช่น ฮอร์โมนเรนิน (renin)
ขับถ่ายสารแปลกปลอมที่ร่างกายรับมา เช่น ยารักษาโรค
Kidney
การรักษาดุลยภาพของน้าในร่างกายมนุษย์
Kidney
กรองและก้าจัด
Renal artery
Renal vein
Ureter (ท่อไต)
Urinary bladder
(กระเพาะปัสสาวะ)
Urethra
Urine
สมองส่วนไฮโพทาลามัส
ต่อมหมวกไต
Kidney
ช่องท้องค่อนไปทางด้านหลัง 2 ข้างระดับเอวตามแนวกระดูกสันหลัง
คล้ายเมล็ดถั่วแดง
หน้าที่
กรองของเสียออกจากเลือด
รักษาดุลยภาพของน้า + แร่ธาตุ
โกลเมอรูลัส
ส่วนประกอบของหน่วยไตเป็นเส้นเลือดฝอยภายในกระเปาะโบว์แมนแคปซูล
กรองของเสียออกจากเลือด
หน่วยไต Nephron
องค์ประกอบของไต
รีนัลคอร์เท็กซ์ (เนื้อไตส่วนนอก) รีนัลเมดัลลา (เนื้อไตส่วนใน)
Glomerulus
กรองของเสียออกจากเลือด และรักษาดุลยภาพของนาและแร่ธาตุ
ของเหลวที่ไต
นาปัสสาวะ
สาร
ในน้าเลือด
( g / 100cm3 )
ในของเหลวที่ไต
( g / 100cm3 )
ในน้าปัสสาวะ
( g / 100cm3 )
น้า 90 90 95
โปรตีน 8 - -
ยูเรีย 0.03 0.03 1.8
กรดยูริก 0.004 0.004 0.05
กลูโคส 0.1 0.1 -
กรดอะมิโน 0.05 0.05 -
ไอออนต่างๆ (Na+ , Cl-) 0.9 0.9 < 0.9-3.6
ปริมาณของสารต่างๆ ในน้้าเลือด / ในของเหลวที่ไต / ในน้้าปัสสาวะ
ผ่านโกลเมอรูลัส ผ่านท่อหน่วยไต
Kidney หรือ ไต เป็นอวัยวะขับถ่ายที่สาคัญของมนุษย์และสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยน้านมทั่วไป ไต เป็นอวัยวะคู่รูปร่างเหมือนเมล็ดถั่ว
เป็นอวัยวะที่มีเลือดมาเลี้ยงถึง 20% ของการบีบตัวของหัวใจ
หนึ่งครั้ง หน้าที่ของไต คือ กรองของเสียออกจากเลือด
ช่วยกาจัดสารบางอย่าง ไตส่วนในสร้างฮอร์โมน
Erithropoietin ช่วยกระตุ้นไขสันหลัง
ให้สร้างเม็ดเลือดแดง
ไต มีหน่วยย่อยสุดคือ Nephron หรือ
หน่วยไต และมีเนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ
Renal cortex (ชั้นนอก)
Renal medulla (ชั้นใน)
ไต (Kidney) และโครงสร้างหน่วยไต
Renal
cortex
Renal
medulla
www.medindia.net/.../Images/kidney.gif
โครงสร้างไต
1. ไต มีขนาดยาวประมาณ 10-13
cm กว้าง 6 cm และหนา 3 cm ผนัง
ช่องกลวง คือ เนื้อไต ช่องในไต
เรียกว่า กรวยไต (Pelvis) ก้านของ
กรวย คือ ท่อไต (Ureter) จากนั้น
นาของเหลวไปรวมกันในกระเพาะ
ปัสสาวะ (Bladder)
2. เนื้อไต แบ่งเป็น 2 ชั้น ชั้นนอก คือ Cortex ชั้นใน คือ Medulla และภายใน
เนื้อไต ประกอบด้วยหน่วยไต (Nephron) จานวนมากมาย ไตแต่ละข้างมี
หน่วยไตประมาณ 1 ล้านหน่วย
www.medindia.net/.../Images/kidney.gif
รายละเอียดโครงสร้างเนือไต
1. Cortex เป็นเนื้อไตชั้นนอก ประกอบด้วย
โครงสร้างส่วนใหญ่ของหน่วยไต (Nephron)
ซึ่งได้ Bowman Capsule ท่อของหน่วยไต
ตอนต้น หรือท่อขดส่วนต้น หรือ พรอกซิมอล
คอนโวลูเตด ทิวบูล (Proximal convoluted
tubule) ท่อของหน่วยไตตอนปลาย ดิสตอล
คอนโวลูเตด ทิวบูล (Distal convoluted tubule)
2. Medulla เป็นเนื้อไตชั้นใน ตรงกลางมีช่องของกรวยไต (Pelvis) ต่อกับท่อไต
(Ureter) ซึ่งเป็นก้านกรวย ภายในเนื้อไตชั้นเมดัลลา ยังประกอบด้วย
ห่วงเฮนเล (Loop of Henle หรือ Henle loop) มีลักษณะเป็นห่วงรูปตัวยู
www.medindia.net/.../Images/kidney.gif
Capsule
Cortex
Medulla
Fat in renal
sinus
Renal sinus
Calyx
Renal artery
Renal vein
Renal pelvis
Renal pyramid in
renal medulla
Renal papilla
Ureter
Cut Section of Kidney
การท้างานของไต
อวัยวะในการรักษาสมดุลของมนุษย์
ขณะผ่านไตมีการกรอง
น้้าปัสสาวะ
หลอดเลือด นาเลือดไปกรองที่ไต
เป็นระบบเลือดที่มีออกซิเจนสูง คือ
หลอดเลือดแดง (renal artery) ตอนปลาย
ของรีนัลอาร์เทอรี แตกแขนงเป็นกลุ่ม
หลอดเลือดฝอย เรียกว่า Glomerulus ที่
โบร์แมนแคปซูลหุ้มรอบก่อน แล้วแตก
แขนงเป็นร่างแหพันรอบส่วนต่าง ๆ ของ
ท่อของหน่วยไต
ตรงบริเวณโค้งรูปตัวยูของห่วงเฮนเลน
และวาซาเรกตา (Vasa recta) ทางานเป็น
ระบบเรียกว่า Counter current multiplier
กรองของเหลวมีความเข้มข้นสูง
การท้างานของไต
อวัยวะในการรักษาสมดุลของมนุษย์
ขณะผ่านไตมีการกรอง
น้้าปัสสาวะ
ภายหลังเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของท่อ
หน่วยไตแล้ว เลือดที่มีออกซิเจนต่าจะเข้าสู่
รีนัลเวน (Renal vein) และไหลออกจากไต
ไป
การท้างานของไต
อวัยวะในการรักษาสมดุลของมนุษย์
Cortex
Medulla
Nephron
ท่อหน่วยไต (convoluted tubule) แบ่งเป็น 3 ส่วน
1. ท่อหน่วยไตตอนต้น หรือ Proximal convoluted tubule ดูดสารมีประโยชน์
2. ห่วงเฮนเลน หรือ Henle loop หลอดโค้งตัวยู
3. ท่อหน่วยไตตอนท้าย หรือ Distal convolud tubule มี ADH
การท้างานของไต
อวัยวะในการรักษาสมดุลของมนุษย์
Bowman’s capsule
Collector duct
Loop of Henle
PCT
DCT
น้้าปัสสาวะ
การท้าให้น้้าปัสสาวะเข้มข้น โดยการดูดกลับ NaCl และ น้้า
การดูดสารกลับที่ท่อหน่วยไต (Tubular reabsorption)
300 mmOsm/L
300 mmOsm/L
กรอง
HCO-3
NaCl
H2O
K+
สารอาหาร
ดูดกลับ
Active trans.
Passive trans.
H+
NH3
400 mmOsm/L
600 mmOsm/L
900 mmOsm/L
1200 mmOsm/L
H2O
H2O
H2O
100
300
400
600
1200
200
400
700
1200
NaCl
NaCl
NaCl
NaCl
NaCl
NaCl
H2O
H2O
H2O
Urea
แบบใช้พลังงานของ
เซลล์(Activetransport)
ในกระบวนการดูดสารกลับของท่อหน่วยไตใช้การลาเลียงสาร
สมองส่วนใดของร่างกายที่ควบคุมสมดุลของปริมาณน้้าในเลือด
ไฮโพทาลามัส Hypothalamus
ปลายประสาทในต่อมใต้สมองส่วนท้าย
ADH Anti – Diuretic Hormone=
น้้า , ยูเรีย , Cl- , HCO-3 กลูโคส , กรดอะมิโน , Na+ , K+
แบบไม่ใช้พลังงานของเซลล์
(Passive transport)
เลือดที่มีความเข้มข้นมาก
เลือดที่มีปริมาณน้้าในเลือดน้อย
ไฮโพทาลามัส
ต่อมใต้สมองส่วนท้ายไต
ปริมาณน้าในเลือดมาก
กระหายน้าดื่มน้า
ปริมาณปัสสาวะน้อย
ปริมาณปัสสาวะมาก
ยับยัง
กระตุ้นให้หลั่ง ADH
ยับยังการหลั่ง ADH
ดูดนากลับ
การกรองสารชนิดต่างๆ ในหน่วยไต
อวัยวะในการรักษาสมดุลของมนุษย์
เมื่อของเหลวที่กรองได้ผ่านหน่วยไตมาแล้ว และของเหลวไหลมาถึง ท่อรวม
หรือ คอลเลกติง ทิวบูล จะเรียกว่า น้้าปัสสาวะ ต่อจากนั้นส่งไปเก็บไว้ที่
กระเพาะปัสสาวะ การขับปัสสาวะอาศัยหลัก 3 อย่าง
1. ปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น จนความตึงในกระเพาะปัสสาวะสูง ถึงระดับกลั้น
(Threshold)
2. เกิดรีเฟลกซ์การถ่ายปัสสาวะ ท้าให้กระเพาะปัสสาวะบีบตัว
3. ยิ่งเพิ่มความดันในกระเพาะปัสสาวะมากขึ้นก็จะท้าให้มีความรู้สึกอยากถ่าย
ปัสสาวะ
การขับถ่ายปัสสาวะ (Micturition)
1. เบาหวาน (Diabetes mellitus)
เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมน Insulin ได้มากพอมาควบคุม
ระดับน้้าตาลในเลือดให้ปกติ ท่อหน่วยไตตอนต้น PCT ไม่สามารถดูดน้้าตาลกับ
คืนเข้าสู่เลือด จึงมีน้้าตาลกลูโคสปนออกมากับปัสสาวะ
2. กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งปนเปื้อนจากอุจจาระ จะปัสสาวะบ่อย
3. โรคนิ่ว
ทั้งนิ่วในไต หรือท่อไต และนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ เกิดจากตะกอนขางแร่
ธาตุต่าง ๆ ในปัสสาวะไม่ละลายแต่รวมตัวกันเป็นก้อน ไปอุดตามทางเดิน
ปัสสาวะ รักษา ใช้ยา หรือการผ่าตัด หรือการสลายนิ่ว
4. โรคไตวาย (Renal failure)
เป็นภาวะที่ไตสูญเสียหน้าที่การท้างาน มีการสะสมของเสีย รักษาต้องใช้ยา
หรือฟอกเลือด หรือใช้ไตเทียม
อาการผิดปกติเกี่ยวกับการขับถ่ายโดยไต
5. เบาจืด (Diabetes insipidus)
ต่อมใต้สมองหลั่งฮอร์โมน ADH น้อยเกินไปท้าให้มีการดูดท่อกลับคืนท่อ
ขด ส่วนท้ายน้อย ปัสสาวะจึงมีน้้ามากกว่าปกติ
6. Uremia
ผลิตภัณฑ์ของเมแมบอลิซึมของโปรตีนไปสะสมในเลือดมาก เช่น ยูเรีย เกิด
อาการช็อค
7. Renal glucosuria
เป็นความผิดปกติของท่อหน่วยไตไม่ดูดกลับกลูโคสได้ ท้าให้พบกลูโคสในน้้า
ปัสสาวะ เป็นโรคเบาหวาน
อาการผิดปกติเกี่ยวกับการขับถ่ายโดยไต
เป็นเครื่องมือท้าหน้าที่แทนไต มีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ ว่า
“เครื่องเฮโมไดอาไลเซอร์ (Hemodialyzer)” อยู่นอกร่างกาย ใช้เป็น
ครั้งคราวเท่านั้น ประมาณสัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง ครั้งละ 3 ชั่วโมง โดยเอา
หลอดเลือดอาร์เทอรี และหลอดเลือดเวน ต่อเข้ากับท่อของเครื่อง
ไตเทียม (Artificial Kidney)
3. การรักษาดุลยภาพของความเป็นกรด – เบสภายในร่างกาย
ในคนปกติ pH อยู่ระหว่าง 7.35 – 7.45 ถ้าเลือดมี pH ต่้ากว่า 7.35
หมายความว่า เลือดของบุคคลนั้นเป็นกรด มากกว่าปกติ เรียกว่า Acidosis
ถ้า pH สูงกว่า 7.45 หมายความว่า เลือดของบุคคลนั้นเป็นด่างมากกว่าปกติ
เรียก Alkalosis
สมการรักษาดุลยภาพกรด - เบสในเลือด
CO2 + H2O H2CO3 H+ + HCO3
-
กรดคาร์บอนิก ไฮโดรเจนไอออน ไอโดรเจน
คาร์บอเนต
ไอออน
ปกติ (7.35-7.45) Alkalosis สูงกว่า 7.45Acidosis ต่ากว่า 7.35
3. การรักษาดุลยภาพของความเป็นกรด – เบสภายในร่างกาย
สมการรักษาดุลยภาพกรด - เบสในเลือด
CO2 + H2O H2CO3 H+ + HCO3
-
กรดคาร์บอนิก ไฮโดรเจนไอออน ไอโดรเจน
คาร์บอเนต
ไอออน
ร่างกายรักษาดุลยภาพของกรด – เบส ในเลือดโดยการรักษาดุลยภาพของไฮโดรเจน
ไอออน H+ ที่เกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึม กระบวนการหลัก คือ กระบวนการ
หายใจระดับเซลล์ ซึ่งมี CO2 เป็นผลผลิต รวมตัวกับน้้าในเซลล์เม็ดเลือดแดง เป็น
กรดคาร์บอนิก แตกตัวจะได้ H+ และ HCO3
- ร่างกายมีเมแทบอลิซึมสูงจะมี
CO2 เกิดขึ้นมาก ส่งผลให้ H+ สูง
ไตมีบทบาทในการรักษาความเป็นกรด – เบส ของเลือด เมื่อ pH ของเลือดต่้า
หน่วยไตขับสารที่มีส่วนประกอบของ Na+ และ NH4 ออกจากเลือด และดูดกลับ
ไอออนบางประเภท ซึ่งลดความเป็นกรด ได้แก่ Na+ และ HCO3
-
เอนไซม์ ปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย
Metabolismลดพลังงานกระตุ้นในปฏกิริยา
ช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาภายในร่างกาย
ระดับของค่า pH ในร่างกาย การรักษาดุลยภาพของกรด - เบส
ระดับของค่า pH ในร่างกายเหมาะสมกับการท้างานของเอนไซม์ในแต่ละชนิด
เอนไซม์เพปซิน โปรตีน เอนไซม์ลิเพส ไขมัน
pH = 2 pH = 8
3. การรักษาดุลยภาพของความเป็นกรด – เบสภายในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของกรด - เบส การรักษาดุลยภาพของกรด – เบสในเลือด
H+
Respiration
Metabolism
CO2
HCO-
3
H2CO3 H2O +=
pH ต่้า กรด
pH ต่้า กรด H+
H+
H+
NH+
4
NH+
4
NH+
4
Kidney
Nephron
Na+
Na+
Na+
Na+
Na+Na+
HCO-
3
HCO-
3
HCO-
3
HCO-
3
pH เพิ่มขึ้น สมดุล
4.การรักษาอุณหภูมิของมนุษย์ (Thermoregulation)
1. การเปลี่ยนแปลงอัตราเมเทบอลิซึม
อากาศหนาว เพิ่มอัตราเมเทบอลิซึม
เพิ่มฮอร์โมนบางชนิด เช่น Epinephrine, Thyroxine
2. การเพิ่มอัตราการแลกเปลี่ยนความร้อนกับสิงแวดล้อม
เพิ่มอัตราการไหลเวียนมาบริเวณผิวหนัง การขยายตัวของเส้นเลือด การ
พาและการแผ่รังสีความร้อน
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ระดับของค่า pH ในร่างกายเหมาะสมกับการท้างานของเอนไซม์ในแต่ละชนิด
กลไกควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสมกับการท้างานของ
กระบวนการต่างๆในร่างกาย
อุณหภูมิของร่างกายอยู่ระหว่าง 35.8 – 37.7 oC
กระบวนการต่างๆในร่างกายไม่สามารถท้างานตามปกติต่้ากว่า 34 oC มากกว่า 40 oC
35 - 40 oC
การรักษาอุณหภูมิของมนุษย์ (Thermoregulation)
www.med.cmu.ac.th/.../human/lesson/lesson4.php
Skin Structures
Epidermis
Dermis
subcutaneous tissue
www.sweathelp.org/english/PFF_Hyperhidrosis_O...
Sweat gland
Epidermis
หนังก้าพร้า
Keratin
Melanin
Dermis
หนังแท้
ต่อมไขมัน ต่อมเหงื่อ เส้นขน
Collagen
Elastic
เส้นเลือด / เส้นประสาท
subcutaneous tissue
ชั้นไขมัน
เซลล์ไขมัน
Cellulite
กลไกการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย
hilight.kapook.com/view/114
T > 37 OC T < 37 OCไฮโพทาลามัส
ลดอัตราเมแทบอลิซึม เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม
imusichelp.blogspot.com/2009_07_01_archiv
หลอดเลือดขยายตัว หลอดเลือดหดตัว
ต่อมเหงื่อสร้างเหงื่อ ต่อมเหงื่อไม่สร้างเหงื่อ
ขนเอนราบ ขนลุก/ร่างกายสั่น
เพิ่มการระเหย ลดการระเหย
T ของเลือดลดลง T ของเลือดเพิ่มขึน
T ของเลือดปกติ 37 OC
การรักษาอุณหภูมิของมนุษย์ (Thermoregulation)
เมื่ออุณหภูมิสูง เมื่ออุณหภูมิต่า
อุณหภูมิร่างกายเพิ่ม อุณหภูมิร่างกายลด
รับรู้โดยไฮโพทาลามัส รับรู้โดยไฮโพทาลามัส
หลอดเลือดขยาย หลั่งเหงื่อ หลอดเลือดหดตัว กล้ามเนื้อหด
ลดอัตราเมแทบอลิซึม อุณหภูมิลด เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม อุณหภูมิสูง
ขนเอนราบ ขนลุกชัน
เข้าสู่ภาวะปกติ เข้าสู่ภาวะปกติ
ไฮโพทาลามัส ศูนย์ควบคุมหน่วยรับรู้อุณหภูมิ
กล้ามเนื้อยึดกระดูก
เซลล์ไขมัน ต่อมเหงื่อ
หลอดเลือด
สัตว์เลือดอุ่น
Homeothermic animal
สัตว์เลือดเย็น
Poikilothermic animal
สัตว์ที่สามารถรักษาอุณหภูมิของ
ร่างกายไค้ค่อนข้างคงที่ไม่
เปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งแวดล้อม
สัตว์ที่ไม่สามารถรักษาอุณหภูมิของ
ร่างกายให้คงที่โดยจะเปลี่ยนแปลง
ไปตามสิ่งแวดล้อม
สัตว์ปีก / สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ปลา / สัตว์สะเทินน้้าสะเทินบก
สัตว์เลื้อยคลาน / แมลง
การปรับเปลียนพฤติกรรม
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
การหนีหนาว การหนีร้อนHibernation Estivation
การที่สัตว์ซ่อนตัวอยู่นิ่งๆไม่เคลื่อนไหวในขณะที่อุณหภูมิของสภาพแวดล้อมเปลี่ยนไปจากปกติ
การจ้าศีล
โดยระยะนี้อัตราเมตาโบลิซึมของร่างกายจะลดลง
สัตว์ส่วนใหญ่จึงใช้วิธีการนี้ในการสะสมอาหารในยามที่อาหารหายาก
สัตว์เลือดอุ่น สัตว์เลือดเย็น
อัตราการเต้นของหัวใจจะลดลง ร่างกายอาศัยอาหารที่สะสมไว้อย่างช้าๆ
การรักษาอุณหภูมิของมนุษย์ (Thermoregulation)

More Related Content

What's hot

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
sukanya petin
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
Lilrat Witsawachatkun
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 

Similar to ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
tuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
tuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดkrutoyou
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54noeiinoii
 
Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Sp Play'now
 
Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54noeiinoii
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
พัน พัน
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
พัน พัน
 

Similar to ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System) (20)

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54
 
Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54
 
Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
G2
G2G2
G2
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro3 pdf
Astro3 pdfAstro3 pdf
Astro3 pdf
 
Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)