SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
บทที่ 5
ลาดับและอนุกรม (Sequence & Series)

      เรื่องของลาดับและอนุกรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชุดเลขจานวน รวมถึงการหาผลบวกของชุด
จานวนเหล่านั้น

5.1 ลาดับ
         ลาดับ เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตจานวนเต็มบวก หรือสับเซตของจานวนเต็มบวก และมี
เรนจ์เป็นสับเซตของจานวนจริง สัญลักษณ์ใช้แทนลาดับคือ {an} โดยที่ an หมายถึงเทอมที่ n หรือพจน์
ที่ n ของลาดับ ดังตัวอย่างเช่น

                      1         1 1 1         1 
                           =    1, , , , ... , , ...
                      n           2 3 4       n 

                      {n2} = {1, 4, 9, 16, …, n2, …}
                 {(–1)n} = {– 1, 1, – 1, 1, …, (– 1) n, …}
                 3n  4         10 13 16     3n  4 
                           =   7, , , , ...,       ,... 
                 2n  1          3 5 7       2n  1 



5.1.1 ลาดับลู่เข้าและลาดับลู่ออก (Convergent and Divergent Sequence)
      จากลาดับที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น อาจแบ่งลาดับออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ด้วยกันตาม
ลักษณะของการลู่เข้าหรือลู่ออกของลาดับ ซึ่งพิจารณาได้จาก lim a n นั่นคือ
                                                                      n 

        ถ้า   lim a    = k, k  R จะกล่าวว่าลาดับ {an} เป็นลาดับลู่เข้าโดยลู่เข้าสู่ค่า k แต่
              n  n

        ถ้า   lim a    = หาค่าไม่ได้ จะกล่าวว่า {an} เป็นลาดับลู่ออก
              n  n


ตัวอย่าง 5.1 ลาดับ {an} ต่อไปนี้เป็นลาดับลู่เข้าหรือลู่ออก
        1.    1 
                                                         2. {n2}
              n 

        3. {(–1)n}                                         4.    3n  4 
                                                                        
                                                                 2n  1 
57

วิธีทา 1. ลาดับ  n 
                  1
                 
                   

          พิจารณา      lim a     =   lim
                                          1
                                               =0
                      n  n         n  n

          ดังนั้น  n  เป็นลาดับลู่เข้า และลู่เข้าหาค่า 0
                    1
                   
                  

        2. ลาดับ {n2}
          พิจารณา lim a n =          lim n 2   =  (หาค่าไม่ได้)
                      n            n 

          ดังนั้น {n2} เป็นลาดับลู่ออก
        3. ลาดับ {(–1)n}
           พิจารณา lim a n =          lim (1)n   = หาค่าไม่ได้
                      n            n 

          ดังนั้น {(–1)n} เป็นลาดับลู่ออก
        4. ลาดับ  3n  4 
                 
                   2n  1
                          
                            
                                           3n  4
          พิจารณา      lim a     =    lim           =   3
                      n  n         n   2n  1       2

          ดังนั้น  3n  4  เป็นลาดับลู่เข้า และลู่เข้าหาค่า
                  
                    2n  1
                           
                                                                   3
                                                                 2


5.1.2 ลาดับเลขคณิต (Arithmetic Sequence)
นิยาม 5.1 ลาดับ {an} = {a1, a2, a3, …} จะเป็นลาดับเลขคณิต ถ้า an+1 – an = d, d  R ทุกค่า n ที่เป็น
จานวนนับ ค่า d ของลาดับเลขคณิต เรียกว่าเป็นผลต่างร่วม (Common Difference) ทั้งนี้พจน์ที่ n ของ
ลาดับจะหาได้จาก an = a1 + (n – 1)d
ตัวอย่างเช่น {3n – 1} = {2, 5, 8, 11, …, 3n – 1, …} เป็นลาดับเลขคณิตที่มีค่า d = 3
                {2n + 1} = {3, 5, 7, 9, …, 2n + 1, …} เป็นลาดับเลขคณิตที่มีค่า d = 2

5.1.3 ลาดับเรขาคณิต (Geometric Sequence)
นิยาม 5.2 ลาดับ {an} = {a1, a2, a3,…} จะเป็นลาดับเรขาคณิต ถ้า          a n 1
                                                                        an
                                                                                = r, an  0 และ r  R ทุกค่า n
ที่เป็นจานวนนับ ค่า r ของลาดับเรขาคณิต เรียกว่าอัตราส่วนร่วม (Common Ratio) โดยที่พจน์ที่ n
ของลาดับ จะหาได้จาก an = a1rn - 1
58

ตัวอย่างเช่น {2(3n - 1)} = {2, 6, 18, 54, …, 2(3n - 1),…}                    เป็นลาดับเรขาคณิตที่มีค่า r = 3
                     1           1 1 1 1                  
                      n     =     , ,   , , ...,
                                                     1
                                                     n 
                                                       , ...                 เป็นลาดับเรขาคณิตที่มีค่า r = 1
                     3            3 9 27 81      3                                                     3


5.2 อนุกรม
        อนุกรมเป็นการนาเอาสมาชิกของลาดับ {an} มาบวกกัน สัญลักษณ์ที่ใช้แทนอนุกรมคือ                                    an
                                                                                                                      n
ดังตัวอย่าง
                               = 1+ 1 + 1 + 1 +…+ 1 + …
           1
          
         n 1 n                     2   3   4     n
          
          2n 1
                1
                               = 1+ 1 + 1 + 1 +…+                  1
                                                                         +…
         n 1
                                    2   4   8                      2n
          
           ( 1)
                  n 1
                               = 1 – 1 + 1 – 1 + … + (–1)n + 1 + …
         n 1
          
          
                  1
              n (n  1)
                               =     1
                                            +    1
                                                      +    1
                                                                 +…+       1
                                                                                   +…
         n 1                       1 2        23       3 4          n(n  1)


5.2.1 อนุกรมลู่เข้า และอนุกรมลู่ออก (Convergent and Divergent Series)
                               
        สาหรับอนุกรม            a
                                   n
                                           ถ้าให้
                              n 1

        S 1 = a1
        S 2 = a1 + a2
        S 3 = a1 + a 2 + a3
         …
        S n = a1 + a2 + a 3 + … + an
                                                                                    
        จะเรียกว่า {Sn} เป็นลาดับของผลบวกย่อยของอนุกรม                               a
                                                                                        n
                                                                                   n 1


                                                                                              
        ถ้า     lim Sn =    k กล่าวได้ว่า {Sn} เป็นลาดับลู่เข้า และนั่นหมายถึง                 a
                                                                                                  n
                                                                                                      เป็นอนุกรมลู่เข้า
              n                                                                            n 1

และมีผลบวกของอนุกรมเท่ากับ k
                                                                                             
        ถ้า     lim S n   = หาค่าไม่ได้ กล่าวได้ว่า {Sn} เป็นลาดับลู่ออกหรือ                  a
                                                                                                 n
                                                                                                      เป็นอนุกรมลู่ออก
              n                                                                           n 1
59
                               
ตัวอย่าง 5.2 กาหนด             
                                         1
                                                          =    1
                                                                        +    1
                                                                                   +    1
                                                                                             +… จงพิจารณาว่า อนุกรมดังกล่าวเป็น
                              n 1 (n  1)(n  2)             23           3 4       45

อนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก

วิธีทา ให้ Sn =        1
                              +     1
                                           +    1 1  +…+
                      23          3 4    ( n  1)( n  2 )
                                               45

                       1              1        1
        พิจารณา ( n  1)( n  2 ) = n  1 – n  2

        ดังนั้น Sn =     1 1
                                       + 1  1 + 1  1 + … + 
                                                                
                                                                    
                                                                                             1
                                                                                                 
                                                                                                     1 
                                                                                                          
                          2 3             3       4           4     5              (n  1) (n  2) 
                                                                                                          
                     =    1
                          2
                               –    1
                                   n2
                              1    1 
          lim Sn     =    lim                      =       1
         n             n   2 n  2                      2
                   
        ดังนั้น    
                               1
                       ( n  1)( n  2)
                                               เป็นอนุกรมลู่เข้าที่มีผลบวกเท่ากับ                  1
                  n 1                                                                             2


                                                
ตัวอย่าง 5.3 จงพิจารณาอนุกรม                     ln
                                                      n
                                                                      เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก
                                               n 1 n  1


วิธีทา ให้ Sn = ln 1 + ln 2 + ln 4 + … + ln n  1
                   2        3
                                    3               n

              = (ln 1 – ln 2) + (ln 2 – ln 3) + (ln 3 – ln 4) + … + (ln n – ln (n + 1))
              = ln 1 – ln (n + 1)
              = – ln (n + 1)
       lim Sn = lim  ln(n  1) = –  (หาค่าไม่ได้)
      n                n 
                   
        ดังนั้น     ln
                         n
                                    เป็นอนุกรมลู่ออก
                  n 1 n  1


5.2.2 อนุกรมเรขาคณิต (Geometric Series)
        พิจารณาลาดับเรขาคณิต {an} = {a, ar, ar2, ar3, …, arn - 1, …}
                                                                        n 1
        ซึ่งจะได้อนุกรมเรขาคณิต                    an            =      ar
                                                  n 1                 n 1

                                                                  = a + ar + ar2 + ar3 + …
        พิจารณา Sn = a + ar + ar2 +ar3 + …+ ar n - 1
                    rSn = ar + ar2 +ar3 + …+ ar n-1 + ar n
             Sn – rSn = a – ar n - 1
60

              Sn(1 – r) = a(1 – r n - 1)
                                     (1  r n 1)
                       Sn =      lim a
                                        1 r
                                                       ,r1
                                n 

                                     (1  r n 1)
               lim S       =     lim a
                                        1 r
                                                           =    a
                                                                              เมื่อ | r | < 1
              n  n            n                            1 r

                           = หาค่าไม่ได้ เมื่อ | r | > 1
                    n 1
        ดังนั้น     ar        จะเป็นอนุกรมลู่เข้า ก็ต่อเมื่อ | r | < 1 โดยมีผลบวกของอนุกรมเท่ากับ                     a
                  n 1                                                                                                1 r

และเป็นอนุกรมลู่ออกเมื่อ | r |  1

ตัวอย่าง 5.4 จงพิจารณาอนุกรมต่อไปนี้ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก
                  2 n                                                             1 n
        1.                                                            2.         3  
               n 1 3                                                           n 1  2 
                  4 n
        3.       2 
               n 1  3 


                         = 2 + 2 + 2 + …
                2 n             2     3
วิธีทา 1.       
                           3 3      
             n 1 3               3        

             เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่พจน์แรก a =                        2
                                                                         และ r =      2
                                                                     3                3
                                                                                                 2
                          2 n
             ดังนั้น            เป็นอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกเท่ากับ                           3       =2
                       n 1 3                                                                 1
                                                                                                     2
                                                                                                     3

                 1 n                                    2                  3
        2.      3          = 3  1  + 3   1  + 3   1  + …
                                                           
              n 1  2              2         2          2          

             เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่พจน์แรก a = 3  1  และ r =  1
                                                    
                                                   2             2           
                                                                                                        1
                                                                                                      3  
                          1 n
             ดังนั้น     3          เป็นอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกเท่ากับ                             2
                                                                                                         1
                                                                                                               = -1
                       n 1  2                                                                     1  
                                                                                                         2
                 4 n                            2             3
        3.      2       = 2 3  + 2 3  + 2  3  + …
                                4
                               
                                         4
                                        
                                                   4
                                                  
              n 1  3                                 

             เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่พจน์แรก a = 2  3  และ r =
                                                  4
                                                 
                                                                                          4
                                                                                        3
                          4 n
             ดังนั้น     2          เป็นอนุกรมลู่ออก
                       n 1  3 
61

5.2.3 การทดสอบความเป็นอนุกรมลู่ออกโดยการใช้พจน์ที่ n
                                
        กาหนดอนุกรม             an      เป็นอนุกรมลู่เข้าโดยมีผลบวกเท่ากับ S ถ้า Sn เป็นผลบวก n เทอมของ
                               n 1

อนุกรมดังกล่าว จะได้ว่า an = Sn – Sn – 1 จะได้ว่า
         lim a         =    lim (S  S
                                          n 1
                                              )
        n  n              n  n

                       =    lim S     –   lim S
                            n  n        n   n 1

                       = S–S = 0
                        
ทฤษฎีบท 5.1 ถ้า         an     เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว        lim a     =0
                       n 1                                   n  n


       อย่างไรก็ตามการนาทฤษฎีบทดังกล่าวไปใช้นั้น                            ไม่สามารถนาไปใช้ได้โดยตรง        แต่ถ้า
พิจารณาถึงข้อความที่สมมูลกับทฤษฎีบทดังกล่าวคือ
                                                                                    
        ถ้า    lim a       หาค่าไม่ได้ หรือหาค่าได้แต่ไม่เท่ากับ 0 แล้ว             an   เป็นอนุกรมลู่ออก
              n  n                                                               n 1

        ซึ่งสามารถนาไปใช้ในการทดสอบความเป็นอนุกรมลู่ออกได้ทันที ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง 5.5 จงพิจารณาอนุกรมต่อไปนี้ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้า หรือลู่ออก
                 3n  4                                                n2
        1.                                                     2      
               n 1 2n                                                n 1 n  4
                
        3.       ( 1)
                        n
               n 1

                             3n  4
วิธีทา 1. พิจารณา           
                           n 1 2n
                                   3n  4
             จะเห็นได้ว่า      lim               =   3
                                                         0
                              n   2n               2
                         3n  4
             ดังนั้น                 เป็นอนุกรมลู่ออก
                       n 1 2n


                              n2
        2. พิจารณา           
                            n 1 n  4

                                     n2
             จะเห็นได้ว่า       lim          =  (หาค่าไม่ได้)
                               n  n  4
                         n2
             ดังนั้น                เป็นอนุกรมลู่ออก
                       n 1 n  4
62
                              
        3. พิจารณา             ( 1)
                                      n
                             n 1

             เนื่องจาก       lim (1)n     = หาค่าไม่ได้
                             n 
                         
             ดังนั้น      ( 1)
                                 n
                                     เป็นอนุกรมลู่ออก
                        n 1


5.3 การทดสอบอนุกรมว่าเป็นอนุกรมลู่เข้า หรือลู่ออก
                                 
        สาหรับอนุกรม             an      โดยที่ an  0 และ Sn เป็นผลบวก n เทอมของอนุกรมดังกล่าว ดังนั้น
                                n 1

{Sn} จะเป็นลาดับที่มีค่าไม่ลดลง (Non-Decreasing) ทั้งนี้เพราะ Sn = Sn-1 + an และ an  0 ดังนั้น S1 
S2  S3  …  Sn  Sn + 1  … ดังนั้นถ้า {Sn} ถูกกาหนดขอบเขตจากทางด้านบน ก็จะได้ว่า {Sn} เป็น
                                           
ลาดับลู่เข้าและนั่นหมายถึงว่า              an   เป็นอนุกรมลู่เข้า ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการนาเอาแนวความคิดนี้มา
                                          n 1

พัฒนาเป็นวิธีการที่จะใช้ในการทดสอบการลู่เข้าหรือลู่ออกของอนุกรม ซึ่งวิธีทดสอบที่สาคัญๆ เช่น
        1.   การทดสอบโดยใช้อินทิกรัล (Integral Test)
        2.   การทดสอบโดยใช้การเปรียบเทียบ (Comparison Test)
        3.   การทดสอบโดยใช้การเปรียบเทียบลิมิต (Limit Comparison Test)
        4.   การทดสอบโดยใช้อัตราส่วน (Ratio Test)
        5.   การทดสอบโดยใช้ราก (Root Test)

5.3.1 การทดสอบโดยใช้อินทิกรัล
ทฤษฎีบท 5.2 กาหนด {an} เป็นลาดับที่ a n  0 ถ้า a n = f (n) โดยที่ f เป็นฟังก์ชันที่ต่อเนื่อง มีค่าเป็น
บวก และเป็นฟังก์ชันที่มีค่าลดลง สาหรับ n  N (N เป็นจานวนเต็มบวก) จะได้ว่า
                                                
        ถ้า  f (x)dx หาค่าได้ จะได้ว่า  a n เป็นอนุกรมลู่เข้า และ
                                       n 1
              N
                                                    
        ถ้า  f (x)dx หาค่าไม่ได้ จะได้ว่า  a n เป็นอนุกรมลู่ออก
                                          n 1
              N


ตัวอย่าง 5.6 จงพิจารณาว่าอนุกรมต่อไปนี้ลู่เข้าหรือลู่ออก
                    1
        1.         
                         2
                  n 1 n
                    1
        2.         
                  n 1 n
63
               1
วิธีทา 1.     
                    2
             n 1 n
                                           1
        กาหนดให้ f (x) =
                                           x2
        จะเห็นได้ว่า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง มีค่าเป็นบวก และมีค่าลดลงเมื่อ x  1
                                                                     
                                                                   1
              พิจารณา  f (x)dx =  12 dx =                        x 
                                   x                                  1
                              1                      1
                                                           1
                                                 =    lim      +1= 1
                                                     x   x 
                           1
              ดังนั้น     
                                2
                                        เป็นอนุกรมลู่เข้า
                         n 1 n


               1
        2.    
             n 1 n

              ให้ f (x) = 1
                                       x
              f เป็นฟังก์ชันที่ต่อเนื่อง มีค่าเป็นบวกและมีค่าลดลง เมื่อ x  1
                                                 1
              พิจารณา        1
                                      dx    = x    2 dx
                                  x
                          1                      1
                                                        1 
                                                      2
                                                 =   2x 
                                                        1

                                                 =   lim 2 x   –2
                                                     x 

                                                 = หาค่าไม่ได้
                          1
              ดังนั้น                 เป็นอนุกรมลู่ออก
                        n 1 n


                                                                              1
นิยาม 5.3 อนุกรมพี (P-Series) คืออนุกรมที่อยู่ในรูปของ                       
                                                                                   p
                                                                                       , p เป็นจานวนจริง
                                                                            n 1 n


ทฤษฎีบท 5.3 สาหรับอนุกรมพี ใดๆ
                                        1
                   ถ้า p > 1           
                                             p
                                                 เป็นอนุกรมลู่เข้า
                                      n 1 n
                                        1
                   ถ้า p  1           
                                             p
                                                 เป็นอนุกรมลู่ออก
                                      n 1 n

อนุกรมพี สามารถพิสูจน์ได้โดย การทดสอบโดยใช้อินทิกรัล
64
                     1
ตัวอย่างเช่น                     เป็นอนุกรมพี โดยที่ p = 3 ดังนั้นเป็นอนุกรมลู่เข้า
                   n 1 n n                               2
                    1
                            เป็นอนุกรมพี โดยที่ p = 1 ดังนั้นเป็นอนุกรมลู่ออก
                  n 1 n


5.3.2 การทดสอบโดยใช้การเปรียบเทียบ
                                                                                                
ทฤษฎีบท 5.4 กาหนด                  an     เป็นอนุกรมโดยที่ an  0 จะได้ว่า                      an    เป็นอนุกรมลู่เข้าถ้ามีอนุกรมลู่
                                  n 1                                                          n 1
                                                                                                
เข้า     bn   โดย an  bn ทุกค่า n > N เมื่อ N เป็นจานวนเต็ม และ                                an    เป็นอนุกรมลู่ออก ถ้ามีอนุกรม
       n 1                                                                                     n 1
          
ลู่ออก     bn    โดยที่ bn  0 โดยที่ an  bn ทุกค่า n > N เมื่อ N เป็นจานวนเต็ม
         n 1


ตัวอย่าง 5.7 จงพิจารณาว่าอนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก
                    1                                                                
          1.                                                               2.        
                                                                                               1
                                                                                          ; n (n  1)
                  n 1 n!                                                            n 1

                 1
วิธีทา 1.               =   1
                                  +   1
                                           +   1
                                                    +   1
                                                             +   1
                                                                       +…
               n 1 n!       1!       2!       3!       4!       5!

                         = 1+ 1 + 1 +
                              2   6
                                                        1
                                                        24
                                                             +    1
                                                                 120
                                                                        +…
                                1
                 พิจารณา                  = 1 + 1 + 1 + 16 +
                                                         1                      1
                                                                                     +…
                              n 1 n!            4   9                          36


                 จะเห็นได้ว่า n ! < 12 ทุกค่า n, n > 3
                              1
                                    n
                                1
                 เนื่องจาก     
                                     2
                                            เป็นอนุกรมลู่เข้า (เป็นอนุกรมพี ที่ p = 2)
                              n 1 n
                                                                        1
                 ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.4 จะได้ว่า                                เป็นอนุกรมลู่เข้า
                                                                      n 1 n!


                                      = ln 2 + ln 3 + ln14 + ln 5 + …
                                         1      1             1
                  
          2.      
                          1
                 n 1 ln(n  1)
                                1
                 พิจารณา                  = 1+ 1 + 1 + 1 +…
                              n 1 n            2   3   4


                 จะเห็นได้ว่า ln1n > 1 ทุกค่า n, n > 1
                                     n
                                1
                 เนื่องจาก                เป็นอนุกรมลู่ออก (เป็นอนุกรมพี ที่ p = 1)
                              n 1 n
                                                                       
                 ดังนันจากทฤษฎีบท 5.4 จะได้ว่า
                      ้                                                
                                                                               1
                                                                           ln(n  1)
                                                                                       เป็นอนุกรมลู่ออก
                                                                      n 1
65

5.3.3 การทดสอบโดยใช้การเปรียบเทียบลิมิต
                                                                             
ทฤษฎีบท 5.5 กาหนด           an       , an > 0 ทุกค่า n > N ถ้ามีอนุกรม        bn   , b n > 0 ทุกค่า n > N และ
                           n 1                                              n 1
                    an
       1.    lim         = c, c > 0 จะได้ว่า
            n   bn
                                                         
             ถ้า   bn     เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว         an     เป็นอนุกรมลู่เข้า
                 n 1                                    n 1
                                                           
             ถ้า     bn   เป็นอนุกรมลู่ออก แล้ว            an    เป็นอนุกรมลู่ออก
                   n 1                                    n 1
                    an
       2.    lim         = 0 จะได้ว่า
            n   bn
                                                         
             ถ้า   bn     เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว         an     เป็นอนุกรมลู่เข้า
                 n 1                                    n 1
                    an
       3.    lim         หาค่าไม่ได้ จะได้ว่า
            n   bn
                                                         
             ถ้า   bn     เป็นอนุกรมลู่ออก แล้ว          an     เป็นอนุกรมลู่ออก
                 n 1                                    n 1


ตัวอย่าง 5.8 จงพิจารณาอนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก
               
       1.      
                      1
                      2 3
              n 1 2n
               
       2.      
                      3n
                      2
              n  1 5n  4


             
วิธีทา 1.    
                    1
                    2 3
            n 1 2n
                      1
             จาก     
                           2
                               เป็นอนุกรมลู่เข้า (อนุกรมพี ที่ p = 2)
                    n 1 n
                                        1
                                                            n2
             พิจารณา                          =                      =
                                       2
                            lim 2n  3
                                                                         1
                                                   lim
                           n    1               n   2n 2  3         2
                                       n2
                             1
             เนื่องจาก      
                                  2
                                       เป็นอนุกรมลู่เข้า
                           n 1 n
                                                          
             ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.5 จะได้ว่า               
                                                                 1
                                                                 2 3
                                                                         เป็นอนุกรมลู่เข้า
                                                         n 1 2n
66
              
       2.     
                     3n
                     2
             n  1 5n  4
                       1
              จาก              เป็นอนุกรมลู่ออก (อนุกรมพี ที่ p = 1)
                     n 1 n
                                        3n
                                                                     3n 2
              พิจารณา                              =                            =
                                  2
                            lim 5n  4
                                                                                     3
                                                            lim
                           n    1                        n   5n 2  4            5
                                  n
                              1
              เนื่องจาก               เป็นอนุกรมลู่ออก
                           n 1 n
                                                                   
              ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.5 จะได้ว่า                       
                                                                          3n
                                                                          2
                                                                                    เป็นอนุกรมลู่ออก
                                                                  n  1 5n  4


5.3.4 การทดสอบโดยใช้แบบอัตราส่วน
                                                                                         a n 1
ทฤษฎีบท 5.6 กาหนด               an    เป็นอนุกรมที่ a n  0 และ                    lim            =r
                               n 1                                              n  a n
                                   
              ถ้า r < 1 แล้ว       an       จะเป็นอนุกรมลู่เข้า
                                  n 1
                                                                 
              ถ้า r > 1 หรือ r หาค่าไม่ได้ แล้ว                  an     เป็นอนุกรมลู่ออก
                                                                n 1

              ถ้า r = 1 แล้วยังสรุปไม่ได้

ตัวอย่าง 5.9 จงพิจารณาว่าอนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือออก
                             n2                                                   3n
                    1.      
                                  n
                                                                         2.       
                           n 1 2                                                n 1 n!
                             ( 2n!)
                    3.      
                           n 1 n!n!


              n2
วิธีทา 1.    
                   n
            n 1 2

                                        (n  1)2
                                     2n 1
                  a n 1
พิจารณา     lim            =     lim
          n  a n              n  n 2
                                          2n
                                       (n  1)2
                           =     lim                   =    1
                                n      2n 2               2
                                                                    n2
              ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.6 จะได้ว่า                       
                                                                         n
                                                                              เป็นอนุกรมลู่เข้า
                                                                  n 1 2
67
                  n
       2.  3n!
            n 1

                                                         3n 1
                                  a n 1                (n  1)!
            พิจารณา        lim              =     lim
                           n  a n              n      3n
                                                          n!
                                           =     lim
                                                       3
                                                     n 1
                                                               =0
                                                n 
                                                             3n
            ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.6 จะได้ว่า                          เป็นอนุกรมลู่เข้า
                                                           n 1 n!

              ( 2n!)
       3.    
            n 1 n!n!
                                                           ( 2n  2)!
                                  a n 1               ( n  1)!( n  1)!
            พิจารณา        lim              =     lim
                                                              ( 2n )!
                           n  a n              n 
                                                               n!n!
                                                      ( 2n  2)( 2n  1)
                                           =     lim                        =4
                                                n   ( n  1)( n  1)
                                                            ( 2n!)
            ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.6 จะได้ว่า                           เป็นอนุกรมลู่ออก
                                                          n 1 n!n!


5.3.5 การทดสอบโดยใช้รากที่ n
                            
ทฤษฎีบท 5.7 กาหนด           an    เป็นอนุกรมโดยที่ a n  0 และ             lim n a n    =r
                           n 1                                             n 
                                  
            ถ้า r < 1 แล้ว        an      เป็นอนุกรมลู่เข้า
                                 n 1
                                                             
            ถ้า r > 1 หรือ r = หาค่าไม่ได้ แล้ว              an     เป็นอนุกรมลู่ออก
                                                            n 1

            ถ้า r = 1 แล้วยังสรุปไม่ได้

ตัวอย่าง 5.10 จงพิจารณาว่า อนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือออก
                    4n
       1.      
                           n
              n 1 (ln n )
                ( n!) n
       2.      
                     n
              n 1 n
68
                  4n
วิธีทา 1.    
                         n
            n 1 (ln n )

                                                               4n
             พิจารณา          lim n a     =     lim
                                                       n
                                                                           =     lim
                                                                                      4
                                                                                            =0
                             n  n           n           (ln n )n            n  ln n
                                                                     4n
             ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.7 จะได้ว่า                     
                                                                            n
                                                                                  เป็นอนุกรมลู่เข้า
                                                               n 1 (ln n )
              ( n!) n
       2.    
                   n
            n 1 n

                                                  n (n!)n
             พิจารณา          lim n a    =    lim
                             n  n           n    nn

                                              =        n!
                                                      lim
                                                  n  n

                                              = หาค่าไม่ได้
                                                                 ( n!) n
             ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.7 จะได้ว่า                     
                                                                      n
                                                                                เป็นอนุกรมลู่ออก
                                                               n 1 n


5.4 อนุกรมสลับ (Alternating Series)
นิยาม 5.4 อนุกรมสลับ คืออนุกรมที่แต่ละเทอมในอนุกรม มีเครื่องหมายบวกและลบสลับกัน
ตัวอย่างเช่น
         
          ( 1)
                 n1
                         = –1 + 1 – 1 +           1
                                                      –    1
                                                               + … + (–1)n n + …
                                                                                   1
        n 1      n             2   3             4        5

         
          (1)
                n 1 2n  1
                                 =   1
                                         –3 +     5
                                                      –    7
                                                                 +     9                        
                                                                               + … (–1)n + 1 2 nn 1 + …
        n 1          2n             2    4       8        16          32                      2

                                               
ทฤษฎีบท 5.8 กาหนดอนุกรมสลับ                           n
                                                ( 1) a n       ถ้า an  0 และ an  an + 1 สาหรับทุกค่า n  N โดยที่
                                              n 1
                                                       
N เป็นจานวนบวก และ             lim a = 0 แล้ว  ( 1) n a n                เป็นอนุกรมลู่เข้า
                              n  n          n 1


ตัวอย่าง 5.11 จงพิจารณาว่า อนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือออก
                                                                                       n 1 2n  1
       1.        ( 1)
                        n1
                         n
                                                                       2.          (1)
                                                                                               3n
               n 1                                                              n 1


                             เป็นอนุกรมสลับที่มี an = 1
             
วิธีทา 1.     ( 1)
                     n1
                      n                               n
            n 1

             จะเห็นได้ว่า 1  0 ทุกค่า n
                          n
69

                และ 1
                    n       
                                  1
                                n  1 ทุกค่า n  1
                และ       lim
                             1
                                   =0
                        n  n
                             
                ดังนั้น       ( 1)
                                     n1
                                      n
                                            เป็นอนุกรมลู่เข้า
                            n 1



                                     เป็นอนุกรมสลับที่มี an = 2 n3 1
                     n 1 2n  1
         2.     (1)
                            3n                                    n
              n 1

                จะเห็นได้ว่า 2 n  1  0 ทุกค่า n
                               3n
                                             = 1 – 5 + 7 – 12 + 15 + … + … (–1)n + 1 2 n  1 + …
                             n 1 2n  1
                จาก     (1)
                                    3n
                                                           9    11
                                                                                       3n
                      n 1                         6   9

                เห็นได้ว่า an  an + 1 ทุกค่า n  1
                         2n  1
              แต่     lim           =   2
                    n   3n            3
                               n 1 2n  1
              ดังนั้น     (1)
                                      3n
                                               เป็นอนุกรมลู่ออก
                        n 1


5.4.1 การลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ หรืออย่างมีเงื่อนไข (Absolute or Conditional Convergence)
                                                                                               
นิยาม 5.5 อนุกรม             an    จะถูกเรียกว่าเป็นอนุกรมที่ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ ถ้าอนุกรม    | an |   เป็น
                            n 1                                                               n 1

อนุกรมลู่เข้า
                                                                                                   
นิยาม 5.6 อนุกรม             an     จะถูกเรียกว่าเป็นอนุกรมที่ลู่เข้าอย่างมีเงื่อนไข ถ้าอนุกรม     an   เป็น
                            n 1                                                                   n 1
                                 
อนุกรมลู่เข้า แต่อนุกรม          | an |    เป็นอนุกรมลู่ออก
                                n 1


ตัวอย่าง 5.12 จงพิจารณาว่าอนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ หรืออย่างมีเงื่อนไข หรือ
เป็นอนุกรมลู่ออก
                                                                           n 1 2 
                                                                                       n
         1.       ( 1)
                         n1
                                                                2.     (1)      
                n 1      n                                          n 1        3
                 
         3.             n
                  ( 1) 3
                n 1
70

                               เป็นอนุกรมสลับโดยที่ an = 1
              
วิธีทา 1.      ( 1)
                      n1
                       n                                 n
             n 1

               เนื่องจาก 1 > 0 และ 1
                         n         n                  
                                                            1 ทุกค่า n ที่ n เป็นจานวนเต็มบวก
                                                          n 1
                                                        
               และ       lim
                            1
                                     = 0 ดังนั้น         ( 1)
                                                                n1
                                                                         เป็นอนุกรมลู่เข้า
                       n  n                          n 1      n
                                                       1
               พิจารณา        | ( 1)
                                       n1|
                                        n
                                                 =             ซึ่งเป็นอนุกรมลู่ออก (เป็นอนุกรมพี ที่ P = 1)
                            n 1                      n 1 n
                           
               ดังนั้น      ( 1)
                                   n1
                                    n
                                            เป็นอนุกรมลู่เข้าอย่างมีเงื่อนไข
                          n 1


                                n                                                      n
        2.       (1)
                       n 1 2 
                                       เป็นอนุกรมสลับโดยที่ an =  3 
                                                                     2
                                                                    
               n 1        3                                                     
                                     n                     n           n 1
                               2                               2
               เนื่องจาก               > 0 และ  3 
                                                   2
                                                                         ทุกค่า n ที่ n เป็นจานวนเต็มบวก
                               3                             3
                                     n                                          n
                            2                                        n 1 2 
               และ      lim            = 0 ดังนั้น             (1)                เป็นอนุกรมลู่เข้า
                       n   3                               n 1        3
                                                 n
                                         n 1 2  |              2 n
               พิจารณา           | (1)                 =                ซึ่งเป็นอนุกรมลู่เข้า เพราะ
                               n 1          3               n 1 3 

               เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มี r =                 2
                                                           3
                                 n 1 2 
                                            n
               ดังนั้น      (1)                  เป็นอนุกรมลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์
                          n 1        3

                
        3.             n
                 ( 1) 3   เป็นอนุกรมสลับโดยที่ an = 3
               n 1


             จะเห็นได้ว่า an = 3 > 0 และ an  an + 1 ทุกค่า n เป็นจานวนนับ
                                                           
             แต่      lim 3  3  0         ดังนั้น               n
                                                            ( 1) 3    เป็นอนุกรมลู่ออก
                    n                                   n 1


                                                                     
ทฤษฎีบท 5.9 ถ้า           | an |    เป็นอนุกรมลู่เข้าแล้ว            an        เป็นอนุกรมลู่เข้า
                         n 1                                        n 1


                 
ตัวอย่างเช่น      ( 1)
                         n 1
                n 1       n3
                                           1
เมื่อพิจารณา      | ( 1)
                           n 1 |
                                     =              ซึ่งเป็นอนุกรมลู่เข้า (เพราะเป็นอนุกรมพี โดยที่ p = 3)
                n 1         n3           n 1 n
                                                 3

                                               
ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.9 จะได้ว่า                  ( 1)
                                                       n 1
                                                                 เป็นอนุกรมลู่เข้า
                                              n 1       n3
71

5.5 อนุกรมกาลัง (Power Series)
นิยาม 5.7 อนุกรมกาลังที่มีจุดศูนย์กลางที่ x = 0 เป็นอนุกรมที่เขียนได้ในรูปของ
          
           cn x
                 n
                     = c0 + c1x + c2x2 + … + cnxn + …
         n 0

นิยาม 5.8 อนุกรมกาลังที่มีจุดศูนย์กลางที่ x = a เป็นอนุกรมที่เขียนได้ในรูปของ
          
           cn ( x  a )
                         n
                             = c0 + c1(x – a) + c2(x – a)2 + … + cn(x – a)n + …
         n 0



                              เป็นอนุกรมกาลังที่มีจุดศูนย์กลางที่ x = 0 โดยที่ Cn = 1 !
                   xn
ตัวอย่างเช่น      
                                                                                    n
                 n 0 n!

           ( x  3)n
          
                       2
                           เป็นอนุกรมกาลังที่มีจุดศูนย์กลางที่ x = 3 โดยที่ Cn =              1
         n  0 (n  1)                                                                    ( n  1) 2


5.5.1 รัศมีการลู่เข้าและช่วงการลู่เข้า (Radius and Interval of Convergence)
                                      
         สาหรับอนุกรมกาลัง             cn ( x  a )
                                                     n
                                                         จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า ถ้า x = a อนุกรมดังกล่าวจะเป็น
                                     n 0

อนุกรมลู่เข้า อย่างไรก็ตามเราอาจสนใจค่าจานวนจริง x ที่มีค่าอื่นๆอีก ที่ทาให้อนุกรมกาลังดังกล่าว
เป็นอนุกรมลู่เข้า
                                                                                                       
นิยาม 5.9 สาหรับอนุกรมกาลัง                cn ( x  a )
                                                         n
                                                               ถ้า R เป็นจานวนเต็มบวกที่ทาให้            cn ( x  a )
                                                                                                                       n
                                                                                                                           เป็น
                                         n 0                                                          n 0

อนุกรมลู่เข้าเมื่อ |x – a| < R และเป็นอนุกรมลู่ออกเมื่อ |x – a| > R แล้วจะเรียก R ว่าเป็นรัศมีการลู่เข้า
                                            
หมายเหตุ 1. สาหรับอนุกรมกาลัง                cn ( x  a )
                                                           n
                                                                ที่มีรัศมีการลู่เข้าเท่ากับ R นั้น อนุกรมดังกล่าวอาจจะ
                                           n 0

เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออกก็ได้ที่จุด x = a – R และจุด x = a + R
            2. สาหรับอนุกรมกาลังที่ลู่เข้าทุกค่าจานวนจริง x นั้น สามารถกล่าวได้ว่ารัศมีการลู่เข้ามีค่า
ไม่จากัดหรือ R = 
            3. สาหรับอนุกรมกาลังที่ลู่เข้าที่ทุกค่าจานวนจริง x = a เพียงค่าเดียวนั้น สามารถกล่าวได้ว่า
รัศมีการลู่เข้ามีค่าเท่ากับศูนย์หรือ R = 0
                                             
นิยาม 5.10 สาหรับอนุกรมกาลัง                  cn ( x  a )
                                                            n
                                                                 เซตของจานวนจริง x ที่ทาให้อนุกรมดังกล่าวเป็น
                                            n 0

อนุกรมลู่เข้า เรียกว่าเป็นช่วงการลู่เข้า
72

        นั่นคือสาหรับอนุกรมกาลังที่มีรัศมีการลู่เข้าเท่ากับ R จะได้ว่าช่วงการลู่เข้าอาจเป็นช่วง
        1. (a – R, a + R) หรือ
        2. [a – R, a + R) หรือ
        3. (a – R, a + R] หรือ
        4. [a – R, a + R]
        อย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งนี้ขึ้นกับว่า อนุกรมลู่เข้าที่จุด x = a – R, หรือ a + R หรือไม่

ตัวอย่าง 5.13 จงหารัศมีการลู่เข้าและช่วงการลู่เข้าของอนุกรมกาลังต่อไปนี้
                      n ( x  3)
                                  n                               xn
        1.       (1)
                            3n
                                                        2.       
               n 1                                             n 0 n!
                                                                      n ( x  1)
                                                                                   n
        3.            n
                 (1) n!( x  2)
                                  n
                                                        4.        (1)
               n 0                                             n 0          4n


                    n ( x  3)
                                n
วิธีทา 1.      (1)
                          3n
             n 1

                                                        (1)n 1( x  3)n 1
                                a
             พิจารณา                        =
                                                                 3 n 1
                          lim       n 1         lim
                         n  a n               n          (1)n ( x  3)n
                                                                  3n


                                            =    lim ( x  3)3
                                                                     n
                                                                   n 1
                                                n 

                                            = |x–3|
                                                                                        n ( x  3)
                                                                                                    n
        จากทฤษฎีการทดสอบอนุกรมโดยใช้อัตราส่วนจะได้                                 (1)
                                                                                              3n
                                                                                                        เป็นอนุกรมลู่เข้า ถ้า |
                                                                                 n 0

        x – 3 | < 1 นั่นคือ รัศมีการลู่เข้าเท่ากับ 1
        จาก | x – 3 | < 1 จะได้ว่า –1 < x – 3 < 1 หรือ 2 < x < 4

             พิจารณาอนุกรมกาลังที่ x = 2 จะได้
                    n ( x  3)
                                n                 n (2  3)
                                                             n
               (1)
                          3n
                                      =      (1)
                                                       3n
             n 0                          n 0
                                             ( 1) 2 n
                                      =     
                                                 3n
                                           n 0
                                             1
                                      =     
                                               3
                                                       ซึ่งเป็นอนุกรมลู่ออก (เป็นอนุกรมพี โดยที่ p = 1 )
                                           n 0 n                                                    3
73

       พิจารณาอนุกรมกาลังที่ x = 4 จะได้
            n ( x  3)
                        n                    n (4  3)
                                                        n
       (1)
                  3n
                               =        (1)
                                                  3n
     n 1                             n 0
                                        ( 1) n
                                  =    
                                           3
                                      n 0 n

                        เป็นอนุกรมสลับที่มี an = 3 1
         ( 1) n
        
            3
       n 1 n                                                   n
       เนื่องจาก 3 1 > 0 และ 3 1                            1
                    n           n
                                                        3 n  1 ทุกค่า n ที่เป็นจานวนนับ
                                                ( 1) n
       และ       lim
                         1
                              = 0 ดังนั้น      
                                                   3
                                                              เป็นอนุกรมลู่เข้า
             n  3 n                         n 1 n
                                                                    n ( x  3)
                                                                                n
       ดังนั้นช่วงของการลู่เข้าของอนุกรม                       (1)
                                                                          3n
                                                                                    คือ (2, 4]
                                                             n 1


        xn
2.     
      n 0 n !

                                                      x n 1
                                                     (n  1)!
       พิจารณา          lim
                            a n 1
                                         =   lim                = 0 ทุกค่า x ที่เป็นจานวนจริง
                       n  a n              n        xn
                                                        n!
                                                                                                    xn
       ดังนั้นจากทฤษฎีบทการทดสอบอนุกรมโดยใช้อัตราส่วน จะได้วา
                                                            ่                                               เป็นอนุกรมลู่
                                                                                                  n 0 n !

เข้า สาหรับทุกค่า x ที่เป็นจานวนจริง นั่นคือ รัศมีการลู่เข้าเท่ากับ  และช่วงของการลู่เข้า คือ
(– , )
       
3.            n
        ( 1) n !( x  2)
                           n
      n 0
                              a                         (1)n 1(n  1)!( x  2)n 1)
       พิจารณา          lim       n 1   =     lim
                       n  a n               n            (1)n n!( x  2)n

                                         =    lim (n  1) x  2
                                              n 

                                           0 เมื่อ x  2
                                           
                                         = 
                                            เมื่อ x  2
                                           
                                                                                                  
       ดังนั้นจากทฤษฎีบทการทดสอบอนุกรมโดยใช้อัตราส่วน จะได้ว่า                                          n
                                                                                                   (1) n!( x  2)
                                                                                                                    n
                                                                                                                        เป็น
                                                                                                 n 0

อนุกรมลู่เข้าเมื่อ x = 0 ดังนั้น รัศมีการลู่เข้าเท่ากับ 0 และช่วงของการลู่เข้า = {0}
74
            n ( x  1)
                        n
4.     (1)
     n 0          4n

                                                                 ( x  1)n
     พิจารณา        lim n | a n |     =     lim
                                                  n
                                                       | (1)n               |
                   n                     n                      4n

                                      =     lim
                                                      x 1
                                                                 = | x 1 |
                                                                       4
                                           n         4
                                                                                          n ( x  1)
                                                                                                      n
     จากทฤษฎีบทการทดสอบอนุกรมโดยใช้รากที่ n จะได้ว่า                                 (1)                จะเป็น
                                                                                   n 0          4n

     อนุกรมลู่เข้า ถ้า | x  1 | < 1 นั่นคือ | x – 1| < 4
                            4
     ดังนั้น รัศมีการลู่เข้า = 4

     จาก | x – 1| < 4 จะได้ว่า – 4 < x – 1 < 4 หรือ – 3 < x < 5
     พิจารณาที่ x = – 3
             n ( x  1)
                         n                  n (3  1)
                                                        n
        (1)                =        ( 1)
      n 0          4n              n 0          4n
                                            n ( 4 )
                                                      n
                             =        ( 1)
                                    n 0          4n
                                     
                             =        ( 1)
                                             2n
                                    n 0
                                     
                             =       1
                                    n0
       
       1 เป็นอนุกรมลู่ออก เพราะ nlim a n = nlim 1  1  0
                                           
      n 0

     พิจารณาที่ x = 5
             n ( x  1)
                         n                 n (5  1)
                                                      n
        (1)                =        (1)
      n 0          4n              n 0         4n
                                                 4n
                             =        ( 1)
                                             n
                                    n 0          4n
                                     
                             =        ( 1)
                                             n
                                    n 0
       
        ( 1)
               n
                   เป็นอนุกรมลู่ออก เพราะ                  lim (1)n     = หาค่าไม่ได้
      n 0                                               n 
                      n ( x  1)
                                  n
     ดังนั้น     (1)                    มีรัศมีการลู่เข้า = 4 และช่วงการลู่เข้า = (– 3, 5)
               n 0          4n
75

5.5.2 อนุกรมเทย์เลอร์ (Taylor Series) และอนุกรมแมคลอริน (Maclaurin Series)
นิยาม 5.11 กาหนด f เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ได้ทุกอันดับ สาหรับทุกช่วงที่รวมจุด a จะ
             f ( n ) (a )                                                        f '' (a )                     f (n ) (a )
กล่าวว่า    
                   n!
                           ( x  a )n          = f (a) + f (a) (x – a) +                   ( x  a )2 +   …+               ( x  a )n +   …
           n 0                                                                      2!                             n!
                                                                                        f ( n ) (a )
เป็นอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชัน f ที่จุด a และ f (x) =                                  
                                                                                              n!
                                                                                                      ( x  a )n
                                                                                      n 0


นิยาม 5.12 อนุกรมแมคลอริน ของฟังก์ชัน f คืออนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชัน f ที่จุด 0 นั่นคืออนุกรม
แมคลอรินของ f คือ
 
     f ( n ) (0) n                                      f '' (0)              f (n ) (0) n
         n!
                x        = f (0) + f /(0) x +              2!
                                                                   +…+
                                                                                  n!
                                                                                        x      +…
n 0
                      f ( n ) ( 0) n
และ f (x) =          
                             n!
                                      x
                 n 0



ตัวอย่าง 5.14 จงหาอนุกรมเทย์เลอร์ของ f (x) = 1 ที่จุด 3
                                             x

วิธีทา       f (x) = 1 ,
                     x                                    f (3) =        1
                                                                         3

                                  1
            f (x) = – 2 ,                                f (3) = –          1
                      x                                                      32

            f (x) = 23 ,                                f (3) =      2
                      x                                                  33

           f (x) = – 64 ,                            f (3) = –         6
                                  x                                       34

           …
           f n(x) =        (1)n
                                          n!
                                          n 1
                                               ,          f n (3) =     (1)n
                                                                                   n!
                                      x                                           3n 1

           เพราะฉะนั้นอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชัน 1 ที่จุด 3 คือ
                                                 x
             f ( n ) (a )                             (1) n n!
                          ( x  3)n           =      
                                                              n 1
                                                                   ( x  3) n
           n  0 n!                                  n  0 n!3
                                                             n ( x  3)
                                                                         n
                                                =       (1)
                                                      n 0         3n 1

           นั่นคือ 1 = 1 –
                   x 3
                                           (x  3)
                                                      +    ( x  3) 2
                                                                        – ... +   ( 1) n
                                                                                            ( x  3) n
                                               32             33                              3n 1
76

ตัวอย่าง 5.15 จงหาอนุกรมแมคลอริน ของฟังก์ชันต่อไปนี้
         1. f (x) = sin x
         2. f (x) = ex
วิธีทา 1.        f (x) = sin x,                        f (0)      =    0
                f (x) = cos x,                        f(0)      =    1
               f (x) = – sin x,                      f (0)    =    0
              f (x) = –cos x,                       f (0)   =    –1
                …
   และจะได้ว่า f (2n)(x) = (–1) nsin x,                f (2n)(0) = 0
                  f (2n + 1)(x) = (–1) ncos x,         f (2n + 1)(0) = (–1) n
   ดังนั้นอนุกรมแมคลอรินของ sin x คือ
        f ( n ) ( 0)         x3 x5              )n 2n 1
      n! x n           = x – 3! + 5 ! – … + ((12n x 1)! + …
                                                    
    n 0



                    x3 x5               )n 2n 1
   หรือ sin x = x – 3 ! + 5 ! – … – ((12n x 1)! – …
                                           



         2. f (x) = e x
            f (x) = e x,                      f (0) = 1
            f (x) = e x,                     f (0) = 1
            f (x) = e x,                    f (0) = 1
            …
              n                                n
            f ( )(x) = e x,                   f ( )(0) = 1
   ดังนั้นอนุกรมแมคลอรินของ e x คือ
      f ( n ) ( 0) n          1 n
                  x    =            x
    n  0 n!                 n  0 n!
                                                   3
                                     x2                      xn
                        = 1+x+       2!
                                              + x3! +… +
                                                             n!
                                                                  +…

   นั่นคือ e x = 1 + x +
                                          3
                               x2                      xn
                                    + x3! + … +              +…
                               2!                      n!
77

แบบฝึกหัด

1. จงพิจารณาว่า ลาดับ {an} ต่อไปนี้เป็นลาดับลู่เข้าหรือลู่ออก
       (1) n 
1.1   
      
               
                                                     1.2 {4}
      
      
          n 
               
                                                             2n 2  5 
1.3    4n  3 
                                                    1.4   
                                                            
                                                                       
                                                                       
       3n                                                 
                                                            
                                                                7n 
                                                                       
       n2                                                  n3 
1.5   
       3
               
                                                     1.6    
                                                             n
       4n  7 
                                                          3 
                                                             
       4n 
1.7    
       n                                            1.8    2        
                                                             n  n  n
      5 
                                                                    


2. จงหาผลบวก n เทอมของอนุกรมต่อไปนี้ แล้วพิจารณาว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก
2.1 ln 2 + ln 3 + ln 5 + … + ln (n  1) + …
       3      4
                     4           n
                                     2
2.2    1
      35
            +      1
                  57
                        +    1
                            79
                                  +…+           1
                                         (2n  1)(2n  3)
                                                            +…

                                   
3. จงพิจารณาว่าอนุกรม              an   ต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือออก
                                  n 1

        3n  2                                                               4n  3
3.1                                                             3.2          2
      n 1 5n                                                           n 1 5n  4

        5n 2  7                                                           n 2  4n  1
3.3                                                             3.4       
                                                                                4n  1
      n  1 4n  1                                                      n 1

        3n                                                               4n
3.5                                                             3.6     
                                                                        n 1 ( n  1)!
             n
      n 1 2

        n                                                                ln n
3.7                                                             3.8     
                                                                               n
      n 1 ln n                                                         n 1 2


4. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ว่าถูกหรือผิด
   ถ้าถูกให้พิสูจน์หรือให้เหตุผลประกอบ ถ้าผิดให้ยกตัวอย่างขัดแย้ง
                                                             
4.1 ถ้าลาดับ {an} เป็นลาดับลู่เข้า แล้วอนุกรม                an     เป็นอนุกรมลู่เข้า
                                                            n 1
                                                             
4.2 ถ้าลาดับ {an} เป็นลาดับลู่ออก แล้วอนุกรม                 an       เป็นอนุกรมลู่ออก
                                                            n 1
Sequence and series 01

More Related Content

What's hot

เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไขKrudodo Banjetjet
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับaoynattaya
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรRitthinarongron School
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558ครู กรุณา
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังyingsinee
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 KruPa Jggdd
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 

What's hot (20)

เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับ
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายในชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
ค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐานค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐาน
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
31201mid521
31201mid52131201mid521
31201mid521
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 

Similar to Sequence and series 01

Similar to Sequence and series 01 (20)

อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
Sheet arithmetic series
Sheet  arithmetic  seriesSheet  arithmetic  series
Sheet arithmetic series
 
Series
SeriesSeries
Series
 
Series
SeriesSeries
Series
 
Series
SeriesSeries
Series
 
Series
SeriesSeries
Series
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
สรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็นสรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็น
 
Pat 1
Pat 1Pat 1
Pat 1
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
สรุปสูตร ลำดับและอนุกรม
สรุปสูตร ลำดับและอนุกรมสรุปสูตร ลำดับและอนุกรม
สรุปสูตร ลำดับและอนุกรม
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
7
77
7
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
บทที่ 2 อนุกรม
บทที่ 2 อนุกรมบทที่ 2 อนุกรม
บทที่ 2 อนุกรม
 

Sequence and series 01

  • 1. บทที่ 5 ลาดับและอนุกรม (Sequence & Series) เรื่องของลาดับและอนุกรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชุดเลขจานวน รวมถึงการหาผลบวกของชุด จานวนเหล่านั้น 5.1 ลาดับ ลาดับ เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตจานวนเต็มบวก หรือสับเซตของจานวนเต็มบวก และมี เรนจ์เป็นสับเซตของจานวนจริง สัญลักษณ์ใช้แทนลาดับคือ {an} โดยที่ an หมายถึงเทอมที่ n หรือพจน์ ที่ n ของลาดับ ดังตัวอย่างเช่น 1   1 1 1 1    =  1, , , , ... , , ... n   2 3 4 n  {n2} = {1, 4, 9, 16, …, n2, …} {(–1)n} = {– 1, 1, – 1, 1, …, (– 1) n, …}  3n  4   10 13 16 3n  4    = 7, , , , ..., ,...   2n  1   3 5 7 2n  1  5.1.1 ลาดับลู่เข้าและลาดับลู่ออก (Convergent and Divergent Sequence) จากลาดับที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น อาจแบ่งลาดับออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ด้วยกันตาม ลักษณะของการลู่เข้าหรือลู่ออกของลาดับ ซึ่งพิจารณาได้จาก lim a n นั่นคือ n  ถ้า lim a = k, k  R จะกล่าวว่าลาดับ {an} เป็นลาดับลู่เข้าโดยลู่เข้าสู่ค่า k แต่ n  n ถ้า lim a = หาค่าไม่ได้ จะกล่าวว่า {an} เป็นลาดับลู่ออก n  n ตัวอย่าง 5.1 ลาดับ {an} ต่อไปนี้เป็นลาดับลู่เข้าหรือลู่ออก 1. 1    2. {n2} n  3. {(–1)n} 4.  3n  4     2n  1 
  • 2. 57 วิธีทา 1. ลาดับ  n  1     พิจารณา lim a = lim 1 =0 n  n n  n ดังนั้น  n  เป็นลาดับลู่เข้า และลู่เข้าหาค่า 0 1     2. ลาดับ {n2} พิจารณา lim a n = lim n 2 =  (หาค่าไม่ได้) n  n  ดังนั้น {n2} เป็นลาดับลู่ออก 3. ลาดับ {(–1)n} พิจารณา lim a n = lim (1)n = หาค่าไม่ได้ n  n  ดังนั้น {(–1)n} เป็นลาดับลู่ออก 4. ลาดับ  3n  4   2n  1    3n  4 พิจารณา lim a = lim = 3 n  n n   2n  1 2 ดังนั้น  3n  4  เป็นลาดับลู่เข้า และลู่เข้าหาค่า  2n  1  3   2 5.1.2 ลาดับเลขคณิต (Arithmetic Sequence) นิยาม 5.1 ลาดับ {an} = {a1, a2, a3, …} จะเป็นลาดับเลขคณิต ถ้า an+1 – an = d, d  R ทุกค่า n ที่เป็น จานวนนับ ค่า d ของลาดับเลขคณิต เรียกว่าเป็นผลต่างร่วม (Common Difference) ทั้งนี้พจน์ที่ n ของ ลาดับจะหาได้จาก an = a1 + (n – 1)d ตัวอย่างเช่น {3n – 1} = {2, 5, 8, 11, …, 3n – 1, …} เป็นลาดับเลขคณิตที่มีค่า d = 3 {2n + 1} = {3, 5, 7, 9, …, 2n + 1, …} เป็นลาดับเลขคณิตที่มีค่า d = 2 5.1.3 ลาดับเรขาคณิต (Geometric Sequence) นิยาม 5.2 ลาดับ {an} = {a1, a2, a3,…} จะเป็นลาดับเรขาคณิต ถ้า a n 1 an = r, an  0 และ r  R ทุกค่า n ที่เป็นจานวนนับ ค่า r ของลาดับเรขาคณิต เรียกว่าอัตราส่วนร่วม (Common Ratio) โดยที่พจน์ที่ n ของลาดับ จะหาได้จาก an = a1rn - 1
  • 3. 58 ตัวอย่างเช่น {2(3n - 1)} = {2, 6, 18, 54, …, 2(3n - 1),…} เป็นลาดับเรขาคณิตที่มีค่า r = 3 1  1 1 1 1   n =  , , , , ..., 1 n  , ... เป็นลาดับเรขาคณิตที่มีค่า r = 1 3   3 9 27 81 3  3 5.2 อนุกรม อนุกรมเป็นการนาเอาสมาชิกของลาดับ {an} มาบวกกัน สัญลักษณ์ที่ใช้แทนอนุกรมคือ an n ดังตัวอย่าง = 1+ 1 + 1 + 1 +…+ 1 + …  1  n 1 n 2 3 4 n   2n 1 1 = 1+ 1 + 1 + 1 +…+ 1 +… n 1 2 4 8 2n   ( 1) n 1 = 1 – 1 + 1 – 1 + … + (–1)n + 1 + … n 1   1 n (n  1) = 1 + 1 + 1 +…+ 1 +… n 1 1 2 23 3 4 n(n  1) 5.2.1 อนุกรมลู่เข้า และอนุกรมลู่ออก (Convergent and Divergent Series)  สาหรับอนุกรม  a n ถ้าให้ n 1 S 1 = a1 S 2 = a1 + a2 S 3 = a1 + a 2 + a3 … S n = a1 + a2 + a 3 + … + an  จะเรียกว่า {Sn} เป็นลาดับของผลบวกย่อยของอนุกรม  a n n 1  ถ้า lim Sn = k กล่าวได้ว่า {Sn} เป็นลาดับลู่เข้า และนั่นหมายถึง  a n เป็นอนุกรมลู่เข้า n  n 1 และมีผลบวกของอนุกรมเท่ากับ k  ถ้า lim S n = หาค่าไม่ได้ กล่าวได้ว่า {Sn} เป็นลาดับลู่ออกหรือ  a n เป็นอนุกรมลู่ออก n  n 1
  • 4. 59  ตัวอย่าง 5.2 กาหนด  1 = 1 + 1 + 1 +… จงพิจารณาว่า อนุกรมดังกล่าวเป็น n 1 (n  1)(n  2) 23 3 4 45 อนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก วิธีทา ให้ Sn = 1 + 1 + 1 1 +…+ 23 3 4 ( n  1)( n  2 ) 45 1 1 1 พิจารณา ( n  1)( n  2 ) = n  1 – n  2 ดังนั้น Sn = 1 1    + 1  1 + 1  1 + … +        1  1    2 3 3 4 4 5  (n  1) (n  2)   = 1 2 – 1 n2 1 1  lim Sn = lim    = 1 n  n   2 n  2  2  ดังนั้น  1 ( n  1)( n  2) เป็นอนุกรมลู่เข้าที่มีผลบวกเท่ากับ 1 n 1 2  ตัวอย่าง 5.3 จงพิจารณาอนุกรม  ln n เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก n 1 n  1 วิธีทา ให้ Sn = ln 1 + ln 2 + ln 4 + … + ln n  1 2 3 3 n = (ln 1 – ln 2) + (ln 2 – ln 3) + (ln 3 – ln 4) + … + (ln n – ln (n + 1)) = ln 1 – ln (n + 1) = – ln (n + 1) lim Sn = lim  ln(n  1) = –  (หาค่าไม่ได้) n  n   ดังนั้น  ln n เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 n  1 5.2.2 อนุกรมเรขาคณิต (Geometric Series) พิจารณาลาดับเรขาคณิต {an} = {a, ar, ar2, ar3, …, arn - 1, …}   n 1 ซึ่งจะได้อนุกรมเรขาคณิต an =  ar n 1 n 1 = a + ar + ar2 + ar3 + … พิจารณา Sn = a + ar + ar2 +ar3 + …+ ar n - 1 rSn = ar + ar2 +ar3 + …+ ar n-1 + ar n Sn – rSn = a – ar n - 1
  • 5. 60 Sn(1 – r) = a(1 – r n - 1) (1  r n 1) Sn = lim a 1 r ,r1 n  (1  r n 1) lim S = lim a 1 r = a เมื่อ | r | < 1 n  n n  1 r = หาค่าไม่ได้ เมื่อ | r | > 1  n 1 ดังนั้น  ar จะเป็นอนุกรมลู่เข้า ก็ต่อเมื่อ | r | < 1 โดยมีผลบวกของอนุกรมเท่ากับ a n 1 1 r และเป็นอนุกรมลู่ออกเมื่อ | r |  1 ตัวอย่าง 5.4 จงพิจารณาอนุกรมต่อไปนี้ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก   2 n   1 n 1.    2.  3   n 1 3  n 1  2    4 n 3.  2  n 1  3  = 2 + 2 + 2 + …   2 n 2 3 วิธีทา 1.    3 3     n 1 3   3   เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่พจน์แรก a = 2 และ r = 2 3 3 2   2 n ดังนั้น    เป็นอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกเท่ากับ 3 =2 n 1 3  1 2 3   1 n 2 3 2.  3   = 3  1  + 3   1  + 3   1  + …       n 1  2   2   2  2   เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่พจน์แรก a = 3  1  และ r =  1   2 2    1 3     1 n ดังนั้น  3   เป็นอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกเท่ากับ  2  1 = -1 n 1  2  1    2   4 n 2 3 3.  2  = 2 3  + 2 3  + 2  3  + … 4   4   4   n 1  3        เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่พจน์แรก a = 2  3  และ r = 4   4   3   4 n ดังนั้น  2  เป็นอนุกรมลู่ออก n 1  3 
  • 6. 61 5.2.3 การทดสอบความเป็นอนุกรมลู่ออกโดยการใช้พจน์ที่ n  กาหนดอนุกรม an เป็นอนุกรมลู่เข้าโดยมีผลบวกเท่ากับ S ถ้า Sn เป็นผลบวก n เทอมของ n 1 อนุกรมดังกล่าว จะได้ว่า an = Sn – Sn – 1 จะได้ว่า lim a = lim (S  S n 1 ) n  n n  n = lim S – lim S n  n n   n 1 = S–S = 0  ทฤษฎีบท 5.1 ถ้า an เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว lim a =0 n 1 n  n อย่างไรก็ตามการนาทฤษฎีบทดังกล่าวไปใช้นั้น ไม่สามารถนาไปใช้ได้โดยตรง แต่ถ้า พิจารณาถึงข้อความที่สมมูลกับทฤษฎีบทดังกล่าวคือ  ถ้า lim a หาค่าไม่ได้ หรือหาค่าได้แต่ไม่เท่ากับ 0 แล้ว an เป็นอนุกรมลู่ออก n  n n 1 ซึ่งสามารถนาไปใช้ในการทดสอบความเป็นอนุกรมลู่ออกได้ทันที ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่าง 5.5 จงพิจารณาอนุกรมต่อไปนี้ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้า หรือลู่ออก  3n  4  n2 1.  2  n 1 2n n 1 n  4  3.  ( 1) n n 1  3n  4 วิธีทา 1. พิจารณา  n 1 2n 3n  4 จะเห็นได้ว่า lim = 3 0 n   2n 2  3n  4 ดังนั้น  เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 2n  n2 2. พิจารณา  n 1 n  4 n2 จะเห็นได้ว่า lim =  (หาค่าไม่ได้) n  n  4  n2 ดังนั้น  เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 n  4
  • 7. 62  3. พิจารณา  ( 1) n n 1 เนื่องจาก lim (1)n = หาค่าไม่ได้ n   ดังนั้น  ( 1) n เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 5.3 การทดสอบอนุกรมว่าเป็นอนุกรมลู่เข้า หรือลู่ออก  สาหรับอนุกรม an โดยที่ an  0 และ Sn เป็นผลบวก n เทอมของอนุกรมดังกล่าว ดังนั้น n 1 {Sn} จะเป็นลาดับที่มีค่าไม่ลดลง (Non-Decreasing) ทั้งนี้เพราะ Sn = Sn-1 + an และ an  0 ดังนั้น S1  S2  S3  …  Sn  Sn + 1  … ดังนั้นถ้า {Sn} ถูกกาหนดขอบเขตจากทางด้านบน ก็จะได้ว่า {Sn} เป็น  ลาดับลู่เข้าและนั่นหมายถึงว่า an เป็นอนุกรมลู่เข้า ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการนาเอาแนวความคิดนี้มา n 1 พัฒนาเป็นวิธีการที่จะใช้ในการทดสอบการลู่เข้าหรือลู่ออกของอนุกรม ซึ่งวิธีทดสอบที่สาคัญๆ เช่น 1. การทดสอบโดยใช้อินทิกรัล (Integral Test) 2. การทดสอบโดยใช้การเปรียบเทียบ (Comparison Test) 3. การทดสอบโดยใช้การเปรียบเทียบลิมิต (Limit Comparison Test) 4. การทดสอบโดยใช้อัตราส่วน (Ratio Test) 5. การทดสอบโดยใช้ราก (Root Test) 5.3.1 การทดสอบโดยใช้อินทิกรัล ทฤษฎีบท 5.2 กาหนด {an} เป็นลาดับที่ a n  0 ถ้า a n = f (n) โดยที่ f เป็นฟังก์ชันที่ต่อเนื่อง มีค่าเป็น บวก และเป็นฟังก์ชันที่มีค่าลดลง สาหรับ n  N (N เป็นจานวนเต็มบวก) จะได้ว่า   ถ้า  f (x)dx หาค่าได้ จะได้ว่า  a n เป็นอนุกรมลู่เข้า และ n 1 N   ถ้า  f (x)dx หาค่าไม่ได้ จะได้ว่า  a n เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 N ตัวอย่าง 5.6 จงพิจารณาว่าอนุกรมต่อไปนี้ลู่เข้าหรือลู่ออก  1 1.  2 n 1 n  1 2.  n 1 n
  • 8. 63  1 วิธีทา 1.  2 n 1 n 1 กาหนดให้ f (x) = x2 จะเห็นได้ว่า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง มีค่าเป็นบวก และมีค่าลดลงเมื่อ x  1     1 พิจารณา  f (x)dx =  12 dx =  x  x  1 1 1  1 = lim    +1= 1 x   x   1 ดังนั้น  2 เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 n  1 2.  n 1 n ให้ f (x) = 1 x f เป็นฟังก์ชันที่ต่อเนื่อง มีค่าเป็นบวกและมีค่าลดลง เมื่อ x  1   1 พิจารณา  1 dx = x 2 dx x 1 1 1   2 = 2x   1 = lim 2 x –2 x  = หาค่าไม่ได้  1 ดังนั้น  เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 n  1 นิยาม 5.3 อนุกรมพี (P-Series) คืออนุกรมที่อยู่ในรูปของ  p , p เป็นจานวนจริง n 1 n ทฤษฎีบท 5.3 สาหรับอนุกรมพี ใดๆ  1 ถ้า p > 1  p เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 n  1 ถ้า p  1  p เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 n อนุกรมพี สามารถพิสูจน์ได้โดย การทดสอบโดยใช้อินทิกรัล
  • 9. 64  1 ตัวอย่างเช่น  เป็นอนุกรมพี โดยที่ p = 3 ดังนั้นเป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 n n 2  1  เป็นอนุกรมพี โดยที่ p = 1 ดังนั้นเป็นอนุกรมลู่ออก n 1 n 5.3.2 การทดสอบโดยใช้การเปรียบเทียบ   ทฤษฎีบท 5.4 กาหนด an เป็นอนุกรมโดยที่ an  0 จะได้ว่า an เป็นอนุกรมลู่เข้าถ้ามีอนุกรมลู่ n 1 n 1   เข้า  bn โดย an  bn ทุกค่า n > N เมื่อ N เป็นจานวนเต็ม และ an เป็นอนุกรมลู่ออก ถ้ามีอนุกรม n 1 n 1  ลู่ออก  bn โดยที่ bn  0 โดยที่ an  bn ทุกค่า n > N เมื่อ N เป็นจานวนเต็ม n 1 ตัวอย่าง 5.7 จงพิจารณาว่าอนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก  1  1.  2.  1 ; n (n  1) n 1 n! n 1  1 วิธีทา 1.  = 1 + 1 + 1 + 1 + 1 +… n 1 n! 1! 2! 3! 4! 5! = 1+ 1 + 1 + 2 6 1 24 + 1 120 +…  1 พิจารณา  = 1 + 1 + 1 + 16 + 1 1 +… n 1 n! 4 9 36 จะเห็นได้ว่า n ! < 12 ทุกค่า n, n > 3 1 n  1 เนื่องจาก  2 เป็นอนุกรมลู่เข้า (เป็นอนุกรมพี ที่ p = 2) n 1 n  1 ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.4 จะได้ว่า  เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 n! = ln 2 + ln 3 + ln14 + ln 5 + … 1 1 1  2.  1 n 1 ln(n  1)  1 พิจารณา  = 1+ 1 + 1 + 1 +… n 1 n 2 3 4 จะเห็นได้ว่า ln1n > 1 ทุกค่า n, n > 1 n  1 เนื่องจาก  เป็นอนุกรมลู่ออก (เป็นอนุกรมพี ที่ p = 1) n 1 n  ดังนันจากทฤษฎีบท 5.4 จะได้ว่า ้  1 ln(n  1) เป็นอนุกรมลู่ออก n 1
  • 10. 65 5.3.3 การทดสอบโดยใช้การเปรียบเทียบลิมิต   ทฤษฎีบท 5.5 กาหนด an , an > 0 ทุกค่า n > N ถ้ามีอนุกรม  bn , b n > 0 ทุกค่า n > N และ n 1 n 1 an 1. lim = c, c > 0 จะได้ว่า n   bn   ถ้า  bn เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว an เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 n 1   ถ้า  bn เป็นอนุกรมลู่ออก แล้ว an เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 n 1 an 2. lim = 0 จะได้ว่า n   bn   ถ้า  bn เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว an เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 n 1 an 3. lim หาค่าไม่ได้ จะได้ว่า n   bn   ถ้า  bn เป็นอนุกรมลู่ออก แล้ว an เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 n 1 ตัวอย่าง 5.8 จงพิจารณาอนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก  1.  1 2 3 n 1 2n  2.  3n 2 n  1 5n  4  วิธีทา 1.  1 2 3 n 1 2n  1 จาก  2 เป็นอนุกรมลู่เข้า (อนุกรมพี ที่ p = 2) n 1 n 1 n2 พิจารณา = = 2 lim 2n  3 1 lim n  1 n   2n 2  3 2 n2  1 เนื่องจาก  2 เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 n  ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.5 จะได้ว่า  1 2 3 เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 2n
  • 11. 66  2.  3n 2 n  1 5n  4  1 จาก  เป็นอนุกรมลู่ออก (อนุกรมพี ที่ p = 1) n 1 n 3n 3n 2 พิจารณา = = 2 lim 5n  4 3 lim n  1 n   5n 2  4 5 n  1 เนื่องจาก  เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 n  ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.5 จะได้ว่า  3n 2 เป็นอนุกรมลู่ออก n  1 5n  4 5.3.4 การทดสอบโดยใช้แบบอัตราส่วน  a n 1 ทฤษฎีบท 5.6 กาหนด an เป็นอนุกรมที่ a n  0 และ lim =r n 1 n  a n  ถ้า r < 1 แล้ว an จะเป็นอนุกรมลู่เข้า n 1  ถ้า r > 1 หรือ r หาค่าไม่ได้ แล้ว an เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 ถ้า r = 1 แล้วยังสรุปไม่ได้ ตัวอย่าง 5.9 จงพิจารณาว่าอนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือออก  n2  3n 1.  n 2.  n 1 2 n 1 n!  ( 2n!) 3.  n 1 n!n!  n2 วิธีทา 1.  n n 1 2 (n  1)2 2n 1 a n 1 พิจารณา lim = lim n  a n n  n 2 2n (n  1)2 = lim = 1 n  2n 2 2  n2 ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.6 จะได้ว่า  n เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 2
  • 12. 67  n 2.  3n! n 1 3n 1 a n 1 (n  1)! พิจารณา lim = lim n  a n n  3n n! = lim 3 n 1 =0 n   3n ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.6 จะได้ว่า  เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 n!  ( 2n!) 3.  n 1 n!n! ( 2n  2)! a n 1 ( n  1)!( n  1)! พิจารณา lim = lim ( 2n )! n  a n n  n!n! ( 2n  2)( 2n  1) = lim =4 n   ( n  1)( n  1)  ( 2n!) ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.6 จะได้ว่า  เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 n!n! 5.3.5 การทดสอบโดยใช้รากที่ n  ทฤษฎีบท 5.7 กาหนด an เป็นอนุกรมโดยที่ a n  0 และ lim n a n =r n 1 n   ถ้า r < 1 แล้ว an เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1  ถ้า r > 1 หรือ r = หาค่าไม่ได้ แล้ว an เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 ถ้า r = 1 แล้วยังสรุปไม่ได้ ตัวอย่าง 5.10 จงพิจารณาว่า อนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือออก  4n 1.  n n 1 (ln n )  ( n!) n 2.  n n 1 n
  • 13. 68  4n วิธีทา 1.  n n 1 (ln n ) 4n พิจารณา lim n a = lim n = lim 4 =0 n  n n  (ln n )n n  ln n  4n ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.7 จะได้ว่า  n เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 (ln n )  ( n!) n 2.  n n 1 n n (n!)n พิจารณา lim n a = lim n  n n  nn = n! lim n  n = หาค่าไม่ได้  ( n!) n ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.7 จะได้ว่า  n เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 n 5.4 อนุกรมสลับ (Alternating Series) นิยาม 5.4 อนุกรมสลับ คืออนุกรมที่แต่ละเทอมในอนุกรม มีเครื่องหมายบวกและลบสลับกัน ตัวอย่างเช่น   ( 1) n1 = –1 + 1 – 1 + 1 – 1 + … + (–1)n n + … 1 n 1 n 2 3 4 5   (1) n 1 2n  1 = 1 –3 + 5 – 7 + 9  + … (–1)n + 1 2 nn 1 + … n 1 2n 2 4 8 16 32 2  ทฤษฎีบท 5.8 กาหนดอนุกรมสลับ n  ( 1) a n ถ้า an  0 และ an  an + 1 สาหรับทุกค่า n  N โดยที่ n 1  N เป็นจานวนบวก และ lim a = 0 แล้ว  ( 1) n a n เป็นอนุกรมลู่เข้า n  n n 1 ตัวอย่าง 5.11 จงพิจารณาว่า อนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือออก   n 1 2n  1 1.  ( 1) n1 n 2.  (1) 3n n 1 n 1 เป็นอนุกรมสลับที่มี an = 1  วิธีทา 1.  ( 1) n1 n n n 1 จะเห็นได้ว่า 1  0 ทุกค่า n n
  • 14. 69 และ 1 n  1 n  1 ทุกค่า n  1 และ lim 1 =0 n  n  ดังนั้น  ( 1) n1 n เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 เป็นอนุกรมสลับที่มี an = 2 n3 1  n 1 2n  1 2.  (1) 3n n n 1 จะเห็นได้ว่า 2 n  1  0 ทุกค่า n 3n = 1 – 5 + 7 – 12 + 15 + … + … (–1)n + 1 2 n  1 + …  n 1 2n  1 จาก  (1) 3n 9 11 3n n 1 6 9 เห็นได้ว่า an  an + 1 ทุกค่า n  1 2n  1 แต่ lim = 2 n   3n 3  n 1 2n  1 ดังนั้น  (1) 3n เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 5.4.1 การลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ หรืออย่างมีเงื่อนไข (Absolute or Conditional Convergence)   นิยาม 5.5 อนุกรม an จะถูกเรียกว่าเป็นอนุกรมที่ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ ถ้าอนุกรม | an | เป็น n 1 n 1 อนุกรมลู่เข้า   นิยาม 5.6 อนุกรม an จะถูกเรียกว่าเป็นอนุกรมที่ลู่เข้าอย่างมีเงื่อนไข ถ้าอนุกรม an เป็น n 1 n 1  อนุกรมลู่เข้า แต่อนุกรม | an | เป็นอนุกรมลู่ออก n 1 ตัวอย่าง 5.12 จงพิจารณาว่าอนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ หรืออย่างมีเงื่อนไข หรือ เป็นอนุกรมลู่ออก   n 1 2  n 1.  ( 1) n1 2.  (1)   n 1 n n 1 3  3. n  ( 1) 3 n 1
  • 15. 70 เป็นอนุกรมสลับโดยที่ an = 1  วิธีทา 1.  ( 1) n1 n n n 1 เนื่องจาก 1 > 0 และ 1 n n  1 ทุกค่า n ที่ n เป็นจานวนเต็มบวก n 1  และ lim 1 = 0 ดังนั้น  ( 1) n1 เป็นอนุกรมลู่เข้า n  n n 1 n   1 พิจารณา  | ( 1) n1| n =  ซึ่งเป็นอนุกรมลู่ออก (เป็นอนุกรมพี ที่ P = 1) n 1 n 1 n  ดังนั้น  ( 1) n1 n เป็นอนุกรมลู่เข้าอย่างมีเงื่อนไข n 1  n n 2.  (1) n 1 2    เป็นอนุกรมสลับโดยที่ an =  3  2   n 1 3   n n n 1 2 2 เนื่องจาก   > 0 และ  3  2     ทุกค่า n ที่ n เป็นจานวนเต็มบวก 3   3 n  n 2 n 1 2  และ lim   = 0 ดังนั้น  (1)   เป็นอนุกรมลู่เข้า n   3  n 1 3  n n 1 2  |   2 n พิจารณา  | (1)   =    ซึ่งเป็นอนุกรมลู่เข้า เพราะ n 1 3 n 1 3  เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มี r = 2 3  n 1 2  n ดังนั้น  (1)   เป็นอนุกรมลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ n 1 3  3. n  ( 1) 3 เป็นอนุกรมสลับโดยที่ an = 3 n 1 จะเห็นได้ว่า an = 3 > 0 และ an  an + 1 ทุกค่า n เป็นจานวนนับ  แต่ lim 3  3  0 ดังนั้น n  ( 1) 3 เป็นอนุกรมลู่ออก n  n 1   ทฤษฎีบท 5.9 ถ้า | an | เป็นอนุกรมลู่เข้าแล้ว an เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 n 1  ตัวอย่างเช่น  ( 1) n 1 n 1 n3   1 เมื่อพิจารณา  | ( 1) n 1 | =  ซึ่งเป็นอนุกรมลู่เข้า (เพราะเป็นอนุกรมพี โดยที่ p = 3) n 1 n3 n 1 n 3  ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.9 จะได้ว่า  ( 1) n 1 เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1 n3
  • 16. 71 5.5 อนุกรมกาลัง (Power Series) นิยาม 5.7 อนุกรมกาลังที่มีจุดศูนย์กลางที่ x = 0 เป็นอนุกรมที่เขียนได้ในรูปของ   cn x n = c0 + c1x + c2x2 + … + cnxn + … n 0 นิยาม 5.8 อนุกรมกาลังที่มีจุดศูนย์กลางที่ x = a เป็นอนุกรมที่เขียนได้ในรูปของ   cn ( x  a ) n = c0 + c1(x – a) + c2(x – a)2 + … + cn(x – a)n + … n 0 เป็นอนุกรมกาลังที่มีจุดศูนย์กลางที่ x = 0 โดยที่ Cn = 1 !  xn ตัวอย่างเช่น  n n 0 n!  ( x  3)n  2 เป็นอนุกรมกาลังที่มีจุดศูนย์กลางที่ x = 3 โดยที่ Cn = 1 n  0 (n  1) ( n  1) 2 5.5.1 รัศมีการลู่เข้าและช่วงการลู่เข้า (Radius and Interval of Convergence)  สาหรับอนุกรมกาลัง  cn ( x  a ) n จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า ถ้า x = a อนุกรมดังกล่าวจะเป็น n 0 อนุกรมลู่เข้า อย่างไรก็ตามเราอาจสนใจค่าจานวนจริง x ที่มีค่าอื่นๆอีก ที่ทาให้อนุกรมกาลังดังกล่าว เป็นอนุกรมลู่เข้า   นิยาม 5.9 สาหรับอนุกรมกาลัง  cn ( x  a ) n ถ้า R เป็นจานวนเต็มบวกที่ทาให้  cn ( x  a ) n เป็น n 0 n 0 อนุกรมลู่เข้าเมื่อ |x – a| < R และเป็นอนุกรมลู่ออกเมื่อ |x – a| > R แล้วจะเรียก R ว่าเป็นรัศมีการลู่เข้า  หมายเหตุ 1. สาหรับอนุกรมกาลัง  cn ( x  a ) n ที่มีรัศมีการลู่เข้าเท่ากับ R นั้น อนุกรมดังกล่าวอาจจะ n 0 เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออกก็ได้ที่จุด x = a – R และจุด x = a + R 2. สาหรับอนุกรมกาลังที่ลู่เข้าทุกค่าจานวนจริง x นั้น สามารถกล่าวได้ว่ารัศมีการลู่เข้ามีค่า ไม่จากัดหรือ R =  3. สาหรับอนุกรมกาลังที่ลู่เข้าที่ทุกค่าจานวนจริง x = a เพียงค่าเดียวนั้น สามารถกล่าวได้ว่า รัศมีการลู่เข้ามีค่าเท่ากับศูนย์หรือ R = 0  นิยาม 5.10 สาหรับอนุกรมกาลัง  cn ( x  a ) n เซตของจานวนจริง x ที่ทาให้อนุกรมดังกล่าวเป็น n 0 อนุกรมลู่เข้า เรียกว่าเป็นช่วงการลู่เข้า
  • 17. 72 นั่นคือสาหรับอนุกรมกาลังที่มีรัศมีการลู่เข้าเท่ากับ R จะได้ว่าช่วงการลู่เข้าอาจเป็นช่วง 1. (a – R, a + R) หรือ 2. [a – R, a + R) หรือ 3. (a – R, a + R] หรือ 4. [a – R, a + R] อย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งนี้ขึ้นกับว่า อนุกรมลู่เข้าที่จุด x = a – R, หรือ a + R หรือไม่ ตัวอย่าง 5.13 จงหารัศมีการลู่เข้าและช่วงการลู่เข้าของอนุกรมกาลังต่อไปนี้  n ( x  3) n  xn 1.  (1) 3n 2.  n 1 n 0 n!   n ( x  1) n 3. n  (1) n!( x  2) n 4.  (1) n 0 n 0 4n  n ( x  3) n วิธีทา 1.  (1) 3n n 1 (1)n 1( x  3)n 1 a พิจารณา = 3 n 1 lim n 1 lim n  a n n  (1)n ( x  3)n 3n = lim ( x  3)3 n n 1 n  = |x–3|  n ( x  3) n จากทฤษฎีการทดสอบอนุกรมโดยใช้อัตราส่วนจะได้  (1) 3n เป็นอนุกรมลู่เข้า ถ้า | n 0 x – 3 | < 1 นั่นคือ รัศมีการลู่เข้าเท่ากับ 1 จาก | x – 3 | < 1 จะได้ว่า –1 < x – 3 < 1 หรือ 2 < x < 4 พิจารณาอนุกรมกาลังที่ x = 2 จะได้  n ( x  3) n  n (2  3) n  (1) 3n =  (1) 3n n 0 n 0  ( 1) 2 n =  3n n 0  1 =  3 ซึ่งเป็นอนุกรมลู่ออก (เป็นอนุกรมพี โดยที่ p = 1 ) n 0 n 3
  • 18. 73 พิจารณาอนุกรมกาลังที่ x = 4 จะได้  n ( x  3) n  n (4  3) n  (1) 3n =  (1) 3n n 1 n 0  ( 1) n =  3 n 0 n เป็นอนุกรมสลับที่มี an = 3 1  ( 1) n  3 n 1 n n เนื่องจาก 3 1 > 0 และ 3 1 1 n n  3 n  1 ทุกค่า n ที่เป็นจานวนนับ  ( 1) n และ lim 1 = 0 ดังนั้น  3 เป็นอนุกรมลู่เข้า n  3 n n 1 n  n ( x  3) n ดังนั้นช่วงของการลู่เข้าของอนุกรม  (1) 3n คือ (2, 4] n 1  xn 2.  n 0 n ! x n 1 (n  1)! พิจารณา lim a n 1 = lim = 0 ทุกค่า x ที่เป็นจานวนจริง n  a n n  xn n!  xn ดังนั้นจากทฤษฎีบทการทดสอบอนุกรมโดยใช้อัตราส่วน จะได้วา ่  เป็นอนุกรมลู่ n 0 n ! เข้า สาหรับทุกค่า x ที่เป็นจานวนจริง นั่นคือ รัศมีการลู่เข้าเท่ากับ  และช่วงของการลู่เข้า คือ (– , )  3. n  ( 1) n !( x  2) n n 0 a (1)n 1(n  1)!( x  2)n 1) พิจารณา lim n 1 = lim n  a n n  (1)n n!( x  2)n = lim (n  1) x  2 n  0 เมื่อ x  2  =   เมื่อ x  2   ดังนั้นจากทฤษฎีบทการทดสอบอนุกรมโดยใช้อัตราส่วน จะได้ว่า n  (1) n!( x  2) n เป็น n 0 อนุกรมลู่เข้าเมื่อ x = 0 ดังนั้น รัศมีการลู่เข้าเท่ากับ 0 และช่วงของการลู่เข้า = {0}
  • 19. 74  n ( x  1) n 4.  (1) n 0 4n ( x  1)n พิจารณา lim n | a n | = lim n | (1)n | n n  4n = lim x 1 = | x 1 | 4 n  4  n ( x  1) n จากทฤษฎีบทการทดสอบอนุกรมโดยใช้รากที่ n จะได้ว่า  (1) จะเป็น n 0 4n อนุกรมลู่เข้า ถ้า | x  1 | < 1 นั่นคือ | x – 1| < 4 4 ดังนั้น รัศมีการลู่เข้า = 4 จาก | x – 1| < 4 จะได้ว่า – 4 < x – 1 < 4 หรือ – 3 < x < 5 พิจารณาที่ x = – 3  n ( x  1) n  n (3  1) n  (1) =  ( 1) n 0 4n n 0 4n  n ( 4 ) n =  ( 1) n 0 4n  =  ( 1) 2n n 0  = 1 n0   1 เป็นอนุกรมลู่ออก เพราะ nlim a n = nlim 1  1  0   n 0 พิจารณาที่ x = 5  n ( x  1) n  n (5  1) n  (1) =  (1) n 0 4n n 0 4n  4n =  ( 1) n n 0 4n  =  ( 1) n n 0   ( 1) n เป็นอนุกรมลู่ออก เพราะ lim (1)n = หาค่าไม่ได้ n 0 n   n ( x  1) n ดังนั้น  (1) มีรัศมีการลู่เข้า = 4 และช่วงการลู่เข้า = (– 3, 5) n 0 4n
  • 20. 75 5.5.2 อนุกรมเทย์เลอร์ (Taylor Series) และอนุกรมแมคลอริน (Maclaurin Series) นิยาม 5.11 กาหนด f เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ได้ทุกอันดับ สาหรับทุกช่วงที่รวมจุด a จะ  f ( n ) (a ) f '' (a ) f (n ) (a ) กล่าวว่า  n! ( x  a )n = f (a) + f (a) (x – a) + ( x  a )2 + …+ ( x  a )n + … n 0 2! n!  f ( n ) (a ) เป็นอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชัน f ที่จุด a และ f (x) =  n! ( x  a )n n 0 นิยาม 5.12 อนุกรมแมคลอริน ของฟังก์ชัน f คืออนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชัน f ที่จุด 0 นั่นคืออนุกรม แมคลอรินของ f คือ  f ( n ) (0) n f '' (0) f (n ) (0) n  n! x = f (0) + f /(0) x + 2! +…+ n! x +… n 0  f ( n ) ( 0) n และ f (x) =  n! x n 0 ตัวอย่าง 5.14 จงหาอนุกรมเทย์เลอร์ของ f (x) = 1 ที่จุด 3 x วิธีทา f (x) = 1 , x f (3) = 1 3 1 f (x) = – 2 , f (3) = – 1 x 32 f (x) = 23 , f (3) = 2 x 33 f (x) = – 64 , f (3) = – 6 x 34 … f n(x) = (1)n n! n 1 , f n (3) = (1)n n! x 3n 1 เพราะฉะนั้นอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชัน 1 ที่จุด 3 คือ x  f ( n ) (a )  (1) n n!  ( x  3)n =  n 1 ( x  3) n n  0 n! n  0 n!3  n ( x  3) n =  (1) n 0 3n 1 นั่นคือ 1 = 1 – x 3 (x  3) + ( x  3) 2 – ... + ( 1) n ( x  3) n 32 33 3n 1
  • 21. 76 ตัวอย่าง 5.15 จงหาอนุกรมแมคลอริน ของฟังก์ชันต่อไปนี้ 1. f (x) = sin x 2. f (x) = ex วิธีทา 1. f (x) = sin x, f (0) = 0 f (x) = cos x, f(0) = 1 f (x) = – sin x, f (0) = 0 f (x) = –cos x, f (0) = –1 … และจะได้ว่า f (2n)(x) = (–1) nsin x, f (2n)(0) = 0 f (2n + 1)(x) = (–1) ncos x, f (2n + 1)(0) = (–1) n ดังนั้นอนุกรมแมคลอรินของ sin x คือ  f ( n ) ( 0) x3 x5 )n 2n 1  n! x n = x – 3! + 5 ! – … + ((12n x 1)! + …  n 0 x3 x5 )n 2n 1 หรือ sin x = x – 3 ! + 5 ! – … – ((12n x 1)! – …  2. f (x) = e x f (x) = e x, f (0) = 1 f (x) = e x, f (0) = 1 f (x) = e x, f (0) = 1 … n n f ( )(x) = e x, f ( )(0) = 1 ดังนั้นอนุกรมแมคลอรินของ e x คือ  f ( n ) ( 0) n  1 n  x =  x n  0 n! n  0 n! 3 x2 xn = 1+x+ 2! + x3! +… + n! +… นั่นคือ e x = 1 + x + 3 x2 xn + x3! + … + +… 2! n!
  • 22. 77 แบบฝึกหัด 1. จงพิจารณาว่า ลาดับ {an} ต่อไปนี้เป็นลาดับลู่เข้าหรือลู่ออก  (1) n  1.1     1.2 {4}   n    2n 2  5  1.3  4n  3    1.4      3n    7n    n2   n3  1.5   3   1.6    n  4n  7    3     4n  1.7    n 1.8  2   n  n  n 5      2. จงหาผลบวก n เทอมของอนุกรมต่อไปนี้ แล้วพิจารณาว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก 2.1 ln 2 + ln 3 + ln 5 + … + ln (n  1) + … 3 4 4 n 2 2.2 1 35 + 1 57 + 1 79 +…+ 1 (2n  1)(2n  3) +…  3. จงพิจารณาว่าอนุกรม an ต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือออก n 1  3n  2  4n  3 3.1  3.2  2 n 1 5n n 1 5n  4  5n 2  7  n 2  4n  1 3.3  3.4  4n  1 n  1 4n  1 n 1  3n  4n 3.5  3.6  n 1 ( n  1)! n n 1 2  n  ln n 3.7  3.8  n n 1 ln n n 1 2 4. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ว่าถูกหรือผิด ถ้าถูกให้พิสูจน์หรือให้เหตุผลประกอบ ถ้าผิดให้ยกตัวอย่างขัดแย้ง  4.1 ถ้าลาดับ {an} เป็นลาดับลู่เข้า แล้วอนุกรม an เป็นอนุกรมลู่เข้า n 1  4.2 ถ้าลาดับ {an} เป็นลาดับลู่ออก แล้วอนุกรม an เป็นอนุกรมลู่ออก n 1