SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
การทางานของระบบประสาทสั่งการ
    ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จันอนุสรณ์)ชลบุรี
                                         ่
การทางานของเส้นประสาทในระบบประสาทรอบนอกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน

  -ส่วนที่รบความรูสึก (sensory division) จะรับความรู้สึกจากภายในหรือภายนอก
           ั       ้
                                         ร่างกาย
  -ส่วนที่สั่งการ (motor division)

     ถ้าการสั่งการเกิดขึ้นกับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับได้ เช่น กล้ามเนื้อยึดกระดูก
 ก็จัดเป็น ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system : SNS)

      ถ้าการสั่งการเกิดกับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับไม่ได้ เช่น อวัยวะภายในและต่อม
ต่าง ๆ ก็จัดเป็น ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system : ANS)
                                                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบประสาทอัตโนวัตแบ่งออกเป็นระบบย่อย 2 ระบบ
                    ิ

ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system)

ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nervous system)




                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system : SNS)

 ระบบประสาทโซมาติก ควบคุมการทางานของ
กล้ามเนื้อยึดกระดูก โดยเซลล์ประสาทรับความรู้สึก
จะรับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกผ่าน
เส้นประสาทไขสันหลังหรือเส้นประสาท
สมองเข้าสู่ไขสันหลังหรือสมอง และกระแสประสาท
จะถูกส่งผ่านเส้นประสาทไขสันหลัง หรือ เส้น
ประสาทสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน ซึ่งเป็น
กล้ามเนื้อยึดกระดูก บางครั้งอาจทางานโดยผ่าน
ไขสันหลังเท่านั้น เช่น การกระตุกขาเมื่อเคาะหัวเข่า

                                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบประสาทโซมาติก เป็นระบบที่ประสาทที่ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย
หรือ ระบบประสาทในอานาจจิตใจ (voluntary nervous system) ได้แก่
เส้นประสาทสมอง และเส้นประสาทไขสันหลัง ซึ่งมีใยประสาทนาคาสั่งไปควบคุม
กล้ามเนื้อลาย

 การตอบสนองสิ่งเร้าที่มากระตุ้น เช่น การกระตุกขาเมื่อเคาะหัวเข่าจะเกิดขึ้นเองโดย
อัตโนวัติ เรียกว่า รีเฟล็กซ์ (reflex) กิริยาิอาการที่แสดงออกมาิิเมื่อมีสีิงเร้ามากระตุ้น
ในระยะเวลาสั้นๆ เรียกว่า รีเฟล็กซ์แอกชัน (reflex action)
     เป็นการตอบสนองของหน่วยปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นในทันทีทันใด โดยไม่มีการ
เตรียมตัวไว้ล่วงหน้า เป็นการสั่งการของไขสันหลัง โดยไม่ต้องอาศัยคาสั่งจากสมอง
                                                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
ในเวลาที่เราเดินเท้าเปล่า
แล้วบังเอิญไปเหยียบเศษแก้ว
เราจะชักเท้าออกทันที โดยที่ิ
สมองยังไม่ทันได้คิดหรือสั่ง
การ สมองเองยังไม่รู้ด้วยซ้าไป
ว่ามีอะไรเกิดขึ้น จนอีกเสี้ยว
เวลาต่อมาจึงจะรูสึกเจ็บและ
                     ้
รับรู้ว่าสิ่งที่เหยียบนั้นคืออะไร
                                    รีเฟล็กซ์แอกชันของการกระตุกขา   รีเฟล็กซ์แอกชันเมื่อเหยียบเศษแก้ว


                                                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
การทางานของระบบประสาทที่เป็นวงจรนี้เิรียกว่า รีเฟล็กซ์อาร์ก (reflex arc)
ประกอบด้วยหน่วยย่อยใหญ่ 5 หน่วย




                                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
บางครั้งรีเฟล็กซ์อาร์ก อาจไม่จาเป็นต้องมีเซลล์ประสาทประสานงานก็ได้ เช่น
การกระตุกเมื่อเคาะที่หัวเข่า จะประกอบด้วยเซลล์ประสาทเพียงสองชนิด




       http://content.tutorvista.com/science/CBSEXScience/Ch527/images/img6.jpeg
                                                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system : ANS )
     เป็นระบบประสาทที่ทางานนอกอานาจจิตใจ (involuntary nervous system)
เป็นระบบประสาทที่ควบคุมอวัยวะที่อยู่นอกอานาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อเรียบและอวัยวะ
ต่าง ๆ กล้ามเนื้อหัวใจที่หัวใจ และต่อมต่าง ๆ ให้ทางานโดยอัตโนวัติ ทาให้ร่างกาย
ดาเนินชีวิตได้อย่างปกติ




                                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
การทางานของระบบประสาทอัตโนวัติประกอบด้วย

เส้นประสาทของระบบประสาทอัตโนวัติ มี 2 ตอน คือ
- ตอนแรก คือ เส้นประสาทหน้าปมประสาทหรือเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ มีเยื่อ
ไมอีลินห่อหุ้ม เชื่อมระหว่างระบบประสาทส่วนกลางกับปมประสาทอัตโนวัติ
- ตอนที่ 2 คือ เส้นประสาทหลังปมประสาทหรือเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ เป็น
เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างปมประสาทอัตโนวัติกับอวัยวะตอบสนอง



                                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
การทางานของระบบประสาทอัตโนวัติประกอบด้วย
ปมประสาทอัตโนวัติ
เป็นส่วนที่มีตัวเซลล์ประสาทของระบบประสาทอัตโนวัติ ที่อยู่นอกระบบประสาท
กลางอยู่และเป็นตาแหน่งที่มีการไซแนปส์ของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์กับเซลล์
ประสาทหลังไซแนปส์
เซลล์ประสาทอัตโนวัติ มี 2 เซลล์
-เซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ มีตัวเซลล์อยู่ในไขสันหลังและมีแอกซอนไปสิ้นสุดที่
ปมประสาทอัตโนวัติ
-เซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ มีตัวเซลล์ประสาทอยู่ในปมประสาทอัตโนวัติและมี
แอกซอนอยู่ที่อวัยวะตอบสนอง
                                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบประสาทอัตโนวัติ
แบ่งออกเป็น 2 ระบบ โดยมีลักษณะในการทางานตรงกันข้าม คือ
ระบบประสาทซิมพาเทติก (symoathetic nerve)
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasymoathetic nerve)




                                                         ฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nerve)
ระบบประสาทนี้แยกออกจากไขสันหลังบริเวณอกและเอว เรียกได้อีกอย่างว่า
ทอราโคลัมบาร์เอาต์โฟล์ว (thoraco-lumbar outflow)

 เซลล์ประสาทตัวแรก (preganglionic fibre) อยู่ที่ไขสันหลัง แล้วมีแอกซอน
ออกมากับเซลล์ประสาทสั่งการ แล้วแยกไปยังปมประสาทซิมพาเทติกบริเวณอก
และเอว แอกซอนของเซลล์ประสาทตัวแรกจะปล่อยสารสื่อประสาท
(neurotransmitter) เป็นสารแอซิติลโคลิน


                                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภายในปมประสาทซิมพาเทติกจะมีเซลล์ประสาททาหน้าที่เิป็นเซลล์ประสาทตัวที่สอง
(postganglionic fibre) ซึ่งจะส่งแอกซอนไปยังอวัยวะภายในต่าง ๆ สารที่แอกซอน
ตัวที่สองปล่อยออกมาเป็นสาร นอร์อะดรีนาลิน หรือ นอร์เอพิเนฟริน จึงเิรียกเซลล์
ประสาทพวกนี้ว่าเซลล์ประสาทอะดรีเนอร์จก (adrenergic neuron) สารนี้เมื่อ
                                        ิ
ปล่อยออกมาจะถูกย่อยสลายโดยเอนไซม์ มอนามีนออกซิเดส ช่วยให้ระบบประสาท
ทางานได้ใหม่อีก ( รับการกระตุ้นได้อีก )

   ระบบประสาทซิมพาเทติกมักจะกระตุ้นการทางานมากกว่ายับยั้งการทางาน

                                                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nerve)
 ระบบประสาทนี้แยกออกจากสมองและไขสันหลังตอนสะโพก เิรียกได้อีกอย่างว่า
คานิโอซากรัล เอาต์โฟล์ว (carnio-sacral outflow) ทั้งเซลล์ประสาทตัวแรกและ
เซลล์ประสาทตัวที่สองของระบบประสาทพาราซิมพาเทติกจะปล่อยสารสื่อประสาท
เป็นแอซิติลโคลินจึงเรียกเซลล์ประสาทพวกนี้ว่า เซลล์ประสาทคอลิเนอร์จก
                                                                  ิ
(cholinergic neuron)

   ระบบประสาทนี้มักจะยับยั้งการทางานมากกว่าที่จะกระตุ้นการทางาน เพื่อปรับ
ไม่ให้ร่างกายทางานมากเกินไป
                                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
http://itc.gsw.edu/faculty/gfisk/anim/autonomicns.swf



• ..animationautonomicns.swf




                                                         ฉวีวรรณ นาคบุตร
เปรียบเทียบส่วนประกอบของระบบประสาทซิมพาเทติกและระบบประสาทพาราซิมพาเทติก

     ส่วนประกอบ/รายละเอียด                         ระบบประสาทซิมพาเทติก                  ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
 1. ศูนย์กลางการสั่งงาน                   ในไขสันหลังบริเวณอกและเอว                  ในสมองส่วนกลาง เมดัลลาฯและ
                                                                                     ไขสันหลังบริเวณกระเบนเหน็บ
2. ตาแหน่งของเซลล์ประสาทสั่งการตัวที่1   ในไขสันหลังบริเวณอกและเอว                  ในสมองส่วนกลาง เมดัลลาฯและ
                                                                                     ไขสันหลังบริเวณกระเบนเหน็บ
3. ตาแหน่งปมประสาท                       อยู่ใกล้ไขสันหลัง                          อยู่ใกล้หน่วยปฏิบัติงาน

 4. ใยประสาทก่อนไซแนปส์                   สั้น-จากไขสันหลังถึงปมประสาทอัตโนวัติ      ยาว-จากไขสันหลังถึงอวัยวะตอบสนอง
 5. ใยประสาทหลังไซแนปส์                  ยาว-จากปมประสาทอัตโนวัติถึงอวัยวะตอบสนอง    สั้น-ติดอยู่กับอวัยวะตอบสนอง




                                                                                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
เปรียบเทียบส่วนประกอบของระบบประสาทซิมพาเทติกและระบบประสาทพาราซิมพาเทติก

     ส่วนประกอบ/รายละเอียด                     ระบบประสาทซิมพาเทติก                 ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
6. สารสื่อประสาทที่ปมประสาท          แอซิติลโคลิน                               แอซิติลโคลิน

7. สารสื่อประสาทระหว่างเซลล์ประสาท    นอร์อะดรีนาลินหรือนอร์เอพิเนฟริน           แอซิติลโคลิน
สั่งการตัวที่ 2 กับหน่วยปฏิบัติงาน
 8. ขอบเขตของการทางาน                 ทั่วไป                                     เฉพาะที่
 9. ลักษณะการทางาน                   เร่งการทางานของอวัยวะ สภาพการเตรียมพร้อม
                                                                           ิ    สร้างและสะสมพลังงานไว้ใช้ในสภาพสบายๆ
ฉวีวรรณ นาคบุตร

   การทางานของระบบประสาทซิมพาเทติกและระบบประสาทพาราซิมพาเทติก

                                                    ระบบประสาทซิมพาเทติก           ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
               ชื่ออวัยวะ
                                                     (สภาวะการเตรียมพร้อม)                   (สภาวะพัก)
1. กล้ามเนื้อม่านตา                     หดตัวทาให้ม่านตาขยาย                   คลายตัวม่านตาแคบลง
2. ต่อมน้าตา                          ิ กระตุ้นให้หลั่งน้าตามากกว่าปกติ        หลั่งปกติ
3. ต่อมน้าลาย                           สร้างน้าเมือก                          สร้างส่วนที่เป็นน้า
4. หัวใจ                                 เต้นเร็วขึ้น หลอดเลือด ที่หัวใจขยาย   เต้นช้าลง
5. เส้นเลือดที่ผิวหนังและ เส้นเลือดทั่วไป เส้นเลือดหดตัว                       เส้นเลือดคลายตัว
6. หลอดลมปอด                              ท่อลมฝอยขยายตัว                      ท่อลมฝอยหดตัว
7. ความดันเลือด                           เพิ่มสูงขึ้น                         ลดต่าลง
การทางานของระบบประสาทซิมพาเทติกและระบบประสาทพาราซิมพาเทติก

                                           ระบบประสาทซิมพาเทติก                    ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
             ชื่ออวัยวะ
                                             (สภาวะการเตรียมพร้อม)                          (สภาวะพัก)
8. กระเพาะและลาไส้                 ลดการเคลื่อนไหวแบบเพอริสตัลซิส             เพิ่มการเคลื่อนไหวแบบเพอริสตัลซิส
9. การหลั่งของ gastric juice และ
                                   หลั่งน้าย่อยลดลง                           หลั่งน้าย่อยเพิ่มขึ้น
    pancreatic juice
10. กระเพาะปัสสาวะ                 ขยายตัว(ห้ามการปัสสาวะ)                    บีบตัว (กระตุ้นให้ปัสสาวะ)
11. ตับและถุงน้าดี                 กระตุ้นการสลายไกลโคเจนและลดการหลั่งน้าดี   เพิ่มการหลั่งน้าดี
12. ผิวหนังและกล้ามเนื้อโคนขน      กระตุ้นให้ขับเหงื่อและขนลุก                ทาหน้าที่ปกติ
13. กล้ามเนื้อบังคับเลนส์ตา         หดตัว-มองใกล้                             คลายตัว-มองไกล
14. อวัยวะเพศ                       เกิดการหลั่งอสุจิในเพศชาย                 ทาให้เกิดการแข็งตัวของอวัยวะเพศ
วงจรของระบบประสาทโซมาติก                                      วงจรของระบบประสาทอัตนัติ

       จะเห็นได้ว่าการทางานของระบบประสาทอัติโนวัติจัดเป็นรีเฟล็กซ์ได้เช่นเดียวกับการ
  ทางานของระบบประสาทโซมาติกเพียงแต่หน่วยปฏิบัติงานนั้นเป็นหน่วยกล้ามเนื้อของหัวใจ
  กล้ามเนื้อเรียบและต่อมต่างๆ นั่นเอง
                                                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
The End……
…..สวัสดี........

                    ฉวีวรรณ นาคบุตร

More Related Content

What's hot

Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสารdnavaroj
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 

What's hot (20)

Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

Viewers also liked

จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 

Viewers also liked (20)

nerve cell
nerve cellnerve cell
nerve cell
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนัง
 
หู
หูหู
หู
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 

Similar to การทำงานของระบบประสาทสั่งการ

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxKunchayaPitayawongro1
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 

Similar to การทำงานของระบบประสาทสั่งการ (20)

ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
Biology m6
Biology m6Biology m6
Biology m6
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 

More from Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 

การทำงานของระบบประสาทสั่งการ