SlideShare a Scribd company logo
ระบบหายใจ (respiration)
ระบบหายใจ
มนุษย์ทุกคนต้องหายใจเพื่อมีชีวิตอยู่ การหายใจเข้า อากาศ
ผ่านไปตามอวัยวะของระบบหายใจตามลาดับ ดังนี้
1.จมูก (Nose)
จมูกส่วนนอกเป็นส่วนที่ยื่นออกมาจากตรงกึ่งกลางของ
ใบหน้า รูปร่างของจมูกมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมพีระมิด
ฐานของรูปสามเหลี่ยมวางปะ ติดกับหน้าผากระหว่างตา
สองข้าง สันจมูกหรือดั้งจมูก มีรูปร่างและขนาดต่างๆกัน
ยื่นตั้งแต่ฐานออกมาข้างนอกและลงข้างล่างมาสุดที่ปลาย
จมูก อีกด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมห้อยติดกับริมฝีปากบน
รู จมูกเปิดออกสู่ภายนกทางด้านนี้ รูจมูกทาหน้าที่เป็น
ทางผ่านของอากาศที่หายใจเข้าไปยังช่องจมูกและกรองฝุ่น
ละอองด้วย
2. หลอดคอ (Pharynx)
เมื่ออากาศผ่านรูจมูกแล้วก็ผ่านเข้าสู่
หลอดคอ ซึ่งเป็นหลอดตั้งตรงยาว
ประมาณยาวประมาณ 5 " หลอดคอ
ติดต่อทั้งช่องปากและช่องจมูก จึง
แบ่งเป็นหลอดคอส่วนจมูก กับ หลอดคอ
ส่วนปาก โดยมีเพดานอ่อนเป็นตัวแยก
สองส่วนนี้ออกจากกัน โครงของหลอด
คอประกอบด้วยกระดูกอ่อน 9 ชิ้น
ด้วยกัน ชิ้นที่ใหญ่ทีสุด คือกระดูกธัย
รอยด์ ที่เราเรียกว่า "ลูกกระเดือก" ใน
ผู้ชายเห็นได้ชัดกว่าผู้หญิง
3. หลอดเสียง (Larynx)
เป็นหลอดยาวประมาณ 4.5 cm ในผู้ชาย
และ 3.5 cm ในผู้หญิง หลอดเสียง
เจริญเติบโตขึ้นมาเรื่อยๆ ตามอายุ ในวัยเริ่ม
เป็นหนุ่มสาว หลอดเสียงเจริญขึ้นอย่าง
รวดเร็ว โดยเฉพาะในผู้ชาย เนื่องจากสาย
เสียง (Vocal cord) ซึ่งอยู่ภายในหลอด
เสียงนี้ยาวและหนาขึ้นอย่างรวดเร็วเกินไป
จึงทาให้เสียงแตกพร่า การเปลี่ยนแปลงนี้
เกิดจากฮอร์โมนของเพศชาย
4. หลอดลม (Trachea)
เป็นส่วนที่ต่ออกมาจากหลอดเสียง ยาวลงไปในทรวงอก ลักษณะรูปร่างของหลอดลมเป็นหลอด
กลมๆ ประกอบด้วยกระดูกอ่อนรูปวงแหวน หรือรูปตัว U ซึ่งมีอยู่ 20 ชิ้น วางอยู่ทางด้านหลังของ
หลอดลม ช่องว่าง ระหว่างกระดูกอ่อนรูปตัว U ที่วางเรียงต่อกันมีเนื้อเยื่อและกล้ามเนือเรียบมายึด
                                                                                  ้
ติดกัน การที่หลอดลมมีกระดูกอ่อนจึงทาให้เปิดอยู่ตลอดเวลา ไม่มีโอกาสที่จะแฟบเข้าหากันได้โดย
แรงดันจากภายนอก จึงรับประกันได้ว่าอากาศเข้าได้ตลอดเวลา หลอดลม ส่วนที่ตรงกับ
กระดูกสันหลังช่วงอกแตกแขนงออกเป็น
หลอดลมแขนงใหญ่ (Bronchi) ข้างซ้ายและขวา
เมื่อเข้าสู่ปอดก็แตกแขนงเป็นหลอดลมเล็กในปอด
หรือที่เรียกว่า หลอดลมฝอย (Bronchiole)
และไปสุดที่ถุงลม (Aveolus) ซึ่งเป็นการที่อากาศอยู่
 ใกล้กับเลือดในปอดมากที่สุด จึงเป็นบริเวณ
แลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจน กับคาร์บอนไดออกไซด์
5. ปอด (Lung)
ปอดมีอยู่สองข้าง วางอยู่ในทรวงอก มีรูปร่างคล้ายกรวย มีปลายหรือยอดชี้ขึ้นไปข้างบนและไปสวม
พอดีกับช่องเปิดแคบๆของทรวงอก ซึ่งช่องเปิดแคบๆนี้ประกอบขึ้นด้วยซี่โครงบนของกระดูกสันอก
และกระดูกสันหลัง ฐานของปอดแต่ละข้างจะใหญ่และวางแนบสนิทกับกระบังลม
ระหว่างปอด 2 ข้าง จะพบว่ามีหัวใจอยู่ ปอดข้างขวาจะโตกว่าปอดข้างซ้ายเล็กน้อย และมีอยู่ 3 ก้อน
ส่วนข้างซ้ายมี 2 ก้อน
หน้าที่ของปอดคือ การนาก๊าซ CO2 ออกจากเลือด และนาออกซิเจนเข้าสู่เลือด ปอดจึงมีรูปร่างใหญ่
มีลักษณะยืดหยุ่นคล้ายฟองน้า

      6. เยื่อหุมปอด (Pleura)
                ้
      เป็นเยื่อที่บางและละเอียดอ่อน เปียกชื้น และเป็นมันลื่น หุ้มผิวภายนอกของปอด เยื่อหุ้มนี้ ไม่
      เพียงคลุมปอดเท่านัน ยังไปบุผิวหนังด้านในของทรวงอกอีก หรือกล่าวได้อีกอย่างหนึงว่า เยื่อ
                           ้                                                               ่
      หุ้มปอดซึ่งมี 2 ชั้น ระหว่าง 2 ชั้นนี้มี ของเหลวอยู่นิดหน่อย เพื่อลดแรงเสียดสี ระหว่างเยื่อหุ้มมี
      โพรงว่าง เรียกว่าช่องระหว่างเยื่อหุ้มปอด
กระบวนการในการหายใจ
ในการหายใจนั้นมีโครงกระดูกส่วนอกและ กล้ามเนื้อบริเวณอกเป็นตัวช่วยขณะ
หายใจเข้า กล้าม เนื้อหลายมัดหดตัวทาให้ทรวงอกขยายออกไปข้างหน้า และยกขึ้น
บน ในเวลาเดียวกันกะบังลมจะลดต่าลง การกระทาทั้งสองอย่างนี้ทาให้โพรงของ
ทรวงอกขยาย ใหญ่มากขึ้น เมื่อกล้ามเนื้อหยุดทางานและหย่อนตัวลง ทรวงอกยุบ
ลงและความดันในช่องท้องจะดันกะบังลม กลับขึ้นมาอยู่ในลักษณะเดิม
กระบวนการเข่นนี้ทาให้ ความดันในปอดเพิ่มขึ้น เมื่อความดันในปอดเพิ่มขึ้นสูง กว่า
ความดันของบรรยากาศ อากาศจะถูกดันออกจาก ปอด ฉะนั้นจึงสรุปได้ว่า ปัจจัย
ประการแรกที่ทาให้ อากาศมีการเคลื่อนไหวเข้าออกจากปอดได้นั้น เกิด จากความ
ดันที่แตกต่างกันนั่นเอง
ระบบการหายใจ (respiratory system)
ระบบการหายใจ คือ ระบบที่ประกอบด้วยอวัยวะเกี่ยวข้องกับการหายใจ
เป็นการนาอากาศเข้าและออกจากร่างกายส่งผลให้แก๊สออกซิเจนทา
ปฏิกิริยากับสารอาหาร ได้พลังงาน น้า และแก๊สคาร์บอนไดออกไซต์
กระบวนการหายใจเกิดขึ้นกับทุกเซลล์ตลอดเวลา การหายใจจาเป็นต้อง
อาศัย โครงสร้าง 2 ชนิดคือ กล้ามเนื้อกะบังลม และกระดูกซี่โครง ซึ่งมี
กลไกการทางานของระบบหายใจ ดังนี้
C6H12O6       + O2                CO2        + H2O + ATP
น ้ำตำลโมเลกุลเดี่ยว + ออกซิเจน  คำร์ บอนไดออกไซด์ + น ้ำ + พลังงำน
1. การหายใจเข้า (Inspiration)
กะบังลมจะเลื่อนต่าลง กระดูก
ซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ทาให้
ปริมาตรของช่องอกเพิ่มขึ้น
ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ
ปอดลดต่าลงกว่าอากาศ
ภายนอก อากาศภายนอกจึง
เคลื่อนเข้าสู่จมูก หลอดลม และ
ไปยังถุงลมปอด
2. การหายใจออก
(Expiration) กะบังลมจะเลื่อน
สูง กระดูกซี่โครงจะเลื่อน
ต่าลง ทาให้ปริมาตรของช่องอก
ลดน้อยลง ความดันอากาศใน
บริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่า
อากาศภายนอก อากาศภายใน
ถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จากถุง
ลมปอดไปสู่หลอดลมและออก
ทางจมูก
การแลกเปลียนก๊าซและการใช้
             ่
ออกซิเจน
เมื่อเราหายใจเข้า อากาศภายนอกเข้าสู่
อวัยวะ ของระบบหายใจไปยังถุงลมใน
ปอด ที่ผนังของถุงลมมีหลอดเลือด
แดงฝอยติดอยู่ ดังนั้นอากาศจึงมี
โอกาสใกล้ชิดกับเม็ดเลือดแดงมาก
ออกชิเจนก็จะผ่านผนังนี้เข้าสู่เม็ด
เลือดแดง และคาร์บอนไดออกไชด์ก็
จะออกจากเม็ดเลือดผ่านผนังออกมา
สู่ถุงลม ปกติในอากาศมีออกชิเจน
ร้อยละ 20 แต่อากาศที่เราหายใจมี
ออกซิเจนร้อยละ 13
การแลกเปลียนแก๊สทีถงลม
               ่       ่ ุ
อากาศเมื่อเข้าสู่ปอดจะไปอยู่ในถุงลม ซึ่งมีลักษณะ
กลมคล้ายลูกองุ่น ซึ่งปอดแต่ละข้างจะมีถุงลมข้างละ
150 ล้านถุง แต่ละถุงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ถึง
0.1 มิลลิเมตร ถุงลมทุกอันจะมีหลอดเลือดฝอยมา
ห่อหุ้มไว้ การแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ออกซิเจน ไนโตรเจน และไอน้า ผ่านเข้าออกถุงลมโดย
ผ่านเยื่อบางๆของถุงลม
เลือดจากหัวใจมาสู่ปอด เป็นเลือดที่มีออกซิเจนต่า
คาร์บอนไดออกไซด์สูง เมื่อมาสู่ถุงลมจะมีการ
แลกเปลี่ยนแก๊สโดยออกซิเจนในถุงลมจะแพร่เข้าสู่เส้น
เลือด ขณะเดียวกันคาร์บอนไดออกไซด์ในเส้นเลือดจะ
แพร่เข้าสู่ถุงลม แล้วขับออกทางลมหายใจออก
การดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบ
หายใจ 1. รักษาสุขภาพให้ดี โดยการ รับประทานอาหาร พักผ่อน และออกกาลังกายอย่าง
         สม่าเสมอ
         2. แต่งกายให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ เหมาะสมกับฤดูกาล เพื่อป้องกันการเป็นหวัด
         3. หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ
         4. ปิดปากและจมูกเวลาไอ หรือจาม
         5. ไม่ใช้สิ่งของปนกับผู้อื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ
         ู6. อยู่ในที่อากาศบริสุทธิ์ ไม่อับชื้นแออัด โดยเฉพาะสถานที่ที่มควันบุหรี่ เพราะควันบุหรี่มี
                                                                        ี
          ก๊าซพิษ คือไนโตรเจนไดออกไซด์ ทาให้เป็นโรคถุงลมโป่งพอง
         7. ระวังการกระแทกอย่างแรงกับอวัยวะการหายใจ ได้แก่หน้าอก และปอด
         8. ไม่เลี้ยงสัตว์ต่าง ๆ ไว้ในบ้าน เพราะขนสัตว์ก่อให้เกิดโรค
โรคของระบบการหายใจ

1. โรคถุงลมโป่งพอง ( ephysema)
โรคถุงลมโป่งพอง เป็นโรคที่เนื้อปอดถูก
ทาลาย ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจน
ลดลง ทาให้ผู้ป่วยมีอาการ หอบเหนื่อย
หายใจลาบาก
สาเหตุของโรค สาเหตุของถุงลมโป่งพอง ที่
พบบ่อยที่สุด ได้แก่ การสูบบุหรี่ นอกจากนั้น
ยังอาจเกิดจาก การสูดดมสิ่งที่เป็นพิษ เช่น
มลภาวะ ไอเสีย ฝุ่น สารเคมี เป็นระยะเวลา
นาน ๆ
โรคปอดจากการทางาน
โรคปอดดา (Anthracosis)เกิดจากการสะสมผงถ่านคาร์บอนในปอดปริมาณมาก
ซิลิโคซีส (Silicosisi) เกิดจากการหายใจเอาฝุ่นของซิลิคอนไดออกไซด (์ Sillicon dioxide) เข้าไป
( silica ซิลิกา สารประกอบชนิดหนึ่ง สูตร
เคมีคือ SiO2 จุดหลอมเหลว 1,700 oC จุด
เดือด 2,230 oC เป็นของแข็งไม่มีสีมี
โครงสร้างผลึก 5 รูปแบบ ในธรรมชาติอยู่ใน
รูปของทราย คอวตซ์และหินบางชนิดใช้ใน
อุตสาหกรรมการผลิตแก้ว ผงขัด วัสดุทน
ไฟ และผลิตภัณฑ์เซรามิก เป็นต้น) ซึง
        แอสเบสโตซีส (Asbestosis) ่
       เกิดขึ ้นจำกกำรหำยใจเอำฝุ่ นในโรงงำนทำ
       เฟอร์ นิเจอร์ ซึงมีกลินและฝุ่ นของสีน ้ำยำ
                       ่     ่
       เคลือบเงำ
3. โรคหืด คือ โรคของหลอดลมที่มีการตีบหรืออุดตันอันเนืองมาจากมีการอักเสบ
                                                     ่
ของหลอดลม มีการหดเกร็งของกล้ามเนือหลอดลม มีเสมหะที่เหนียวออกมามาก
                                   ้
โรคหืด มีลักษณะสาคัญ 3 ประการ

         1.หลอดลมที่มีการตีบหรืออุดตันเป็นๆหายๆการตีบหรืออุดตันเกิด
         จาก กล้าเนื้อหลอดลมหดตัว เยื่อบุบวม มีการอักเสบ เสมหะมาก
         2.มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลมร่วมด้วย
         3.หลอดลมมีสภาพไวผิดปกติต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ เช่น ควันต่างๆ
         กลิ่นที่แรง สารก่อภูมิแพ้
อาการทีเ่ กียวข้องกับการหายใจ มีดังนี้
            ่
1. การจามเกิดจากการหายใจเอาอากาศที่ไม่สะอาดเข้าไปในร่างกาย ร่างกายจึง
พยายามขับสิ่งแปลกปลอมเหล่านั้นออกมานอกร่างกาย โดยการหายใจเข้าลึกแล้ว
หายใจออกทันที
2. การหาวเกิดจากการที่มีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมอยู่ในเลือดมาก
เกินไป จึงต้องขับออกจากร่างกาย โดย การหายใจเข้ายาวและลึก เพื่อรับแก๊ส
ออกซิเจนเข้าปอดและแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเลือด
3. การสะอึกเกิดจากกะบังลมหดตัวเป็นจังหวะๆ ขณะหดตัวอากาศจะถูกดันผ่าน
ลงสู่ปอดทันที ทาให้สายเสียงสั่น เกิดเสียงขึ้น
4. การไอ เป็นการหายใจอย่างรุนแรงเพื่อป้องกันไม่ให้สิ่งแปลกปลอมหลุดเข้าไปใน
กล่องเสียงและหลอดลม ร่างกายจะมี การหายใจเข้ายาวและหายใจออกอย่างแรง

More Related Content

What's hot

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
kasidid20309
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
Thitaree Samphao
 
การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์Thanyamon Chat.
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Thanyamon Chat.
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
pitsanu duangkartok
 

What's hot (20)

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
หู
หูหู
หู
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 

Similar to ระบบหายใจ (Respiration)

โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจบทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจ202333
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831
CUPress
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจkruwai
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจboonyarat thungprasert
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจNichapa Banchakiat
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
Spontaneous pneumothorax
Spontaneous pneumothoraxSpontaneous pneumothorax
Spontaneous pneumothoraxmaprangrape
 
การรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอดการรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอด
โฮลลี่ เมดิคอล
 

Similar to ระบบหายใจ (Respiration) (20)

G2
G2G2
G2
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
บทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจบทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจ
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจ
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจ
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจ
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
Pneumothorax
PneumothoraxPneumothorax
Pneumothorax
 
Spontaneous pneumothorax
Spontaneous pneumothoraxSpontaneous pneumothorax
Spontaneous pneumothorax
 
การรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอดการรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอด
 

ระบบหายใจ (Respiration)

  • 2.
  • 3. ระบบหายใจ มนุษย์ทุกคนต้องหายใจเพื่อมีชีวิตอยู่ การหายใจเข้า อากาศ ผ่านไปตามอวัยวะของระบบหายใจตามลาดับ ดังนี้ 1.จมูก (Nose) จมูกส่วนนอกเป็นส่วนที่ยื่นออกมาจากตรงกึ่งกลางของ ใบหน้า รูปร่างของจมูกมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมพีระมิด ฐานของรูปสามเหลี่ยมวางปะ ติดกับหน้าผากระหว่างตา สองข้าง สันจมูกหรือดั้งจมูก มีรูปร่างและขนาดต่างๆกัน ยื่นตั้งแต่ฐานออกมาข้างนอกและลงข้างล่างมาสุดที่ปลาย จมูก อีกด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมห้อยติดกับริมฝีปากบน รู จมูกเปิดออกสู่ภายนกทางด้านนี้ รูจมูกทาหน้าที่เป็น ทางผ่านของอากาศที่หายใจเข้าไปยังช่องจมูกและกรองฝุ่น ละอองด้วย
  • 4. 2. หลอดคอ (Pharynx) เมื่ออากาศผ่านรูจมูกแล้วก็ผ่านเข้าสู่ หลอดคอ ซึ่งเป็นหลอดตั้งตรงยาว ประมาณยาวประมาณ 5 " หลอดคอ ติดต่อทั้งช่องปากและช่องจมูก จึง แบ่งเป็นหลอดคอส่วนจมูก กับ หลอดคอ ส่วนปาก โดยมีเพดานอ่อนเป็นตัวแยก สองส่วนนี้ออกจากกัน โครงของหลอด คอประกอบด้วยกระดูกอ่อน 9 ชิ้น ด้วยกัน ชิ้นที่ใหญ่ทีสุด คือกระดูกธัย รอยด์ ที่เราเรียกว่า "ลูกกระเดือก" ใน ผู้ชายเห็นได้ชัดกว่าผู้หญิง
  • 5. 3. หลอดเสียง (Larynx) เป็นหลอดยาวประมาณ 4.5 cm ในผู้ชาย และ 3.5 cm ในผู้หญิง หลอดเสียง เจริญเติบโตขึ้นมาเรื่อยๆ ตามอายุ ในวัยเริ่ม เป็นหนุ่มสาว หลอดเสียงเจริญขึ้นอย่าง รวดเร็ว โดยเฉพาะในผู้ชาย เนื่องจากสาย เสียง (Vocal cord) ซึ่งอยู่ภายในหลอด เสียงนี้ยาวและหนาขึ้นอย่างรวดเร็วเกินไป จึงทาให้เสียงแตกพร่า การเปลี่ยนแปลงนี้ เกิดจากฮอร์โมนของเพศชาย
  • 6. 4. หลอดลม (Trachea) เป็นส่วนที่ต่ออกมาจากหลอดเสียง ยาวลงไปในทรวงอก ลักษณะรูปร่างของหลอดลมเป็นหลอด กลมๆ ประกอบด้วยกระดูกอ่อนรูปวงแหวน หรือรูปตัว U ซึ่งมีอยู่ 20 ชิ้น วางอยู่ทางด้านหลังของ หลอดลม ช่องว่าง ระหว่างกระดูกอ่อนรูปตัว U ที่วางเรียงต่อกันมีเนื้อเยื่อและกล้ามเนือเรียบมายึด ้ ติดกัน การที่หลอดลมมีกระดูกอ่อนจึงทาให้เปิดอยู่ตลอดเวลา ไม่มีโอกาสที่จะแฟบเข้าหากันได้โดย แรงดันจากภายนอก จึงรับประกันได้ว่าอากาศเข้าได้ตลอดเวลา หลอดลม ส่วนที่ตรงกับ กระดูกสันหลังช่วงอกแตกแขนงออกเป็น หลอดลมแขนงใหญ่ (Bronchi) ข้างซ้ายและขวา เมื่อเข้าสู่ปอดก็แตกแขนงเป็นหลอดลมเล็กในปอด หรือที่เรียกว่า หลอดลมฝอย (Bronchiole) และไปสุดที่ถุงลม (Aveolus) ซึ่งเป็นการที่อากาศอยู่ ใกล้กับเลือดในปอดมากที่สุด จึงเป็นบริเวณ แลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจน กับคาร์บอนไดออกไซด์
  • 7. 5. ปอด (Lung) ปอดมีอยู่สองข้าง วางอยู่ในทรวงอก มีรูปร่างคล้ายกรวย มีปลายหรือยอดชี้ขึ้นไปข้างบนและไปสวม พอดีกับช่องเปิดแคบๆของทรวงอก ซึ่งช่องเปิดแคบๆนี้ประกอบขึ้นด้วยซี่โครงบนของกระดูกสันอก และกระดูกสันหลัง ฐานของปอดแต่ละข้างจะใหญ่และวางแนบสนิทกับกระบังลม ระหว่างปอด 2 ข้าง จะพบว่ามีหัวใจอยู่ ปอดข้างขวาจะโตกว่าปอดข้างซ้ายเล็กน้อย และมีอยู่ 3 ก้อน ส่วนข้างซ้ายมี 2 ก้อน หน้าที่ของปอดคือ การนาก๊าซ CO2 ออกจากเลือด และนาออกซิเจนเข้าสู่เลือด ปอดจึงมีรูปร่างใหญ่ มีลักษณะยืดหยุ่นคล้ายฟองน้า 6. เยื่อหุมปอด (Pleura) ้ เป็นเยื่อที่บางและละเอียดอ่อน เปียกชื้น และเป็นมันลื่น หุ้มผิวภายนอกของปอด เยื่อหุ้มนี้ ไม่ เพียงคลุมปอดเท่านัน ยังไปบุผิวหนังด้านในของทรวงอกอีก หรือกล่าวได้อีกอย่างหนึงว่า เยื่อ ้ ่ หุ้มปอดซึ่งมี 2 ชั้น ระหว่าง 2 ชั้นนี้มี ของเหลวอยู่นิดหน่อย เพื่อลดแรงเสียดสี ระหว่างเยื่อหุ้มมี โพรงว่าง เรียกว่าช่องระหว่างเยื่อหุ้มปอด
  • 8.
  • 9. กระบวนการในการหายใจ ในการหายใจนั้นมีโครงกระดูกส่วนอกและ กล้ามเนื้อบริเวณอกเป็นตัวช่วยขณะ หายใจเข้า กล้าม เนื้อหลายมัดหดตัวทาให้ทรวงอกขยายออกไปข้างหน้า และยกขึ้น บน ในเวลาเดียวกันกะบังลมจะลดต่าลง การกระทาทั้งสองอย่างนี้ทาให้โพรงของ ทรวงอกขยาย ใหญ่มากขึ้น เมื่อกล้ามเนื้อหยุดทางานและหย่อนตัวลง ทรวงอกยุบ ลงและความดันในช่องท้องจะดันกะบังลม กลับขึ้นมาอยู่ในลักษณะเดิม กระบวนการเข่นนี้ทาให้ ความดันในปอดเพิ่มขึ้น เมื่อความดันในปอดเพิ่มขึ้นสูง กว่า ความดันของบรรยากาศ อากาศจะถูกดันออกจาก ปอด ฉะนั้นจึงสรุปได้ว่า ปัจจัย ประการแรกที่ทาให้ อากาศมีการเคลื่อนไหวเข้าออกจากปอดได้นั้น เกิด จากความ ดันที่แตกต่างกันนั่นเอง
  • 10. ระบบการหายใจ (respiratory system) ระบบการหายใจ คือ ระบบที่ประกอบด้วยอวัยวะเกี่ยวข้องกับการหายใจ เป็นการนาอากาศเข้าและออกจากร่างกายส่งผลให้แก๊สออกซิเจนทา ปฏิกิริยากับสารอาหาร ได้พลังงาน น้า และแก๊สคาร์บอนไดออกไซต์ กระบวนการหายใจเกิดขึ้นกับทุกเซลล์ตลอดเวลา การหายใจจาเป็นต้อง อาศัย โครงสร้าง 2 ชนิดคือ กล้ามเนื้อกะบังลม และกระดูกซี่โครง ซึ่งมี กลไกการทางานของระบบหายใจ ดังนี้
  • 11. C6H12O6 + O2  CO2 + H2O + ATP น ้ำตำลโมเลกุลเดี่ยว + ออกซิเจน  คำร์ บอนไดออกไซด์ + น ้ำ + พลังงำน
  • 12. 1. การหายใจเข้า (Inspiration) กะบังลมจะเลื่อนต่าลง กระดูก ซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ทาให้ ปริมาตรของช่องอกเพิ่มขึ้น ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดลดต่าลงกว่าอากาศ ภายนอก อากาศภายนอกจึง เคลื่อนเข้าสู่จมูก หลอดลม และ ไปยังถุงลมปอด
  • 13. 2. การหายใจออก (Expiration) กะบังลมจะเลื่อน สูง กระดูกซี่โครงจะเลื่อน ต่าลง ทาให้ปริมาตรของช่องอก ลดน้อยลง ความดันอากาศใน บริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่า อากาศภายนอก อากาศภายใน ถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จากถุง ลมปอดไปสู่หลอดลมและออก ทางจมูก
  • 14.
  • 15. การแลกเปลียนก๊าซและการใช้ ่ ออกซิเจน เมื่อเราหายใจเข้า อากาศภายนอกเข้าสู่ อวัยวะ ของระบบหายใจไปยังถุงลมใน ปอด ที่ผนังของถุงลมมีหลอดเลือด แดงฝอยติดอยู่ ดังนั้นอากาศจึงมี โอกาสใกล้ชิดกับเม็ดเลือดแดงมาก ออกชิเจนก็จะผ่านผนังนี้เข้าสู่เม็ด เลือดแดง และคาร์บอนไดออกไชด์ก็ จะออกจากเม็ดเลือดผ่านผนังออกมา สู่ถุงลม ปกติในอากาศมีออกชิเจน ร้อยละ 20 แต่อากาศที่เราหายใจมี ออกซิเจนร้อยละ 13
  • 16. การแลกเปลียนแก๊สทีถงลม ่ ่ ุ อากาศเมื่อเข้าสู่ปอดจะไปอยู่ในถุงลม ซึ่งมีลักษณะ กลมคล้ายลูกองุ่น ซึ่งปอดแต่ละข้างจะมีถุงลมข้างละ 150 ล้านถุง แต่ละถุงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ถึง 0.1 มิลลิเมตร ถุงลมทุกอันจะมีหลอดเลือดฝอยมา ห่อหุ้มไว้ การแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน ไนโตรเจน และไอน้า ผ่านเข้าออกถุงลมโดย ผ่านเยื่อบางๆของถุงลม เลือดจากหัวใจมาสู่ปอด เป็นเลือดที่มีออกซิเจนต่า คาร์บอนไดออกไซด์สูง เมื่อมาสู่ถุงลมจะมีการ แลกเปลี่ยนแก๊สโดยออกซิเจนในถุงลมจะแพร่เข้าสู่เส้น เลือด ขณะเดียวกันคาร์บอนไดออกไซด์ในเส้นเลือดจะ แพร่เข้าสู่ถุงลม แล้วขับออกทางลมหายใจออก
  • 17.
  • 18. การดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบ หายใจ 1. รักษาสุขภาพให้ดี โดยการ รับประทานอาหาร พักผ่อน และออกกาลังกายอย่าง สม่าเสมอ 2. แต่งกายให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ เหมาะสมกับฤดูกาล เพื่อป้องกันการเป็นหวัด 3. หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ 4. ปิดปากและจมูกเวลาไอ หรือจาม 5. ไม่ใช้สิ่งของปนกับผู้อื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ ู6. อยู่ในที่อากาศบริสุทธิ์ ไม่อับชื้นแออัด โดยเฉพาะสถานที่ที่มควันบุหรี่ เพราะควันบุหรี่มี ี ก๊าซพิษ คือไนโตรเจนไดออกไซด์ ทาให้เป็นโรคถุงลมโป่งพอง 7. ระวังการกระแทกอย่างแรงกับอวัยวะการหายใจ ได้แก่หน้าอก และปอด 8. ไม่เลี้ยงสัตว์ต่าง ๆ ไว้ในบ้าน เพราะขนสัตว์ก่อให้เกิดโรค
  • 19. โรคของระบบการหายใจ 1. โรคถุงลมโป่งพอง ( ephysema) โรคถุงลมโป่งพอง เป็นโรคที่เนื้อปอดถูก ทาลาย ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจน ลดลง ทาให้ผู้ป่วยมีอาการ หอบเหนื่อย หายใจลาบาก สาเหตุของโรค สาเหตุของถุงลมโป่งพอง ที่ พบบ่อยที่สุด ได้แก่ การสูบบุหรี่ นอกจากนั้น ยังอาจเกิดจาก การสูดดมสิ่งที่เป็นพิษ เช่น มลภาวะ ไอเสีย ฝุ่น สารเคมี เป็นระยะเวลา นาน ๆ
  • 20. โรคปอดจากการทางาน โรคปอดดา (Anthracosis)เกิดจากการสะสมผงถ่านคาร์บอนในปอดปริมาณมาก ซิลิโคซีส (Silicosisi) เกิดจากการหายใจเอาฝุ่นของซิลิคอนไดออกไซด (์ Sillicon dioxide) เข้าไป ( silica ซิลิกา สารประกอบชนิดหนึ่ง สูตร เคมีคือ SiO2 จุดหลอมเหลว 1,700 oC จุด เดือด 2,230 oC เป็นของแข็งไม่มีสีมี โครงสร้างผลึก 5 รูปแบบ ในธรรมชาติอยู่ใน รูปของทราย คอวตซ์และหินบางชนิดใช้ใน อุตสาหกรรมการผลิตแก้ว ผงขัด วัสดุทน ไฟ และผลิตภัณฑ์เซรามิก เป็นต้น) ซึง แอสเบสโตซีส (Asbestosis) ่ เกิดขึ ้นจำกกำรหำยใจเอำฝุ่ นในโรงงำนทำ เฟอร์ นิเจอร์ ซึงมีกลินและฝุ่ นของสีน ้ำยำ ่ ่ เคลือบเงำ
  • 21. 3. โรคหืด คือ โรคของหลอดลมที่มีการตีบหรืออุดตันอันเนืองมาจากมีการอักเสบ ่ ของหลอดลม มีการหดเกร็งของกล้ามเนือหลอดลม มีเสมหะที่เหนียวออกมามาก ้ โรคหืด มีลักษณะสาคัญ 3 ประการ 1.หลอดลมที่มีการตีบหรืออุดตันเป็นๆหายๆการตีบหรืออุดตันเกิด จาก กล้าเนื้อหลอดลมหดตัว เยื่อบุบวม มีการอักเสบ เสมหะมาก 2.มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลมร่วมด้วย 3.หลอดลมมีสภาพไวผิดปกติต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ เช่น ควันต่างๆ กลิ่นที่แรง สารก่อภูมิแพ้
  • 22. อาการทีเ่ กียวข้องกับการหายใจ มีดังนี้ ่ 1. การจามเกิดจากการหายใจเอาอากาศที่ไม่สะอาดเข้าไปในร่างกาย ร่างกายจึง พยายามขับสิ่งแปลกปลอมเหล่านั้นออกมานอกร่างกาย โดยการหายใจเข้าลึกแล้ว หายใจออกทันที 2. การหาวเกิดจากการที่มีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมอยู่ในเลือดมาก เกินไป จึงต้องขับออกจากร่างกาย โดย การหายใจเข้ายาวและลึก เพื่อรับแก๊ส ออกซิเจนเข้าปอดและแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเลือด 3. การสะอึกเกิดจากกะบังลมหดตัวเป็นจังหวะๆ ขณะหดตัวอากาศจะถูกดันผ่าน ลงสู่ปอดทันที ทาให้สายเสียงสั่น เกิดเสียงขึ้น 4. การไอ เป็นการหายใจอย่างรุนแรงเพื่อป้องกันไม่ให้สิ่งแปลกปลอมหลุดเข้าไปใน กล่องเสียงและหลอดลม ร่างกายจะมี การหายใจเข้ายาวและหายใจออกอย่างแรง