SlideShare a Scribd company logo
1 of 74
ปริมาณสารสัมพันธ์   Stoichiometry
Stoichiometry  มาจากคำผสมกรีกสองคำ   Stoichion  แปลว่าธาตุ   และ   metron  แปลว่าการวัด   ใช้ระบุความสัมพันธ์เชิงปริมาณของ องค์ประกอบของสารและปฏิกิริยาเคมี ที่เกี่ยวข้อง
ความสำคัญและประโยชน์
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2)  สามารถนำไปตีความ หรืออธิบายผลจากเคมีวิเคราะห์
3)  สามารถนำไปใช้ประกอบการเลือก ปฏิกิริยาที่ประหยัดที่สุดในทาง อุตสาหกรรมและทางการค้า
4)  สามารถบอกได้ว่าตัวทำ  ปฏิกิริยาใดทำปฏิกิริยาจนหมด หรือตัวทำปฏิกิริยาใดจะเหลือ   เป็นต้น
1.1  อะตอม   โมเลกุล   ไอออน   และสูตรเคมี
อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุ ที่สามารถทำปฏิกิริยาเคมีได้ เช่น  H, C, Al   อะตอม   (atom)
หน่วยโครงสร้างที่เล็กที่สุดของธาตุ หรือสารประกอบที่สามารถอยู่ได้โดย อิสระและยังคงมีสมบัติของธาตุหรือ สารประกอบนั้น   ๆ   โดยสมบูรณ์   โมเลกุล   (molecule )
เช่น   แก๊สมีตระกูลหรือแก๊สเฉื่อย   (noble  or  inert  gas)  ได้แก่   He, Ne,  Kr, Xe  และ   Rn   โมเลกุลอะตอมเดี่ยว   (monoatomic  molecule)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],โมเลกุลอะตอมคู่   (diatomic molecule)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],โมเลกุลที่มีมากกว่าสองอะตอมขึ้นไป   (polyatomic  molecule)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ไอออน   (ion)
กลุ่มสัญลักษณ์ของธาตุหรือสารประกอบ   เช่น   H 2 O 2   เป็นสูตรเคมีของสารประกอบ   ซึ่ง   1  โมเลกุลประกอบด้วย   H  และ   O  อย่างละ   2  อะตอม   สูตรเคมี   (chemical  formula)
[object Object],[object Object],[object Object],สูตรเคมีจำแนกออกเป็น   3  ประเภท
สูตรที่บอกถึงอัตราส่วนของอะตอม ของธาตุต่าง   ๆ   ในสูตร เช่น   NaCl,  H 2 O   และ   Na 2 CO 3 สูตรอย่างง่ายหาได้จากการทดลอง สูตรอย่างง่าย
บอกถึงจำนวนอะตอมที่แท้จริงใน โมเลกุลนั้น   เช่น   H 2 O  เป็นสูตรโมเลกุล เพราะน้ำ   1  โมเลกุล   ประกอบด้วย   H  2  อะตอม   และ   O  1  อะตอม   สูตรโมเลกุล
สูตรซึ่งบอกรายละเอียดว่า อะตอมต่าง   ๆ   ในโมเลกุลจับกันอย่างไร   หรือเกิดพันธะอย่างไร   เช่น  CH 4 H H  C  H H  สูตรโครงสร้าง
2.2  น้ำหนักอะตอม   น้ำหนักโมเลกุล   และน้ำหนักสูตร
เนื่องจากอะตอมมีขนาดเล็กมาก อะตอมเบาที่สุดมีมวลประมาณ   1.6 X 10 -24   กรัม ทำให้ไม่สามารถชั่งมวลของอะตอมโดยตรงได้   จึงไม่นิยมใช้มวลที่แท้จริง   (absolute  mass)  แต่นิยมใช้มวลเปรียบเทียบ   (relative  mass)  เรียกว่า   น้ำหนักอะตอม
เป็นมวลเฉลี่ยของบรรดาไอโซโทป ที่มีปรากฏในธรรมชาติของธาตุนั้น เปรียบเทียบกับมวลของธาตุมาตรฐาน   น้ำหนักอะตอมของธาตุ
ค . ศ . 1961  ใช้   12 C  ซึ่งเป็นไอโซโทปหนึ่ง ของธาตุคาร์บอนเป็นมาตรฐานและ ได้กำหนด   atomic  mass  unit (amu)  ขึ้น   ( ต่อมาได้เรียกหน่วย   amu  เป็น   Dalton, D)  โดยมีนิยามว่าเป็น   ของมวลรวม   12 C  ดังนั้น   มวลของอะตอม   C  =  12.00 D
และใช้ค่าของ   D  ( 1 amu )  เป็นมาตรฐานในการกำหนด ค่าน้ำหนักอะตอมของธาตุ ค่า   1 D ( 1  amu )  =  1.66053 x 10 -24   กรัม
ในธรรมชาติ   ธาตุเกือบทั้งหมดมีไอโซโทป   เช่น   ธาตุไฮโดรเจนมีสองไอโซโทป คือ   1 H  และ   2 H  ดังนั้น   น้ำหนักอะตอมของธาตุที่ใช้จึงเป็น น้ำหนักอะตอมเฉลี่ยของไอโซโทปของธาตุนั้น   ๆ   โดยเฉลี่ยตามอัตราส่วนของปริมาณของ ไอโซโทปที่มีปรากฏจริง   ๆ   ในธรรมชาติ
น้ำหนักซึ่งได้มาจากผลบวกของ น้ำหนักอะตอมของแต่ละธาตุใน โมเลกุลหรือหน่วยสูตรนั้น น้ำหนักโมเลกุลหรือน้ำหนักสูตร
วิธีทำ   น้ำหนักโมเลกุล   คือ ผลบวกของน้ำหนัก อะตอมของแต่ละธาตุในโมเลกุลนั้น 6 x  น้ำหนักอะตอมของ   C  =  6 x 12.01 D  =  72.06 D 12 x  น้ำหนักอะตอมของ   H  = 12 x 1.00 D  = 12.00D 6 x  น้ำหนักอะตอมของ   O  =  6 x 16.00 D  =  96.00 D   รวม   =  180.06 D ดังนั้น   น้ำหนักโมเลกุลของกลูโคส   =  180.06 D Ex   จงคำนวณน้ำหนักโมเลกุลของน้ำตาล กลูโคสซึ่งมีสูตรโมเลกุล   C 6 H 12 O 6
2.3  การคำนวณหา สูตรเอมพิริกัล และสูตรโมเลกุล
ต้องทราบว่าสารประกอบนั้นประกอบ ด้วยธาตุอะไรบ้าง  อัตราส่วนโดยน้ำหนัก ของธาตุทั้งหมดที่มีอยู่เป็นอย่างไรและ น้ำหนักอะตอมของแต่ละธาตุด้วย   การคำนวณหาสูตรเอมพิริกัล
เมื่อได้สูตรเอมพิริกัลแล้วจะคำนวณ หาสูตรโมเลกุลได้   เมื่อทราบน้ำหนัก โมเลกุลของสารประกอบนั้น   ๆ   สูตรโมเลกุล   =  ( สูตรเอมพิริกัล ) n   โดย  n  =  1, 2, 3,…
Ex   จากการวิเคราะห์สารประกอบชนิดหนึ่ง   พบว่าประกอบด้วยกำมะถันและออกซิเจน มีร้อยละโดยน้ำหนักของกำมะถันเป็น 50.05  และออกซิเจน   49.95  ถ้าน้ำหนัก โมเลกุลของสารประกอบนี้เท่ากับ   64 จงคำนวณหาสูตรเอมพิริกัลและสูตรโมเลกุล   ( S  = 32,  O  =  16 )
วิธีทำ   อัตราส่วนโดยน้ำหนักของ S : O  = 50.05 : 49.95 อัตราส่วนโดยจำนวนของอะตอม S : O = =   1.56  :  3.12 ทำให้เป็นอัตราส่วนที่เป็นเลขน้อย   ๆ   โดยการหารตลอดด้วย   1.56 =  S : O   =   1  :  2
สูตรเอมพิริกัล   คือ   SO 2 สูตรโมเลกุล   เป็น   (SO 2 )  n (SO 2 )  n   = 64   (32 + 16 x 2)  n = 64 n = 1 ดังนั้นสูตรโมเลกุล   คือ   SO 2
2.4   โมล   นิยมใช้หน่วยโมลเพื่อบอกปริมาณของสาร   โดยหนึ่งโมลมีค่าเท่ากับ   6.02 x 10 23   อนุภาค   ซึ่งเท่ากับจำนวนอะตอมของ   12 C  หนัก   12.0000  กรัม   เลขจำนวนนี้เรียกว่าเลข   อโวกาโดร   (Avogadro’s  number)
และหนึ่งโมลอะตอมของธาตุใด   ๆ   จะมีน้ำหนักเท่ากับน้ำหนักอะตอม ของธาตุนั้น   ๆ   ในหน่วยเป็นกรัม   เช่น   น้ำ   (H 2 O)  1  โมล   จะหนัก   18.0  กรัม   และจะมีจำนวนโมเลกุลเท่ากับ   6.02 x 10 23
จำนวนโมล  =   น้ำหนักของสาร   ( กรัม ) น้ำหนักอะตอมหรือน้ำหนักโมเลกุล
Ex   ถ้ามีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์   (CO 2 )  หนัก   9.24  g  จงคำนวณหา ก .     จำนวนโมล   CO 2 ข .     จำนวนโมเลกุล   CO 2 ค .     จำนวนโมลของแต่ละธาตุใน คาร์บอนไดออกไซด์จำนวนนี้ ง .     จำนวนอะตอมของแต่ละธาตุ ( C  =  12.0  O  =  16.0 )
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ข .   CO 2  1   mol  มี   6.02 x 10 23  โมเลกุล CO 2  0.210 mol  มี   0.21 0  x 6.02 x 10 23   โมเลกุล =  1.26 x 10 23   โมเลกุล
ค .        ใน   1  โมเลกุลของ   CO 2  มี   C 1  อะตอม   และ   O  2  อะตอม ดังนั้น   CO 2   1  mol  จึงประกอบด้วย   C  1  mol  และ   O  2  mol CO 2   0.210  mol  จึงประกอบด้วย   C  0.210 x  1   =  0.2 1 0  mol  และ   O  0.210 x 2  =  0.420  mol
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2.5   สมการเคมี   สมการเคมีเป็นสิ่งที่เขียนแทนปฏิกิริยาเคมี บอกให้ทราบชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยากัน   (reactants)  และชนิดของสารที่เป็นผลผลิต ของปฏิกิริยา   (products)  โดยเขียนสารที่เข้าทำ ปฏิกิริยากันไว้ทางซ้ายมือและสารที่เป็นผลิตผล ไว้ทางขวามือของลูกศรที่มีทิศทางชี้ไปทาง สารที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา
[object Object],[object Object],สมการเคมีเขียนได้   2  แบบ   คือ    CH 4 (g)  +2O 2 (g)   CO 2 (g)  + 2H 2 O (g)
ข .  สมการไอออนิก   นิยมใช้สำหรับปฏิกิริยาที่มีสารประกอบ ไอออนิกเข้ามาเกี่ยวข้อง  จะเขียนเฉพาะ ไอออนและโมเลกุลที่จำเป็นและเกิด ปฏิกิริยาเท่านั้น
เช่น   สมการแบบโมเลกุล NaCrO 2  + NaClO +NaOH  Na 2 CrO 4  + NaCl + H 2 O   เนื่องจากเป็นสารประกอบไอออนิก เมื่ออยู่ในน้ำ จะแตกตัวให้ไอออน
Na +   ปรากฏอยู่ทั้งซ้ายมือและขวามือของสมการ   แสดงว่าไม่ได้เข้าร่วมในการทำปฏิกิริยา ดังนั้น   สมการไอออนิกที่เขียนจึงไม่จำเป็นต้อง เขียน   Na +   ไว้ด้วย ดังนี้
2.6   การคำนวณที่เกี่ยวข้องกับสมการเคมี   สมการเคมีบอกถึงสารที่เกี่ยวข้องใน ปฏิกิริยาเคมี   ความสัมพันธ์เชิงปริมาณ ของสารต่าง   ๆ   ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยา และสามารถคำนวณปริมาณของผลิตผล ที่ได้จากปฏิกิริยาเคมี
CaC 2 (s)  +  2H 2 O (l)   Ca(OH) 2 (aq)  +  C 2 H 2 (g)  ……. 1 1 2   1   1 โมเลกุล 1 2   1   1 โมล 6.02 x 10 23   2(6.02 x 10 23 )   6.02 x 10 23 6.02 x 10 23 โมเลกุล 64.1   2(18.0)   74.1 26.0 กรัม 22.4    ลิตร (dm 3 )  ที่   STP  
Ex  จากสมการ   (1)  ถ้าใช้   CaC 2   2.5  mol  ทำปฏิกิริยากับน้ำที่มีปริมาณมากเกินพอ ก .       ได้   C 2 H 2 (g)  เกิดขึ้นกี่โมล ข .       ได้   C 2 H 2 (g)  เกิดขึ้นกี่กรัม ค .       ได้   C 2 H 2 (g)  เกิดขึ้นกี่ลิตร   ที่   STP ง .        น้ำทำปฏิกิริยาไปกี่โมลและกี่กรัม (Ca  =  40.1 ,  C  =  12.0,  H  =  1.0)
วิธีทำ ก .       จากสมการ   1  จะเห็นว่า   CaC 2   1  mol  ให้   C 2 H 2   1  mol  CaC 2  2.5 mol  ให้   C 2 H 2   2.5 mol  ด้วย
ข .   น้ำหนักโมเลกุลของ   C 2 H 2  =  26.0  หมายความว่า  C 2 H 2   1  mol  หนัก   26.0  g    C 2 H 2   2.5  mol  หนัก = (   2.5  mol) (26.0 g) (1 mol)   = 65.0  g
ค .  C 2 H 2 (g)  1  mol  มีปริมาตร   22.4  l  ที่   STP    C 2 H 2 (g)  2.5  mol  มีปริมาตร =  (2.5 mol) (22.4 l)  ที่   STP (1 mol) = 56.0  l  ที่   STP
ง .   จากสมการ CaC 2  1 mol  ทำปฏิกิริยาพอดีกับ   H 2 O 2  mol   CaC 2  2.5 mol  ทำปฏิกิริยากับ   H 2 O (2 x 2.5) mol   = 5.0  mol   H 2 O  1  mol  มีน้ำหนัก   = 18.0  g    H 2 O  5.0  mol  มีน้ำหนัก   = (18.0) (5.0)   = 90  g
2.7  สารกำหนดปริมาณ   เนื่องจากสารเข้าทำปฏิกิริยาเคมีกันใน อัตราส่วนโมลต่อโมลที่แน่นอน   สารที่มี ปริมาณน้อยกว่าจึงเป็นตัวกำหนดว่าปฏิกิริยา สามารถเกิดผลผลิตได้อย่างมากที่สุดเท่าใด   เราเรียกสารที่มีปริมาณน้อยนี้ว่า   สารกำหนดปริมาณ   (Limiting  reactant)
Ex   จงคำนวณว่าจะเตรียมลิเทียมออกไซด์ ได้กี่โมล   จากลิเทียม   1.0  g  และออกซิเจน   1.5  g  สารใดเป็นสารกำหนดปริมาณ   สารใดเหลือและเหลือกี่กรัม   4Li + O 2 2Li 2 O (Li  =  6.9,  O  =  16)
วิธีทำ ลิเทียม   1.0  g  =   1.0 g 6.9g / mol   = 0.144  mol ออกซิเจน   1.5  g =   1.5 g 32 g / mol = 0.0469  mol
พิจารณาจากสมการจะเห็นว่าลิเทียม   4 mol  ทำปฏิกิริยาพอดีกับออกซิเจน   1  mol ดังนั้น   ลิเทียม   0.144  mol  ทำปฏิกิริยาพอดี กับออกซิเจน   =  0.144  mol 4   =  0.036  mol
แต่มีออกซิเจนอยู่ถึง   0.0469 mol ดังนั้น   ออกซิเจนจะมีอยู่มากเกินพอ   และจะมีออกซิเจนที่เหลือจากปฏิกิริยา 0.0469 – 0.036  =  0.0109  mol  ส่วนลิเทียมเป็นสารกำหนดปริมาณ
2.8   ผลผลิตตามทฤษฎีและผลผลิตร้อยละ   ผลผลิตร้อยละ =  ผลผลิตจริง  x  100 ผลผลิตตามทฤษฎี
ผลผลิตตามทฤษฎี   (theoretical  yield)  ปริมาณของผลผลิตที่อาจเกิดขึ้นได้มากที่สุด   ซึ่งคำนวณได้จากสมการเคมีที่ดุล ผลผลิตแท้จริง (actual  yield) ปริมาณของผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง   ซึ่งวัดหรือชั่งได้จากการทดลอง จะน้อยกว่าผลผลิตตามทฤษฎีเกือบเสมอไป   ( น้อยครั้งมากที่จะเท่ากัน   แต่มีมากกว่าไม่ได้ )
Ex   เมื่อนำ   C 2 H 4   1.93  กรัม   มาเผาไหม้กับออกซิเจนที่มากเกินพอ   พบ   CO 2   เกิดขึ้นเพียง   3.44  กรัม   เท่านั้น   จงคำนวณผลผลิตร้อยละของ   CO 2   นี้ (  C  =  12.0 ,  H  =  1.0 ,  O  =  16.0 )
วิธีทำ   สมการที่ดุลของปฏิกิริยานี้คือ C 2 H 4  + 3O 2 2CO 2  + 2H 2 O 1  mol   2  mol 28.0  g 88.0  g C 2 H 4  28.0  g  เกิด   CO 2   88.0  g    C 2 H 4  1.93  g  เกิด   CO 2  X  g X = (88.0 g) (1.93g) (28.0g)    CO 2 = 6.07  g
CO 2   6.07  g  นี้   คือ   ผลผลิตตามทฤษฎี   แต่การทดลองพบ   CO 2   เกิดเพียง   3.48  g คือ   ผลผลิตแท้จริง    ผลผลิตร้อยละของ   CO 2   = 3.48 x  100 6.07 = 57.33  %
แบบฝึกหัดท้ายบท
วิธีทำ  ใช้สูตร   โมล   =  น้ำหนักเป็นกรัม น้ำหนักอะตอม   Sn  17.5  g  =  17.5  g  118.7 g/mol  =  0.147  mol  จงคำนวณจำนวนโมลของ  Sn  17.5 g
วิธีทำ CH 3 OH  0.20 mol  =  (0.20 mol) (32 g/mol) =  6.40  g   จงคำนวณมวลเป็นกรัมของเมทิลแอลกอฮอล์   (CH 3 OH)  0.20  mol
วิธีทำ   C 6 H 6  6.0 g  =  (6.0  g) (6.02 x 10 23  molecule/mol)  (78 g/mol)  =  4.62 x 10 22   molecule  เบนซีน   (C 6 H 6 )  6.0 g  มีจำนวนโมเลกุลเท่าใด
วิธีทำ  มี   N 30.4 %     มี   0  =  100   -   30.4  =  69.6 %  อัตราส่วนโดยน้ำหนัก   N : O  =  30.4  : 69.6  อัตราส่วนโดยโมลของ   N : O  =  30.4  : 69.6  14  16  =  2.17 : 4.35  =  1 : 2     สูตรเอมพิริกัลหรือสูตรอย่างง่ายของสารนี้คือ   NO 2   ออกไซด์หนึ่งมีไนโตรเจน   30.4 %  เป็นองค์ประกอบ   จงหาสูตรเอมพิริกัลของสารนี้
วิธีทำ   N 2 O 5  25.0  g  =  25.0 g  =  0.231  mol  108 g/mol  N 2 O 5  1  mol  มี   N  อยู่   2 mol  N 2 O 5  0.231 mol  มี   N  อยู่   =  (2 mol)(0.231 mol)  (1 mol)  =  0.462 mol  =  (0.462 mol) (14.0 g/mol)  =  6.47 g  ไดไนโตรเจนเพนตะออกไซด์   (N 2 O 5 )  25.0 g  มี ไนโตรเจนอะตอมกี่โมลและกี่กรัม
เอทิลีนโบรไมด์   (C 2 H 4 Br 2 )  ทำปฏิกิริยาเผาไหม้กับตะกั่ว (Pb)  ดังสมการ ถ้าใช้   C 2 H 4 Br 2  0.80 mol  ทำปฏิกิริยากับ Pb  145.0 g  และมีออกซิเจนอย่างเหลือเฟือ   C 2 H 4 Br 2  +  Pb  +  O 2   -------->  PbBr 4  +  CO 2  +  H 2 O  ก .  สารใดเป็นสารกำหนดปริมาณ   ข .  มีสารใดเหลือและเหลือกี่กรัม   ค .  O 2  ถูกใช้ไปกี่โมล   ง .  มี   CO 2   เกิดขึ้นกี่ลิตร   STP  จ .  ถ้า   PbBr 4   ที่รวบรวมได้จากการทดลองมีเพียง   190.0  g  จงหาผลผลิตร้อยละของสารนี้
ได้สมการที่ดุลแล้วดังนี้   2C 2 H 4 Br 2  +   Pb   +   6O 2   ----->  PbBr 4  +  4CO 2  +  4H 2 O  ก .  Pb  145.0  g  =  145.0 g  207.2 g/mol  =  0.700 mol  จากสมการที่ดุล   C 2 H 4 Br 2   ทำปฏิกิริยากับ   Pb ในอัตราส่วน   mol:mol = 2:1  จะเห็นได้ว่า   C 2 H 4 Br 2   เป็นสารกำหนดปริมาณ
ข .  C 2 H 4 Br 2  2  mol   ทำปฏิกิริยากับ  Pb  207.2 g  C 2 H 4 Br 2  0.80 mol  ทำปฏิกิริยากับ   Pb (207.2 g)(0.80 mol)  2 mol  =   82.88 g     Pb  เหลือ  =  145.0 - 82.88  =  62.1 g
ค .  O 2   ใช้ไป   =  (0.80 mol) (6)  2  =  2.4  mol  ง .  CO 2   เกิดขึ้น   =  (0.80 mol) (4)  2  =  1.60  mol  =  (1.60 mol)(22.4  l/mol  ที่   STP)  =  35.84  l  ที่   STP
จ .   จากสมการที่ดุลได้   PbBr 4 = (0.80 mol) ( 1 )  = 0.40 mol  2  =  (0.40 mol)(527.2 g/mol)  =  210.9 g  =  ผลผลิตตามทฤษฎี   ผลผลิตร้อยละ   =  ผลผลิตจริง   x 100  ผลผลิตตามทฤษฎี   =  (190.0 g)(100)  210.9 g  =  90.48

More Related Content

What's hot

สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีoraneehussem
 
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์jirat266
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
หน่วยที่ 4 สูตรเคมี (point)
หน่วยที่ 4 สูตรเคมี (point)หน่วยที่ 4 สูตรเคมี (point)
หน่วยที่ 4 สูตรเคมี (point)tiraphankhumduang2
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5Ornrutai
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกPat Jitta
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0on2539
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนkrupatcharee
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมี
 
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
หน่วยที่ 4 สูตรเคมี (point)
หน่วยที่ 4 สูตรเคมี (point)หน่วยที่ 4 สูตรเคมี (point)
หน่วยที่ 4 สูตรเคมี (point)
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
Mole
MoleMole
Mole
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทน
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 

Viewers also liked

Green Light Toys Article
Green Light Toys ArticleGreen Light Toys Article
Green Light Toys Articlemmorone
 
Sodium hydroxide
Sodium hydroxideSodium hydroxide
Sodium hydroxidealanjoye
 
наташа чернова
наташа чернованаташа чернова
наташа черноваNatasha
 
Isha forest flower nov 2014
Isha forest flower nov 2014Isha forest flower nov 2014
Isha forest flower nov 2014Bhim Upadhyaya
 
1.Zbudowani na fundamencie Apostołów
1.Zbudowani na fundamencie Apostołów1.Zbudowani na fundamencie Apostołów
1.Zbudowani na fundamencie Apostołówparakletos
 
Automation with Microsoft Powershell
Automation with Microsoft PowershellAutomation with Microsoft Powershell
Automation with Microsoft Powershellsubtitle
 
2.Ecclesia Semper Reformanda
2.Ecclesia Semper Reformanda2.Ecclesia Semper Reformanda
2.Ecclesia Semper Reformandaparakletos
 
How to Supercharge Social Media Success
How to Supercharge Social Media SuccessHow to Supercharge Social Media Success
How to Supercharge Social Media SuccessRebekah Radice
 
プレゼン資料
プレゼン資料プレゼン資料
プレゼン資料eijikon
 
Using iMovie to Create Course Materials - Tesol 2012
Using iMovie to Create Course Materials - Tesol 2012 Using iMovie to Create Course Materials - Tesol 2012
Using iMovie to Create Course Materials - Tesol 2012 Tasha Troy
 
2.2. pune ti ideea pe harta
2.2. pune ti ideea pe harta2.2. pune ti ideea pe harta
2.2. pune ti ideea pe hartaRuxandra Popa
 
Making presentations-that-audiences-will-love
Making presentations-that-audiences-will-loveMaking presentations-that-audiences-will-love
Making presentations-that-audiences-will-loveBhim Upadhyaya
 

Viewers also liked (20)

Twitter Foundations
Twitter FoundationsTwitter Foundations
Twitter Foundations
 
Change and internet
Change and internetChange and internet
Change and internet
 
Green Light Toys Article
Green Light Toys ArticleGreen Light Toys Article
Green Light Toys Article
 
Bibliotekas vesture2
Bibliotekas vesture2Bibliotekas vesture2
Bibliotekas vesture2
 
Sodium hydroxide
Sodium hydroxideSodium hydroxide
Sodium hydroxide
 
New media cell phone
New media cell phoneNew media cell phone
New media cell phone
 
наташа чернова
наташа чернованаташа чернова
наташа чернова
 
Isha forest flower nov 2014
Isha forest flower nov 2014Isha forest flower nov 2014
Isha forest flower nov 2014
 
1.Zbudowani na fundamencie Apostołów
1.Zbudowani na fundamencie Apostołów1.Zbudowani na fundamencie Apostołów
1.Zbudowani na fundamencie Apostołów
 
Bernu zurija
Bernu zurijaBernu zurija
Bernu zurija
 
Automation with Microsoft Powershell
Automation with Microsoft PowershellAutomation with Microsoft Powershell
Automation with Microsoft Powershell
 
2.Ecclesia Semper Reformanda
2.Ecclesia Semper Reformanda2.Ecclesia Semper Reformanda
2.Ecclesia Semper Reformanda
 
How to Supercharge Social Media Success
How to Supercharge Social Media SuccessHow to Supercharge Social Media Success
How to Supercharge Social Media Success
 
プレゼン資料
プレゼン資料プレゼン資料
プレゼン資料
 
Yourprezi
YourpreziYourprezi
Yourprezi
 
Using iMovie to Create Course Materials - Tesol 2012
Using iMovie to Create Course Materials - Tesol 2012 Using iMovie to Create Course Materials - Tesol 2012
Using iMovie to Create Course Materials - Tesol 2012
 
Big Business Model Workshop
Big Business Model WorkshopBig Business Model Workshop
Big Business Model Workshop
 
2.2. pune ti ideea pe harta
2.2. pune ti ideea pe harta2.2. pune ti ideea pe harta
2.2. pune ti ideea pe harta
 
Slovenija
SlovenijaSlovenija
Slovenija
 
Making presentations-that-audiences-will-love
Making presentations-that-audiences-will-loveMaking presentations-that-audiences-will-love
Making presentations-that-audiences-will-love
 

Similar to Metal

ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Chicciiz Pu
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptLeeMinho84
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลKrujake
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 

Similar to Metal (20)

ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
5 chem formular
5 chem formular5 chem formular
5 chem formular
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
1482139114.ppt
1482139114.ppt1482139114.ppt
1482139114.ppt
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมล
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลยเคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
Sk7 ch
Sk7 chSk7 ch
Sk7 ch
 
Sk7 ch
Sk7 chSk7 ch
Sk7 ch
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 

More from nondog075206909 (6)

Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
Coffee
CoffeeCoffee
Coffee
 
Souththailand.ppt111
Souththailand.ppt111Souththailand.ppt111
Souththailand.ppt111
 
Souththailand
SouththailandSouththailand
Souththailand
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 

Metal

  • 2. Stoichiometry มาจากคำผสมกรีกสองคำ Stoichion แปลว่าธาตุ และ metron แปลว่าการวัด ใช้ระบุความสัมพันธ์เชิงปริมาณของ องค์ประกอบของสารและปฏิกิริยาเคมี ที่เกี่ยวข้อง
  • 4.
  • 5. 2) สามารถนำไปตีความ หรืออธิบายผลจากเคมีวิเคราะห์
  • 6. 3) สามารถนำไปใช้ประกอบการเลือก ปฏิกิริยาที่ประหยัดที่สุดในทาง อุตสาหกรรมและทางการค้า
  • 7. 4) สามารถบอกได้ว่าตัวทำ ปฏิกิริยาใดทำปฏิกิริยาจนหมด หรือตัวทำปฏิกิริยาใดจะเหลือ เป็นต้น
  • 8. 1.1 อะตอม โมเลกุล ไอออน และสูตรเคมี
  • 11. เช่น แก๊สมีตระกูลหรือแก๊สเฉื่อย (noble or inert gas) ได้แก่ He, Ne, Kr, Xe และ Rn โมเลกุลอะตอมเดี่ยว (monoatomic molecule)
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15. กลุ่มสัญลักษณ์ของธาตุหรือสารประกอบ เช่น H 2 O 2 เป็นสูตรเคมีของสารประกอบ ซึ่ง 1 โมเลกุลประกอบด้วย H และ O อย่างละ 2 อะตอม สูตรเคมี (chemical formula)
  • 16.
  • 17. สูตรที่บอกถึงอัตราส่วนของอะตอม ของธาตุต่าง ๆ ในสูตร เช่น NaCl, H 2 O และ Na 2 CO 3 สูตรอย่างง่ายหาได้จากการทดลอง สูตรอย่างง่าย
  • 18. บอกถึงจำนวนอะตอมที่แท้จริงใน โมเลกุลนั้น เช่น H 2 O เป็นสูตรโมเลกุล เพราะน้ำ 1 โมเลกุล ประกอบด้วย H 2 อะตอม และ O 1 อะตอม สูตรโมเลกุล
  • 19. สูตรซึ่งบอกรายละเอียดว่า อะตอมต่าง ๆ ในโมเลกุลจับกันอย่างไร หรือเกิดพันธะอย่างไร เช่น CH 4 H H C H H สูตรโครงสร้าง
  • 20. 2.2 น้ำหนักอะตอม น้ำหนักโมเลกุล และน้ำหนักสูตร
  • 21. เนื่องจากอะตอมมีขนาดเล็กมาก อะตอมเบาที่สุดมีมวลประมาณ 1.6 X 10 -24 กรัม ทำให้ไม่สามารถชั่งมวลของอะตอมโดยตรงได้ จึงไม่นิยมใช้มวลที่แท้จริง (absolute mass) แต่นิยมใช้มวลเปรียบเทียบ (relative mass) เรียกว่า น้ำหนักอะตอม
  • 23. ค . ศ . 1961 ใช้ 12 C ซึ่งเป็นไอโซโทปหนึ่ง ของธาตุคาร์บอนเป็นมาตรฐานและ ได้กำหนด atomic mass unit (amu) ขึ้น ( ต่อมาได้เรียกหน่วย amu เป็น Dalton, D) โดยมีนิยามว่าเป็น ของมวลรวม 12 C ดังนั้น มวลของอะตอม C = 12.00 D
  • 24. และใช้ค่าของ D ( 1 amu ) เป็นมาตรฐานในการกำหนด ค่าน้ำหนักอะตอมของธาตุ ค่า 1 D ( 1 amu ) = 1.66053 x 10 -24 กรัม
  • 25. ในธรรมชาติ ธาตุเกือบทั้งหมดมีไอโซโทป เช่น ธาตุไฮโดรเจนมีสองไอโซโทป คือ 1 H และ 2 H ดังนั้น น้ำหนักอะตอมของธาตุที่ใช้จึงเป็น น้ำหนักอะตอมเฉลี่ยของไอโซโทปของธาตุนั้น ๆ โดยเฉลี่ยตามอัตราส่วนของปริมาณของ ไอโซโทปที่มีปรากฏจริง ๆ ในธรรมชาติ
  • 27. วิธีทำ น้ำหนักโมเลกุล คือ ผลบวกของน้ำหนัก อะตอมของแต่ละธาตุในโมเลกุลนั้น 6 x น้ำหนักอะตอมของ C = 6 x 12.01 D = 72.06 D 12 x น้ำหนักอะตอมของ H = 12 x 1.00 D = 12.00D 6 x น้ำหนักอะตอมของ O = 6 x 16.00 D = 96.00 D รวม = 180.06 D ดังนั้น น้ำหนักโมเลกุลของกลูโคส = 180.06 D Ex จงคำนวณน้ำหนักโมเลกุลของน้ำตาล กลูโคสซึ่งมีสูตรโมเลกุล C 6 H 12 O 6
  • 28. 2.3 การคำนวณหา สูตรเอมพิริกัล และสูตรโมเลกุล
  • 29. ต้องทราบว่าสารประกอบนั้นประกอบ ด้วยธาตุอะไรบ้าง อัตราส่วนโดยน้ำหนัก ของธาตุทั้งหมดที่มีอยู่เป็นอย่างไรและ น้ำหนักอะตอมของแต่ละธาตุด้วย การคำนวณหาสูตรเอมพิริกัล
  • 30. เมื่อได้สูตรเอมพิริกัลแล้วจะคำนวณ หาสูตรโมเลกุลได้ เมื่อทราบน้ำหนัก โมเลกุลของสารประกอบนั้น ๆ สูตรโมเลกุล = ( สูตรเอมพิริกัล ) n โดย n = 1, 2, 3,…
  • 31. Ex จากการวิเคราะห์สารประกอบชนิดหนึ่ง พบว่าประกอบด้วยกำมะถันและออกซิเจน มีร้อยละโดยน้ำหนักของกำมะถันเป็น 50.05 และออกซิเจน 49.95 ถ้าน้ำหนัก โมเลกุลของสารประกอบนี้เท่ากับ 64 จงคำนวณหาสูตรเอมพิริกัลและสูตรโมเลกุล ( S = 32, O = 16 )
  • 32. วิธีทำ อัตราส่วนโดยน้ำหนักของ S : O = 50.05 : 49.95 อัตราส่วนโดยจำนวนของอะตอม S : O = = 1.56 : 3.12 ทำให้เป็นอัตราส่วนที่เป็นเลขน้อย ๆ โดยการหารตลอดด้วย 1.56 = S : O = 1 : 2
  • 33. สูตรเอมพิริกัล คือ SO 2 สูตรโมเลกุล เป็น (SO 2 ) n (SO 2 ) n = 64 (32 + 16 x 2) n = 64 n = 1 ดังนั้นสูตรโมเลกุล คือ SO 2
  • 34. 2.4 โมล นิยมใช้หน่วยโมลเพื่อบอกปริมาณของสาร โดยหนึ่งโมลมีค่าเท่ากับ 6.02 x 10 23 อนุภาค ซึ่งเท่ากับจำนวนอะตอมของ 12 C หนัก 12.0000 กรัม เลขจำนวนนี้เรียกว่าเลข อโวกาโดร (Avogadro’s number)
  • 35. และหนึ่งโมลอะตอมของธาตุใด ๆ จะมีน้ำหนักเท่ากับน้ำหนักอะตอม ของธาตุนั้น ๆ ในหน่วยเป็นกรัม เช่น น้ำ (H 2 O) 1 โมล จะหนัก 18.0 กรัม และจะมีจำนวนโมเลกุลเท่ากับ 6.02 x 10 23
  • 36. จำนวนโมล = น้ำหนักของสาร ( กรัม ) น้ำหนักอะตอมหรือน้ำหนักโมเลกุล
  • 37. Ex ถ้ามีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO 2 ) หนัก 9.24 g จงคำนวณหา ก .     จำนวนโมล CO 2 ข .     จำนวนโมเลกุล CO 2 ค .     จำนวนโมลของแต่ละธาตุใน คาร์บอนไดออกไซด์จำนวนนี้ ง .     จำนวนอะตอมของแต่ละธาตุ ( C = 12.0 O = 16.0 )
  • 38.
  • 39. ข .   CO 2 1 mol มี 6.02 x 10 23 โมเลกุล CO 2 0.210 mol มี 0.21 0 x 6.02 x 10 23 โมเลกุล = 1.26 x 10 23 โมเลกุล
  • 40. ค .       ใน 1 โมเลกุลของ CO 2 มี C 1 อะตอม และ O 2 อะตอม ดังนั้น CO 2 1 mol จึงประกอบด้วย C 1 mol และ O 2 mol CO 2 0.210 mol จึงประกอบด้วย C 0.210 x 1 = 0.2 1 0 mol และ O 0.210 x 2 = 0.420 mol
  • 41.
  • 42. 2.5 สมการเคมี สมการเคมีเป็นสิ่งที่เขียนแทนปฏิกิริยาเคมี บอกให้ทราบชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยากัน (reactants) และชนิดของสารที่เป็นผลผลิต ของปฏิกิริยา (products) โดยเขียนสารที่เข้าทำ ปฏิกิริยากันไว้ทางซ้ายมือและสารที่เป็นผลิตผล ไว้ทางขวามือของลูกศรที่มีทิศทางชี้ไปทาง สารที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา
  • 43.
  • 44. ข . สมการไอออนิก นิยมใช้สำหรับปฏิกิริยาที่มีสารประกอบ ไอออนิกเข้ามาเกี่ยวข้อง จะเขียนเฉพาะ ไอออนและโมเลกุลที่จำเป็นและเกิด ปฏิกิริยาเท่านั้น
  • 45. เช่น สมการแบบโมเลกุล NaCrO 2 + NaClO +NaOH Na 2 CrO 4 + NaCl + H 2 O เนื่องจากเป็นสารประกอบไอออนิก เมื่ออยู่ในน้ำ จะแตกตัวให้ไอออน
  • 46. Na + ปรากฏอยู่ทั้งซ้ายมือและขวามือของสมการ แสดงว่าไม่ได้เข้าร่วมในการทำปฏิกิริยา ดังนั้น สมการไอออนิกที่เขียนจึงไม่จำเป็นต้อง เขียน Na + ไว้ด้วย ดังนี้
  • 47. 2.6 การคำนวณที่เกี่ยวข้องกับสมการเคมี สมการเคมีบอกถึงสารที่เกี่ยวข้องใน ปฏิกิริยาเคมี ความสัมพันธ์เชิงปริมาณ ของสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยา และสามารถคำนวณปริมาณของผลิตผล ที่ได้จากปฏิกิริยาเคมี
  • 48. CaC 2 (s) + 2H 2 O (l) Ca(OH) 2 (aq) + C 2 H 2 (g) ……. 1 1 2 1 1 โมเลกุล 1 2 1 1 โมล 6.02 x 10 23 2(6.02 x 10 23 ) 6.02 x 10 23 6.02 x 10 23 โมเลกุล 64.1 2(18.0) 74.1 26.0 กรัม 22.4    ลิตร (dm 3 ) ที่ STP  
  • 49. Ex จากสมการ (1) ถ้าใช้ CaC 2 2.5 mol ทำปฏิกิริยากับน้ำที่มีปริมาณมากเกินพอ ก .      ได้ C 2 H 2 (g) เกิดขึ้นกี่โมล ข .      ได้ C 2 H 2 (g) เกิดขึ้นกี่กรัม ค .      ได้ C 2 H 2 (g) เกิดขึ้นกี่ลิตร ที่ STP ง .       น้ำทำปฏิกิริยาไปกี่โมลและกี่กรัม (Ca = 40.1 , C = 12.0, H = 1.0)
  • 50. วิธีทำ ก .      จากสมการ 1 จะเห็นว่า CaC 2 1 mol ให้ C 2 H 2 1 mol  CaC 2 2.5 mol ให้ C 2 H 2 2.5 mol ด้วย
  • 51. ข . น้ำหนักโมเลกุลของ C 2 H 2 = 26.0 หมายความว่า C 2 H 2 1 mol หนัก 26.0 g  C 2 H 2 2.5 mol หนัก = ( 2.5 mol) (26.0 g) (1 mol) = 65.0 g
  • 52. ค .  C 2 H 2 (g) 1 mol มีปริมาตร 22.4 l ที่ STP  C 2 H 2 (g) 2.5 mol มีปริมาตร = (2.5 mol) (22.4 l) ที่ STP (1 mol) = 56.0 l ที่ STP
  • 53. ง . จากสมการ CaC 2 1 mol ทำปฏิกิริยาพอดีกับ H 2 O 2 mol  CaC 2 2.5 mol ทำปฏิกิริยากับ H 2 O (2 x 2.5) mol = 5.0 mol H 2 O 1 mol มีน้ำหนัก = 18.0 g  H 2 O 5.0 mol มีน้ำหนัก = (18.0) (5.0) = 90 g
  • 54. 2.7  สารกำหนดปริมาณ เนื่องจากสารเข้าทำปฏิกิริยาเคมีกันใน อัตราส่วนโมลต่อโมลที่แน่นอน สารที่มี ปริมาณน้อยกว่าจึงเป็นตัวกำหนดว่าปฏิกิริยา สามารถเกิดผลผลิตได้อย่างมากที่สุดเท่าใด เราเรียกสารที่มีปริมาณน้อยนี้ว่า สารกำหนดปริมาณ (Limiting reactant)
  • 55. Ex จงคำนวณว่าจะเตรียมลิเทียมออกไซด์ ได้กี่โมล จากลิเทียม 1.0 g และออกซิเจน 1.5 g สารใดเป็นสารกำหนดปริมาณ สารใดเหลือและเหลือกี่กรัม 4Li + O 2 2Li 2 O (Li = 6.9, O = 16)
  • 56. วิธีทำ ลิเทียม 1.0 g = 1.0 g 6.9g / mol = 0.144 mol ออกซิเจน 1.5 g = 1.5 g 32 g / mol = 0.0469 mol
  • 57. พิจารณาจากสมการจะเห็นว่าลิเทียม 4 mol ทำปฏิกิริยาพอดีกับออกซิเจน 1 mol ดังนั้น ลิเทียม 0.144 mol ทำปฏิกิริยาพอดี กับออกซิเจน = 0.144 mol 4 = 0.036 mol
  • 58. แต่มีออกซิเจนอยู่ถึง 0.0469 mol ดังนั้น ออกซิเจนจะมีอยู่มากเกินพอ และจะมีออกซิเจนที่เหลือจากปฏิกิริยา 0.0469 – 0.036 = 0.0109 mol ส่วนลิเทียมเป็นสารกำหนดปริมาณ
  • 59. 2.8 ผลผลิตตามทฤษฎีและผลผลิตร้อยละ ผลผลิตร้อยละ = ผลผลิตจริง x 100 ผลผลิตตามทฤษฎี
  • 60. ผลผลิตตามทฤษฎี (theoretical yield) ปริมาณของผลผลิตที่อาจเกิดขึ้นได้มากที่สุด ซึ่งคำนวณได้จากสมการเคมีที่ดุล ผลผลิตแท้จริง (actual yield) ปริมาณของผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งวัดหรือชั่งได้จากการทดลอง จะน้อยกว่าผลผลิตตามทฤษฎีเกือบเสมอไป ( น้อยครั้งมากที่จะเท่ากัน แต่มีมากกว่าไม่ได้ )
  • 61. Ex เมื่อนำ C 2 H 4 1.93 กรัม มาเผาไหม้กับออกซิเจนที่มากเกินพอ พบ CO 2 เกิดขึ้นเพียง 3.44 กรัม เท่านั้น จงคำนวณผลผลิตร้อยละของ CO 2 นี้ ( C = 12.0 , H = 1.0 , O = 16.0 )
  • 62. วิธีทำ สมการที่ดุลของปฏิกิริยานี้คือ C 2 H 4 + 3O 2 2CO 2 + 2H 2 O 1 mol 2 mol 28.0 g 88.0 g C 2 H 4 28.0 g เกิด CO 2 88.0 g  C 2 H 4 1.93 g เกิด CO 2 X g X = (88.0 g) (1.93g) (28.0g) CO 2 = 6.07 g
  • 63. CO 2 6.07 g นี้ คือ ผลผลิตตามทฤษฎี แต่การทดลองพบ CO 2 เกิดเพียง 3.48 g คือ ผลผลิตแท้จริง  ผลผลิตร้อยละของ CO 2 = 3.48 x 100 6.07 = 57.33 %
  • 65. วิธีทำ ใช้สูตร โมล = น้ำหนักเป็นกรัม น้ำหนักอะตอม Sn 17.5 g = 17.5 g 118.7 g/mol = 0.147 mol จงคำนวณจำนวนโมลของ Sn 17.5 g
  • 66. วิธีทำ CH 3 OH 0.20 mol = (0.20 mol) (32 g/mol) = 6.40 g จงคำนวณมวลเป็นกรัมของเมทิลแอลกอฮอล์ (CH 3 OH) 0.20 mol
  • 67. วิธีทำ C 6 H 6 6.0 g = (6.0 g) (6.02 x 10 23 molecule/mol) (78 g/mol) = 4.62 x 10 22 molecule เบนซีน (C 6 H 6 ) 6.0 g มีจำนวนโมเลกุลเท่าใด
  • 68. วิธีทำ มี N 30.4 %  มี 0 = 100 - 30.4 = 69.6 % อัตราส่วนโดยน้ำหนัก N : O = 30.4 : 69.6 อัตราส่วนโดยโมลของ N : O = 30.4 : 69.6 14 16 = 2.17 : 4.35 = 1 : 2  สูตรเอมพิริกัลหรือสูตรอย่างง่ายของสารนี้คือ NO 2 ออกไซด์หนึ่งมีไนโตรเจน 30.4 % เป็นองค์ประกอบ จงหาสูตรเอมพิริกัลของสารนี้
  • 69. วิธีทำ N 2 O 5 25.0 g = 25.0 g = 0.231 mol 108 g/mol N 2 O 5 1 mol มี N อยู่ 2 mol N 2 O 5 0.231 mol มี N อยู่ = (2 mol)(0.231 mol) (1 mol) = 0.462 mol = (0.462 mol) (14.0 g/mol) = 6.47 g ไดไนโตรเจนเพนตะออกไซด์ (N 2 O 5 ) 25.0 g มี ไนโตรเจนอะตอมกี่โมลและกี่กรัม
  • 70. เอทิลีนโบรไมด์ (C 2 H 4 Br 2 ) ทำปฏิกิริยาเผาไหม้กับตะกั่ว (Pb) ดังสมการ ถ้าใช้ C 2 H 4 Br 2 0.80 mol ทำปฏิกิริยากับ Pb 145.0 g และมีออกซิเจนอย่างเหลือเฟือ C 2 H 4 Br 2 + Pb + O 2 --------> PbBr 4 + CO 2 + H 2 O ก . สารใดเป็นสารกำหนดปริมาณ ข . มีสารใดเหลือและเหลือกี่กรัม ค . O 2 ถูกใช้ไปกี่โมล ง . มี CO 2 เกิดขึ้นกี่ลิตร STP จ . ถ้า PbBr 4 ที่รวบรวมได้จากการทดลองมีเพียง 190.0 g จงหาผลผลิตร้อยละของสารนี้
  • 71. ได้สมการที่ดุลแล้วดังนี้ 2C 2 H 4 Br 2 + Pb + 6O 2 -----> PbBr 4 + 4CO 2 + 4H 2 O ก . Pb 145.0 g = 145.0 g 207.2 g/mol = 0.700 mol จากสมการที่ดุล C 2 H 4 Br 2 ทำปฏิกิริยากับ Pb ในอัตราส่วน mol:mol = 2:1 จะเห็นได้ว่า C 2 H 4 Br 2 เป็นสารกำหนดปริมาณ
  • 72. ข . C 2 H 4 Br 2 2 mol ทำปฏิกิริยากับ Pb 207.2 g C 2 H 4 Br 2 0.80 mol ทำปฏิกิริยากับ Pb (207.2 g)(0.80 mol) 2 mol = 82.88 g  Pb เหลือ = 145.0 - 82.88 = 62.1 g
  • 73. ค . O 2 ใช้ไป = (0.80 mol) (6) 2 = 2.4 mol ง . CO 2 เกิดขึ้น = (0.80 mol) (4) 2 = 1.60 mol = (1.60 mol)(22.4 l/mol ที่ STP) = 35.84 l ที่ STP
  • 74. จ . จากสมการที่ดุลได้ PbBr 4 = (0.80 mol) ( 1 ) = 0.40 mol 2 = (0.40 mol)(527.2 g/mol) = 210.9 g = ผลผลิตตามทฤษฎี ผลผลิตร้อยละ = ผลผลิตจริง x 100 ผลผลิตตามทฤษฎี = (190.0 g)(100) 210.9 g = 90.48