SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
1
ก�ำหนดมวลอะตอม
	 H	 =	 1	 Li	 =	 7	 C	 =	 12
	 O	 =	 16	 S	 =	 32	 Cl	 =	 35.5
	 K	 =	 39	 Mn	 =	 55	 Fe	 =	 56
	 Cu	 =	 63.5	 Sn	 =	 119	 Ba	 =	 137
	 และค่าคงที่ของแก๊ส  R  =  0.082  L.atm/mol.K	
1.	 ธาตุ  A  มีเลขอะตอมและเลขมวลเป็น  7  เท่าของดิวทีเรียม  ข้อใดเป็นไอโซโทปที่เป็นไปได้ของธาตุ  A
	 ก.	 H - 2	 ข.	B - 7	 ค.	C - 14	 ง.	N - 15	 จ.	 Si - 28
2.	 อะตอมของธาตุที่เสถียรที่สุดในคาบที่  6  มีจ�ำนวนอิเล็กตรอนเท่าใด
	 ก.	 8	 ข.	32	 ค.	72	 ง.	 86	 จ.	 118
3.	 ก�ำหนดค่าพลังงานไอออไนเซชัน  (MJ/mol)  ของธาตุ   X   ,  Y  ,  Z   ดังตาราง
	 IE1	 IE2	 IE3	 IE4	 IE5	 IE6	 IE7
	 X	 0.425	 3.058	 4.418	 5.883	 7.982	 9.660	 11.349
	 Y	 1.320	 3.395	 5.307	 7.476	 11.996	 13.333	 71.343
	 Z	 1.407	 2.862	 4.585	 7.482	 9.452	 53.274	 64.368
	 ถ้า  Y  และ  Z  อยู่ในคาบที่  2  ของตารางธาตุ  สูตรของสารประกอบในข้อใดเป็นไปไม่ได้
	 ก.	X2Y	 ข.	X3Z2	 ค.	Y2Z	 ง.	 YZ2	 จ.	 X2Y2
4.	 จากโครงสร้างของกลูตาไทโอนที่แสดง  การเรียงล�ำดับมุมพันธะในข้อใด ถูกต้อง
	 H	 H
	 H
	 N	 O	
S	
H
	 O
		 O	
N
	 N	
OH
	
H
		
H
	
	 O	 O
	 ก.	 q1	 <	 q2	 <	 q3	 <	 q4	 ข.	 q3	 <	 q4	 <	 q1	 <	 q2
	 ค.	 q4	 <	 q1	 <	 q2	 <	 q3	 ง.	 q4	 <	 q1	 <	 q3	 <	 q2
	 จ.	 q1	 <	 q4	 <	 q3	 <	 q2
q4
q1
q3
q2
2
5.	 ก�ำหนดให้    (1)   พลังงานพันธะเฉลี่ย  (kJ/mol)
	 ( H - H =  435	 C - H =  410	 C - Cl = 325	 Cl - Cl =  240 )
	 (2)  ปฏิกิริยา  H2 + Cl2	 2 HCl	 DH = -185   kJ
	 เมื่อแก๊สมีเทนท�ำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีนเกิดแก๊สไตรคลอโรมีเทน  1  mol  จะดูดพลังงานหรือ
	 คายพลังงานเท่าใด   (กสพท. ม.ค.’56)
	 ก.	 คายพลังงาน   210   kJ	
	 ข.	 คายพลังงาน   315   kJ
	 ค.	 ดูดพลังงาน   62.5  kJ	
	 ง.	 ดูดพลังงาน   65     kJ
	 จ.	 ดูดพลังงาน   157.5   kJ
6.	 สารตัวอย่างประกอบด้วยเกลือคาร์บอเนตของไอออน   Ba2+ Mg2+   และ   Ag+   ผสมกัน  ถ้าต้องการแยก
	 ไอออนทั้งสามชนิดออกจากกันจะต้องเติมรีเอเจนต์  และกรองตะกอนตามล�ำดับขั้นอย่างไร   
	 ขั้นที่ 1 รีเอเจนต์ที่เติม / กรอง	 ขั้นที่ 2 รีเอเจนต์ที่เติม / กรอง
	 ก.	 HCl	 CH3COOH
	 ข.	 HCl	 H2SO4	
	 ค.	 CH3COOH	 HCl
	 ง.	 H2SO4	 HNO3
	 จ.	 HNO3	 NaOH
7.	 เมื่อน�ำสารละลายโพแทสเซียมแฮไลด์  Q  R  และ  S  มาท�ำปฏิกิริยากับสารละลายแฮโลเจนใน  CCl4  สังเกต
	 สีในชั้นของ  CCl4  ได้ดังตาราง
	
	
สารละลาย
	 สีในชั้น CCl4
	 I2 ใน CCl4	 Cl2 ใน CCl4	 Br2 ใน CCl4
	 Q	 ชมพูอมม่วง	 ชมพูอมม่วง	 ชมพูอมม่วง
	 R	 ชมพูอมม่วง	 ไม่มีสี	 ส้ม
	 S	 ชมพูอมม่วง	 ส้ม	 ส้ม
3
	 พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
	 1.	 สารละลาย  S  รีดิวซ์  Cl2  ได้
	 2.	 สารละลาย  R  ท�ำปฏิกิริยากับ  AgNO3  ได้ตะกอนสีขาว
	 3.	 สารละลาย  R  สามารถออกซิไดส์สารละลาย  Q  ได้
	 4.	 สารละลาย  Q  ออกซิไดส์  I2  ได้
	 ข้อใด  ถูกต้อง
	 ก.	 1  และ  2  เท่านั้น	 	 	 ข.	 2  และ  3  เท่านั้น
	 ค.	 3  และ  4  เท่านั้น	 	 	 ง.	 1   2  และ  3	 จ.	2   3  และ  4
8.	 ถ้าน�ำประจุของไอออนเชิงซ้อนมารวมกับเลขออกซิเดชันของอะตอมกลางผลรวมในข้อใดมีค่ามากที่สุด  
	 ก.	 Na2[ZnO2]	 	 	 ข.	 K3[Mn(CN)6]
	 ค.	 Ba2[Fe(CN)6]	 	 	 ง.	 [Cr(H2O)5Cl]SO4	 จ.	[Co(NH3)4SO4]NO3
9.	 Pd - 103  (ครึ่งชีวิต 17 วัน) ใช้ในการรักษาโรคมะเร็งได้  ถ้า  Pd - 103 ที่บรรจุในแคปซูลสลายตัวไป 99.95%
	 ถือว่าหมดประสิทธิภาพ แคปซูลนี้จะออกฤทธิ์ได้นานประมาณเท่าใด (ก�ำหนดให้1 เดือน มี 30 วัน)
	 ก.	 17 วัน	 ข.	 5 เดือน
	 ค.	 6 เดือน	 ง.	 7 เดือน	 จ.	24 สัปดาห์
10.	 ของแข็ง  A  น�ำไฟฟ้าได้  ไม่ละลายในกรดทั่วไปยกเว้นกรดไนตริก  เมื่อน�ำ  A  10  g  มาท�ำปฏิกิริยาพอดีกับ
	 ธาตุ  X  5  g  ได้สารประกอบของแข็งสีด�ำ  (B)  ที่ไม่น�ำไฟฟ้าและมีองค์ประกอบของ  A  และ  X  ในอัตรา
	 ส่วนโมลที่เท่ากัน  เมื่อน�ำ  B  ทั้งหมดไปเผากับออกซิเจนมากเกินพอ  จะได้สารประกอบออกไซด์  (Z)  และ
	 แก๊ส  XO2  10  g  เมื่อผ่านแก๊สนี้ลงในน�้ำ  พบว่า  สารละลายเป็นกรด  ข้อใด  ถูกต้อง
	 ก.	 ธาตุ  X  เป็นอโลหะ  อยู่หมู่  IV  A
	 ข.	 ของแข็ง  A  เป็นโลหะอยู่หมู่  II  A
	 ค.	 ของแข็ง  A  และ  B  เป็นสารประกอบไอออนิก
	 ง.	 สารประกอบออกไซด์  Z  ละลายน�้ำได้สารละลายกรด
	 จ.	 ของแข็ง  A  ละลายได้ในกรดไนตริก  แล้วให้แก๊สที่เมื่อละลายในน�้ำมีสมบัติเป็นกรด
11.	 น�ำ  CuCl2  1.345  g  ผสมกับสารละลาย CuSO4  เข้มข้น 0.2  mol/dm3  ปริมาตร  50.00 cm3  เติมน�้ำแล้วปรับ
	 ปริมาตรเป็น 500 cm3  สารละลายที่ได้มีความเข้มข้นของ Cu2+ กี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (กสพท’ม.ค.56)
	 ก.	 0.02
	 ข.	 0.04
	 ค.	 0.10
	 ง.	 0.22
	 จ.	 0.40
4
12.	 เมื่อน�ำสารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ปริมาตร  1.0  cm3  มาท�ำปฏิกิริยากับสารละลายไอโอไดด์ในภาวะ
	 ที่เป็นกรดจะได้ไอโอดีน  แล้วไทเทรตหาปริมาณไอโอดีนที่เกิดขึ้นด้วยสารละลาย  Na2S2O3เข้มข้น  0.10  mol/dm3
	 พบว่าที่จุดยุติใช้  Na2S2O3  ปริมาตร  15.0  cm3  ปฏิกิริยาเคมีเกิดดังสมการ	 (สมการยังไม่ดุล)
	 H2O2 + H+ +  I-	 I2 + H2O
	 I2 + S2O3	 I- + S4O6
	 ความเข้มข้นของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเป็นเท่าใด
	 ก.	 2.2	 ข.	2.6	 ค.	4.4	 ง.	 5.1	 จ.	 10.2
13.	 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งมวล  4.5 g  ละลายในเบนซีน  100 g  พบว่า สารละลายมีจุดเยือกแข็ง  3.5 oC
	 ส่วนเบนซีนบริสุทธิ์มีจุดเยือกแข็ง  5.5 oC  และมีค่าคงที่ของการลดลงของจุดเยือกแข็งเป็น  5.0  oC/m  สูตรโมเลกุล
	 ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้ควรเป็นอย่างไร  
	 ก.	C3H6	 ข.	C5H6	 ค.	C8H12	 ง.	 C8H16	 จ.	C9H16
14.	 	สารตัวอย่างชนิดหนึ่งมี  BaCl2  •  2H2O  และ  KCl  เป็นองค์ประกอบ  เมื่อเผาสารตัวอย่างนี้มวล  5.00 g
	 ที่  160oC  เป็นเวลา  1  ชั่วโมง  จะเกิดการสูญเสียน�้ำอย่างสมบูรณ์  และพบว่า  มีมวลคงเหลือ  4.64 g
	 สารตัวอย่างนี้มี  KCl ร้อยละโดยมวลเป็นเท่าใด  
	 ก.	9.6	 ข.	 24.5	 ค.	48.8	 ง.	 51.2	 จ.	58.4
15.	 แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ท�ำปฏิกิริยากับลิเทียมไฮดรอกไซด์ได้ดังสมการ
	 LiOH(s)   + CO2(g)	 Li2CO3(s)   + H2O(l)	 (สมการยังไม่ดุล)
	 ถ้าในระบบนี้มีปริมาตร  100 dm3  และมี  CO2  ปนอยู่ในอากาศร้อยละ 6.15  โดยปริมาตรที่อุณหภูมิ  27oC
	 และความดัน  760  mmHg  เพื่อให้ปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ์ ต้องใช้ลิเทียมไฮดรอกไซด์กี่กรัม
	 ก.	3.0	 	 	 ข.	3.3	 ค.	6.0		 ง.	 12.0	 จ.  33.3
16.	 ปฏิกิริยาการผลิตเอทานอลจากกลูโคสเกิดขึ้นดังสมการ (กสพท ม.ค.’56)
	 C6H12 O6	
CO2 + C2 H5OH
	 ถ้าต้องการผลิตเอทานอลที่มีความหนาแน่น 0.8 g/cm3 ปริมาตร 3.45 dm3 ต้องใช้กลูโคสกี่กิโลกรัม
	 ก.	 2.7	 ข.	3.6	 ค.	5.4	 ง.	 8.4	 จ.	 10.8
17.	 ชนิดของพันธะในสารข้อใด  แตกต่างจากสารในข้ออื่น
	 ก.	เพชร (C)	 ข.	แร่ควอตซ์ (SiO2)	
	 ค.	น�้ำแข็งแห้ง  (CO2)	 ง.	 คลอโรฟอร์ม (CHCl3)
	 จ.	เกลือแบเรียมคลอไรด์(BaCl2)
2- 2-
5
18.	 พิจารณาของเหลว  3  ชนิด  ที่มีสมบัติดังต่อไปนี้
	 สาร	 มวลโมเลกุล	 จุดเดือด (oC)
	 A	   38	   56
	 B	 120	   62
	 C	   50	 120
	 สารที่มีความดันไอต�่ำสุดและสารที่มีอัตราการแพร่ของแก๊สสูงสุด  ข้อใด  ถูกต้อง
	 ความดันไอต�่ำสุด	 อัตราการแพร่ของแก๊สสูงสุด
	 ก.	 A	 A
	 ข.	 B	 C
	 ค.	 C	 B
	 ง.	 C	 A
	 จ.	 A	 B
19.		 O2	 NO
	 	 2.0 dm3	 4.0 dm3
	 	 1.0 atm	 0.5 atm
	 	 300 K	 300 K
	 จากรูป ที่สภาวะเริ่มต้นแก๊ส NO และแก๊สออกซิเจนถูกเก็บแยกกัน เมื่อดึงแผ่นกั้นตรงกลางออก แก๊สจะผสมกัน
	 และเกิดปฏิกิริยาได้แก๊ส NO2 ถ้าปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ ข้อใด ถูกต้อง
	 ก.	 มีแก๊สออกซิเจนเหลืออยู่0.04 mol
	 ข.	 ความดันของแก๊สในภาชนะเท่ากับ 0.66 atm
	 ค.	 ความดันเฉลี่ยของแก๊สในภาชนะเท่ากับ 0.75 atm
	 ง.	 ในภาชนะมีแก๊สอยู่3 ชนิด และมีจ�ำนวนโมลรวมเท่ากับ 0.162
	 จ.	 แก๊สทั้งสองท�ำปฏิกิริยากันหมดพอดีได้  NO2  0.081 mol
6
20.	 พิจารณาข้อสรุปเกี่ยวกับก�ำมะถันรอมบิก  และก�ำมะถันมอนอคลินิก ต่อไปนี้
	 1.	 เป็นผลึกโคเวเลนต์เช่นเดียวกัน
	 2.	 มีความหนาแน่นไม่เท่ากัน
	 3.	 เกิดปฏิกิริยาแตกต่างกัน
	 4.	 ประกอบด้วยไอโซโทปซัลเฟอร์ต่างชนิดกัน
	 5.	 อะตอมซัลเฟอร์ต่อกันมีลักษณะเป็นวงเหมือนกัน
	 ข้อใด  ถูกต้อง
	 ก.	 1  และ  5	 ข.	2  และ  5
	 ค.	 1  และ  2  เท่านั้น	 ง.	 1  2  และ  3
	 จ.	 2  3  และ  4
21.	 เมื่อติดตามการสลายตัวของ   N2O5   ในปฏิกิริยา	 2N2O5(g)	 4NO2(g)   + O2(g)  ได้ผลดังนี้
	 เวลา (s)	 ความเข้มข้นของ N2O5 (mol/dm3)
	        0	 6.0
	 1,000	 2.8
	 2,000	 1.2
	 3,000	 X
	 ถ้าอัตราการสลายตัวเฉลี่ยของ  N2O5  เป็น  1.7 x 10-3  mol/dm3.s   X   มีค่าเท่าใด  
	 ก.	 0.3	 ข.   0.4	 ค.	0.8	 ง.   0.9	 จ.  1.1
22.	 เมื่อน�ำแมกนีเซียม  9.6  g  ท�ำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น  3  mol/dm3  ปริมาตร  
	 100  cm3  เมื่อเวลาผ่านไป  1  นาที  พบว่ากรดท�ำปฏิกิริยาหมดพอดีแต่มีแมกนีเซียมเหลืออยู่จ�ำนวน
	 หนึ่ง  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยในหน่วย  mol/s  มีค่าเท่าใด
	 ก.	 0.15	 ข.	 0.05	 ค.	6.7  x  10-3	 ง.	 5.0  x  10-3	 จ.	2.5  x  10-3
7
23.	 ก�ำหนดให้  สาร  A  และ  B  ท�ำปฏิกิริยากันได้สาร  C  และ  D  เมื่อผสมสารละลาย  A  กับสารละลาย  B    
	 อย่างละ  50  cm3  จับเวลาหลังจากผสมสารตั้งต้นเป็นนาที (min) และวิเคราะห์จ�ำนวนโมลของสารใน  
	 สารละลาย  100  cm3  ได้ผลดังนี้
	 เวลา	 จ�ำนวน mol ของสาร
	 (min)	 A	 B	 C	 D
	 0	 1.0  x  10-2	 2.0  x  10-2	 0	 0
	 0.5	 8.0  x  10-3	 1.4  x  10-2	 8.0  x  10-3	 4.0  x  10-3
	 1.0	 7.0  x  10-3	 1.1  x  10-2	 X	 6.0  x  10-3
	 1.5	 Y	 9.5  x  10-3	 1.4  x  10-2	 Z
	 ข้อใด ถูกต้อง
	 ก.	 ความเข้มข้น(ในหน่วย  mol/dm3)  ของ  X >  Y  >  Z
	 ข.	 อัตราเฉลี่ยของการเกิดปฏิกิริยานี้เท่ากับ  7.0  x  10-3 mol/dm3.min
	 ค.	 ช่วง  0 - 0.5  นาที  อัตราการลดลงของ  A  เท่ากับอัตราการเพิ่มขึ้นของ  C
	 ง.	 สมการเคมีของปฏิกิริยานี้ คือ A(aq)  + 2B(aq)	 2C(aq)  + D(aq)
	 จ.	 ที่เวลา  1  นาที  จ�ำนวนโมลของสารตั้งต้นทั้งหมด  (A + B)  เท่ากับของผลิตภัณฑ์ทั้งหมด  (C  +  D)
24.	 พิจารณากราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการด�ำเนินไปของปฏิกิริยาซึ่งประกอบด้วย  2  ขั้นตอน
	 ดังนี้
	 พลังงาน
	 ขั้นตอนที่ 1	 A	 B	
(E)
	 ขั้นตอนที่ 2	 B	 C
	 การด�ำเนินไปของปฏิกิริยา
	 ข้อใดผิด
	 ก.	 พลังงานที่เปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาเท่ากับ  E5 - E1
	 ข.	 สารที่อยู่ในสภาวะแทรนซิชันไม่เสถียร  มีพลังงานสูง
	 ค.	 พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาในขั้นตอนแรกมีค่าเท่ากับ  E5 - E2
	 ง.	 สารเชิงซ้อนกัมมันต์ของขั้นตอนที่  1  และ  2  มีพลังงาน  E5  และ  E4  ตามล�ำดับ
	 จ.	 ปฏิกิริยาจะเกิดได้  เมื่ออนุภาคที่ชนกันจะต้องมีพลังงานอย่างน้อยเท่ากับ  E5 - E2
E5
E4
E3
E2
E1
A B
C
8
25.	 ก�ำหนดให้  ที่อุณหภูมิ  25 oC  ปฏิกิริยา  (1)  (2)  และ  (3)  มีค่าคงที่สมดุล  K1 K2  และ  K3  ตามล�ำดับดังนี้	 	
1	 	 (1)A2(g)  + 2 B2(g)                      A2B(g)                       	 	 K1 	=   X
	 	 (2) 2BC(g)   + B2(g)                      2B2C(g)                        	 K2 	=   Y
	 	 (3) A2B(g)   +   BC(g)                     A2(g)  + B2C(g)        	 	 K3 = ?
	 ค่าคงที่สมดุล   K3   มีค่าเท่าใด 	 	
Y
	
	 ก.	2Y     X	 ข.	 2 - X
		
Y
		
Y
	 ค.	X	 ง.	 X
26.	 บรรจุแก๊สไนโตรเจน  1.0  mol   แก๊สไฮโดรเจน  3.0  mol    และแก๊สแอมโมเนีย  0.2   mol  ในภาชนะปิด
	 ปริมาตร   2  dm3   ปฏิกิริยาเกิดขึ้นดังสมการ
	 N2(g)  + 3H2(g)                   2NH3(g)
	 ภายใต้อุณภูมิและความดันคงที่  พบว่าที่ภาวะสมดุลในภาชนะมีแก๊สแอมโมเนีย ร้อยละ 80  โดยโมล  
	 คิดเป็นความเข้มข้นของแก๊สแอมโมเนียกี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร
	 ก.	 0.05
	 ข.	 0.40
	 ค.	 0.98
	 ง.	 1.96
	 จ.	 3.36   	
27.	 ปฏิกิริยา  CH4(g)  + H2O(g)                   CO(g)  + 3H2(g)  มีค่าคงที่สมดุลที่อุณหภูมิต่างๆ ดังแสดง
	 อุณหภูมิ, oC	 ค่าคงที่สมดุล
	 25	 1.2  x  10-25
	 277	 5.5  x  10-11
	 727	 5.0
	 1227	 22,261
√                Y	 จ.	
X2
9
	 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
	 1.	 ปฏิกิริยาย้อนกลับเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน
	 2.	 ที่อุณหภูมิต�่ำกว่า  277  oC  ที่ภาวะสมดุลระบบจะมีแก๊สไฮโดรเจนมากที่สุดและรองลงมาคือ
	 	 แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์
	 3.	 ที่อุณหภูมิ  25  oC  ที่ภาวะสมดุลระบบจะมีแก๊สมีเทนมากกว่าที่อุณหภูมิ  1227  oC
	 4.	 ที่อุณหภูมิ  727  oC  ที่ภาวะสมดุลระบบมีความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์มากกว่าแก๊ส
	 	 ไฮโดรเจน   
	 ข้อใด  ถูกต้อง
	 ก.	1  และ  2	 ข.	 1  และ  3
	 ค.	2  และ  3	 ง.	 3  และ  4	 จ.	 1  และ  4
28.	 พิจารณาระบบต่อไปนี้
	 	 1.	 การเกิดแก๊สโอโซนจากแก๊สออกซิเจนที่อุณหภูมิ  298 K
	 	 2.	 กระบวนการแยกโลหะทองแดงจากออกไซด์ของทองแดง (CuO)  ซึ่งเป็นของแข็งและ
	 	 	 มีแก๊สออกซิเจนเป็นผลิตภัณฑ์ร่วม  ที่อุณหภูมิ  1350  K
	 	 3. 	ปฏิกิริยาออกซิเดชันระหว่างแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์กับแก๊สออกซิเจน  
	 	 	 ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่อุณหภูมิ  298  K
	 	 4.  ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสระหว่างแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์กับน�้ำ   ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
	 	 	 และแก๊สไฮโดรเจน   ที่อุณหภูมิ  298  K
	 ข้อใดที่เมื่อรบกวนสมดุลของระบบโดยการลดปริมาตร   แล้วท�ำให้ระบบปรับตัวในทิศทางที่จะเกิด
	 ปฏิกิริยาย้อนกลับมากขึ้น
	 ก.	1   เท่านั้น	 ข.	 4   เท่านั้น
	 ค.	1   และ  2	 ง.	 1   และ   3
	 จ.	 2   และ  4
29.	 ข้อใดที่ทุกโมเลกุลหรือไออนเป็นสารแอมโฟเทอริก  ตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี
	 ก.	H PO- H2O SO2-	 ข.	 HSO- HSO- H3O+
	 ค.	NH+ CH3O- H2O	 ง.	 H2O H2PO- HCO-
	 จ.	 HPO2- HSO- S2- 	
4
4
4 4
4
4
3
3
3
10
30.	 ก�ำหนดให้  A  B  C  และ  D  เป็นสารละลายเบสอ่อนที่มีความเข้มข้น  0.1  mol/dm3 เท่ากัน  และมี pH  ดังนี้
	 สารละลาย                A                B                C                D
	 pH                           8.5              9.6            11.7            10.2
	 การเรียงล�ำดับเบสอ่อนทั้งสี่ตามค่า  Kb จากน้อยไปมาก  ข้อใดถูกต้อง
	 ก.	 A < B < C < D	 ข.	 A < B < D < C
	 ค.	 C < D < A < B	 ง.	 C < D < B < A	
	 จ.	 D < C < B < A
31. 	 สารละลาย  XOH  เข้มข้น  0.01  mol/dm3 แตกตัวร้อยละ 3  สารละลาย  XOH  เข้มข้น  0.0025  mol/dm3
	 แตกตัวได้ร้อยละเท่าใด
	 ก.	 0.75	 ข.	3
	 ค.	 4	 ง.	 6
	 จ.	 12
32.	 เมื่อทดสอบสารตัวอย่างชนิดหนึ่งด้วยอินดิเคเตอร์ชนิดต่างๆได้ผลดังนี้
สีของอินดิเคเตอร์ใน
		 อินดิเคเตอร์ 	 ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สีที่เปลี่ยน
สารตัวอย่าง
	 น�้ำดอกอัญชัน	 1 	 − 	 3	 แดง - ม่วง	 ม่วง	
	 น�้ำดอกกล้วยไม้เหลือง	 10 	− 	 11           ไม่มีสี - เหลือง	 ไม่มีสี
	 คองโกเรด	 3 	 − 	 5	 น�้ำเงิน - แดง	 แดง
	 ฟีนอลเรด	 6.8 	− 	 8.4          เหลือง - แดง	 ส้ม
	 เมทิลเรด	 4.2 	− 	 6.3          แดง - เหลือง	 	 เหลือง	
	 ของเหลวข้อใดมี  pH  ใกล้เคียงกับสารตัวอย่างมากที่สุด
	 ก. 	น�้ำประปา (มี pH 6.5 − 8.0)	 ข.	 น�้ำฝน (มี pH 5.5 − 6.0)
	 ค.	 น�้ำนมสด 	(มี pH 6.4 − 6.8)	 ง.	 น�้ำยาเช็ดกระจก (มี pH 10.5 − 11.0)
	 จ.	 น�้ำอัดลม 	(มี pH 2.9 − 3.3)
11
33.	 เมื่อผสมสารละลาย   A   กับสารละลาย    B   ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน  ในปริมาตรที่ก�ำหนดตามตาราง  
	 ข้อใดได้สารละลายบัฟเฟอร์
			
		 สารละลาย A สารละลาย B
	 ก. 		 HCOOH 	100 	cm3	 NaOH 	 200 	 cm3
	 ข.	 	 KCN  	 200  cm3	 	 HNO3 	 100  	cm3
	 ค.	 	 NH3 	 100  	cm3	 	HCl   	 200  	cm3
	 ง.	 	 Na3PO4  	 200 	cm3	 	 NaOH  	 100 	 cm3
	 จ.	 	 NaHCO3 	100 	cm3	 	 HNO3 	 200 	 cm3
34.	 การไทเทรตสารละลาย  HNO2 เข้มข้น  0.10  mol/dm3 ปริมาตร  100  cm3 ด้วยสารละลาย  NaOH  เข้มข้น  	
	 0.10 mol/dm3 ที่จุดสมมูลสารละลายมี  pH เท่าใด       ก�ำหนด  Kb ของ NO2 = 2.0 x 10−11
	 ก.	 6	 	 	 ข.	 7
	 ค.	 8	 	 	 ค.	 9
	 จ. 11
35.	 เมื่อน�ำสารละลาย   FeSO4   มา  10.00  cm3  ไทเทรตด้วย   KMnO4   เข้มข้น  0.2  mol/dm3   พบว่าใช้
	 KMnO4  ไป  25.00  cm3  ปฏิกิริยาเคมีเกิดดังสมการ
	 KMnO4	 +	 H2SO4	+	 FeSO4	 K2SO4	+	 MnSO4	+	 Fe2(SO4)3	 +	H2O	 (สมการยังไม่ดุล)
	 สารละลาย  FeSO4  มีความเข้มข้นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเป็นเท่าใด  (กสพท. ม.ค.’56)
	 ก.	 1.52	 ข.	 7.6	 ค.	 14	 ง.	 15.2
	 จ.	 38
36.	 ก�ำหนดให้	
	 ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์รีดักชัน	 E0 (โวลต์)
	 Y3+	 +	 e-	 Y2+	 0.6
	 Y2+	 +	 e-	 Y+	 0.1
	 Y+	 +	 e-	 Y	 1.0
	 O2 	+	 4H+	 +	 4e-	 2H2O 	 1.23
12
	 ปฏิกิริยาเคมีสุทธิ  (สมการยังไม่ดุล)  ต่อไปนี้ ข้อใดเป็นไปได้  
	 ก.	 Y2+	 +	 H+	 +	 O2	 Y+	 +	 H2O
	 ข.	 Y2+	 +	 H+	 +	 O2	 Y	 +	 H2O
	 ค.	 Y2+	 +	 H+	 +	 O2	 Y3+	 +	 H2O
	 ง.	 Y2+	 +	 H2O		 	 Y+	 +	 H+	 +	 O2
	 จ.	 Y2+	 +	 H2O		 	 Y3+	 +	 H+	 +	 O2	
37.	 ก�ำหนดให้
	 E0(V)
	 MnO- (aq)   +   8H+ (aq)   + 5e-	 Mn2+(aq)   +   4H2O(l)	 +1.51
	 NO-(aq)   +   4H+(aq)   + 3e-	 NO(g)   + 2H2O(l)	 +0.96
	 Ag+(aq)   + e-	 Ag(s)	 +0.80
	 Cu2+(aq)  + 2e-	 Cu(s)	 +0.34
	 Al3+(aq)   + 3e-	 Al(s)	 -1.68
	 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ โดยใช้ข้อมูลที่ก�ำหนด
	 1.	 โลหะ  Ag  ละลายได้ในกรดไนตริก
	 2.	 โลหะ  Al เป็นตัวรีดิวซ์อ่อนที่สุด
	 3.	 Cu2+  สามารถออกซิไดส์  NO  ได้  แต่ไม่สามารถออกซิไดส์  Mn2+
	 ข้อใด  ถูกต้อง
	 ก.	 1  เท่านั้น	 ข.	 1  และ  2  เท่านั้น
	 ค.	 2  และ  3  เท่านั้น	 ง.	 1  และ  3  เท่านั้น
	 จ.	 1   2   และ  3
4
3
13
38.	 ก�ำหนดให้	 E0(V)
	 Cu2+(aq)	 +	 2e−	 Cu(s)	 +0.34
	 2H+(aq)	 +	 2e−	 H2(g)	 0.00
	 Zn2+(aq)	 +	 2e−	 Zn(s)	 −0.76
	 พิจารณาการทดลอง  (1)  และ  (2)  โดยจัดอุปกรณ์ดังรูป  และใช้หลอดไฟ  1.0  V
	 (1)	 (2)
	 ข้อใด ถูกต้อง
	 ก.	ทั้งการทดลอง   (1)   และ   (2)   แท่งสังกะสีบางลง   และเกิดแก๊สไฮโดรเจน
	 ข.	การทดลอง   (1)   เท่านั้นที่หลอดไฟสว่าง
	 ค.	การทดลอง   (2)   เท่านั้นที่หลอดไฟสว่าง
	 ง.	 ทั้งการทดลอง   (1)   และ   (2)   ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ
	 จ.	 หลอดไฟสว่างทั้งการทดลอง  (1)  และ  (2)  เนื่องจากศักย์ไฟฟ้าของเซลล์มากกว่า  1  V
39.	 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
	 1.	 การทาสีรั้วเหล็ก
	 2.	 เซลล์เชื้อเพลิงโพรเพน - ออกซิเจน
	 3.	 การผลิตน�้ำจืดโดยการท�ำอิเล็กโทรไดอะลิซิสน�้ำทะเล
	 4.	 การเพิ่มมูลค่าของช้อนเหล็กด้วยการเคลือบด้วยโลหะเงิน
	 ข้อใดเป็นประโยชน์ที่ได้จากการใช้หลักการของเซลล์อิเล็กโทรไลติก  (กสพท. ม.ค.’56)
	 ก.	1  และ  2	 ข.	2  และ   3	 ค.	3  และ  4	 ง.	1  และ  3
	 จ.	2  และ  4
มะนาว
หลอด
ไฟ
Zn Cu
หลอด
ไฟ
Zn Cu
1 M CH3COOH
14
40.	 ในการถลุงแร่ดีบุกจะใช้ถ่านโค้กท�ำปฏิกิริยากับแก๊ส  O2 ที่มีอยู่อย่างจ�ำกัดในเตาถลุง  เกิดเป็นแก๊ส  CO
	 ซึ่งจะรีดิวซ์แร่แคสซิเทอร์ไรต์  (มี  SnO2  ร้อยละ  65)  ถ้าใช้ถ่านโค้ก  480  kg  กับแร่แคสซิเทอร์ไรต์  465  kg
	 จะสามารถผลิตดีบุกได้กี่กิโลกรัม  
	 ก.	 51	 ข.	 238	
	 ค.	 302	 ง.	 366	 	
	 จ.	 384
41.	 ถ้าต้องการผสมปุ๋ ยสูตร  15 - 15 - 15  จ�ำนวน  100  kg  จากปุ๋ ย  1,  2  และ  3  ซึ่งมีสูตรปุ๋ ยดังนี้
	 1. 46 - 0 - 0	 2. 18 - 46 - 0	 3. 0 - 0 - 60
	 จะต้องใช้ปุ๋ ยแต่ละสูตร  และสารเติมเต็มอย่างละกี่กิโลกรัม   (กสพท. ม.ค.’56)
	 1) 46 - 0 - 0 , kg	 2) 18 - 46 - 0 , kg	 3) 0 - 0 - 60 , kg	 สารเติมเต็ม , kg
	 ก.	 32.0	 23.0	 30.0	 15.0
	 ข.	 19.9	 32.6	 25.0	 22.5
	 ค.	 32.6	 32.6	 25.0	 9.8
	 ง.	 32.6	 32.6	 32.6	 2.2
	 จ.	 23.0	 23.0	 30.0	 24.0
42.	 สารทุกสารในแต่ละข้อเป็นไอโซเมอร์กัน ยกเว้น ข้อใด  
	 ก.
	 ข.
	 ค.
	 ง.
	 จ.
15
43.	 เมื่อเผาไฮโดรคาร์บอน  A  0.5  โมล  อย่างสมบูรณ์จะได้ผลิตภัณฑ์เป็น  CO2  และน�้ำ อย่างละ  1  โมล
	 ข้อใดถูกต้อง
	 ก.	 A  มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง
	 ข.	 A  มีบางไอโซเมอร์เป็นไซโคลแอลเคน
	 ค.	 A  เป็นแอลคีนที่ไม่มีไอโซเมอร์เรขาคณิต
	 ง.	 A  จะฟอกจางสีโบรมีนได้ในที่สว่างให้แก๊ส  HBr
	 จ.	 A  0.5  mol  จะเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ต้องใช้ออกซิเจนอย่างน้อย  2  โมล
44.	 ถ้าสาร  A  คือ  เมทิลโพรพาโนเอต  สาร  B  คือ  กรดโพรพาโนอิก  และสาร  C  คือโพรพานาไมด์	ข้อใดผิด
	 ก.	 จุดเดือดของ  C > B > A
	 ข.	 ความสามารถในการละลายน�้ำของ  B > C > A
	 ค.	 ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของสาร  A  ได้ผลิตภัณฑ์หนึ่งเป็นสาร  B
	 ง.	 มีสารมากกว่าหนึ่งชนิดที่ละลายในน�้ำแล้วไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส
	 จ.	 มีสารอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่ท�ำปฏิกิริยากับกรดได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือ
45.	 การระบุชื่อปฏิกิริยาในข้อใด ผิด
	 ก.	ปฏิกิริยาการแทนที่
	 ข.	ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส
	
	 ค.	ปฏิกิริยาการเติม
	 ง.	 ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน
	 O
	 R - C - OCH2
	 O	 O	 CH2-OH
	 R - C - OCH +   3NaOH	 3R - C - O-Na+ + CH - OH
	 O	 CH2-OH
	 R - C - OCH2
	 จ.	 ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน
	 n	CF2 = CF2	 ( CF2- CF2 )n
Br2
FeBr3
Br
H+
CH3CH2OH
OCH3 OCH2CH3
O O
H2
Pd C
OCH3
O O
OCH3
16
46.	 พิจารณาข้อความต่อไปนี้  ข้อใดผิด
	 ก.	 ไกลโคเจนจัดเป็นพอลิเมอร์เอกพันธุ์
	 ข.	 ไบโอดีเซลผลิตจากน�้ำมันพืชหรือน�้ำมันสัตว์ก็ได้
	 ค.	 อิพอกซีเรซินจัดเป็นผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นกลาง
	 ง.	 ปรากฏการณ์ยูโทรฟิเคชันเป็นสาเหตุให้ปริมาณออกซิเจนในน�้ำลดลง
	 จ.	 กระบวนการรีฟอร์มมิงท�ำให้เกิดสารไฮโดรคาร์บอนโซ่กิ่งหรือไฮโดรคาร์บอนชนิดอะโรมาติก
	 	 ขึ้นอยู่กับโครงสร้างของสารตั้งต้น
47.	 พอลิเมอร์  A  มีลักษณะดังนี้
	 1.	 แข็ง  เหนียว  ทนต่อความชื้น  สารเคมี  และเชื้อรา
	 2.	 เมื่อเกิดการเผาไหม้จะให้แก๊สที่ระคายเคืองต่อระบบหายใจและสารละลายของแก๊สนี้
	 	 สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน�้ำเงินเป็นแดง
	 3.	 เป็นพอลิเมอร์ชนิดเทอร์มอพลาสติก
	 ข้อใดน่าจะเป็นพอลิเมอร์  A  
	 ก.	พอลิอะคริโลไนไตรล์	 ข.	พอลิสไตรีน
	 ค.	พอลิฟินอล -	 	 	 ง.	พอลิเมลามีน -
	 ฟอร์มาลดีไฮด์	 ฟอร์มาลดีไฮด์
	 จ.	พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต
48.	 พิจราณาสูตรโครงสร้างเพปไทด์ต่อไปนี้
	 CONH2	 OH
	 (CH2)2	
H
	 H	
H
	 CH2	
H
	 H
	 H2N	 CO - N	 CO - N	 CO - N	 COOH
	 H	 CH2	 H	 CH3
	 CONH2
( CH2 CH )n
	 CN
( CH2 CH )n
	
NH
NHHN
N N
N
n	
( C C OCH2 CH2 )n
O O
O
C
O
n
17
	 ข้อใดผิด
	 ก.	 โมเลกุลนี้จัดเป็นเททระเพปไทด์
	 ข.	 ข้อมูลที่แสดงเป็นโครงสร้างปฐมภูมิ
	 ค.	 เพปไทด์นี้ประกอบด้วยกรดอะมิโน   3   ชนิด
	 ง.	 เพปไทด์นี้ให้สารสีน�้ำเงินม่วงกับปฏิกิริยาการทดสอบไบยูเร็ต
	 จ.	 ถ้าสลับต�ำแหน่งของกรดอะมิโน  จ�ำนวนไอโซเมอร์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดเท่ากับ   24
49.	 เมื่อทดลองน�ำเอนไซม์ไปต้มที่   80  oC  แล้วท�ำให้เย็นลงจนถึงอุณหภูมิห้อง  พบว่าเอนไซม์นั้น
	 จะสูญเสียความสามารถในการเร่งปฏิกิริยา  พิจารณาค�ำอธิบายต่อไปนี้
	 1.	 โครงสร้างปฐมภูมิของเอนไซม์ถูกท�ำลาย
	 2.	 พันธะเพปไทด์ในเอนไซม์มีการจัดเรียงตัวใหม่
	 3.	 โครงสร้างในสามมิติของเอนไซม์เปลี่ยนไปจนไม่สามารถท�ำงานได้
	 4.	 ผลการทดลองผิดพลาดเพราะเมื่อท�ำให้เย็นลงเอนไซม์ควรจะท�ำงานได้ตามปกติ
	 ข้อใด  ถูกต้อง
	 ก.	 1  เท่านั้น	 ข.	 2 เท่านั้น	 ค.	3	 ง.	 4
	 จ.	 1  และ  2
50.	 พิจารณาข้อความต่อไปนี้  ข้อใด ถูกต้อง
	 ก.	 น�้ำมันมะกอกเหมาะที่จะน�ำไปใช้ในการทอดอาหาร
	 ข.	 นิวคลีโอไทด์ประกอบด้วยหมู่ฟอสเฟต  น�้ำตาลเพนโทส  และเบสที่มีไนโตรเจน
	 ค.	 ไคติน  เป็นโปรตีนที่พบในเปลือกกุ้ง  กระดองปู  และแกนปลาหมึก
	 ง.	 การเติมน�้ำผลไม้ในน�้ำนมถั่วเหลือง  จะท�ำให้เกิดการจัดเรียงตัวใหม่ของกรดอะมิโนในโปรตีนที่มี
	 	 ในน�้ำนมถั่วเหลือง
	 จ.	 เมื่อเติมสารละลายโบรมีนลงในน�้ำมันงาหรือน�้ำมันหมูจะเกิดการฟอกจางสีโบรมีน  โดยถ้าใช้น�้ำมัน
	 	 ทั้งสองชนิดปริมาณเท่าๆกัน  น�้ำมันหมูจะใช้ปริมาณสารละลายโบรมีนมากกว่า
18
เฉลยข้อสอบ กสพท ม.ค.56
	 1.  ง	 2.   ง	 3.  ข	 4.  จ	 5.  ข	 6.  ข	 7.   ก	 8.  ง	 9.   ค	 10.  จ
	 11.  ข	 12.   ข	 13.   ง	 14.  ง	 15.  ง	 16.  ค	 17.   จ	 18.  ง	 19.   ก	 20.  ข
	 21.  ง	 22.   จ	 23.   จ  	 24.  ก	 25.  ง	 26.  ค	 27.   ข	 28.  จ	 29.   ง	 30.  ข
	 31.  ง	 32.   ก	 33.   ข	 34.  ค	 35.  จ	 36.  ค	 37.   ก	 38.  ก	 39.   ค	 40.  ข
	 41.  ข	 42.   จ	 43.   ค	 44.  จ	 45.  ข	 46.  ค	 47.   ก	 48.  ค	 49.   ค	 50.  ข
1.		 2H	 14A	 15N	 1	 77	 7
	 ดิวทีเรียม	 	 ธาตุ  A	 	 ไอโซโทปของธาตุ  A
2.	 86X	 2	 8	 18	 32	 18	 8	 เป็นธาตุหมู่ 8
3.	 X,  Y,  Z  เป็นธาตุหมู่   1,  6,  5   โดย   X   คือ  Na,   Y   คือ   O,   Z   คือ   N
	 ข้อ ก. Na2O	 ข้อ ค. NO2	 ข้อ ง. N2O  เป็นสูตรที่ถูกต้อง
	 ข้อ ง. สูตรที่พบโดยทั่วไป  คือ  Na2O  แสดงสูตรแบบจุด
	 	      ได้ดังนี้	 Na2O2	 2Na+ +	 O	
2-
	 	      ส่วน  Na2O2  สามารถเกิดได้  เนื่องจากออกซิเจนที่เข้าไปเพิ่มอีก 1 ตัว สามารถเกิดโคออร์ดิเนตได้ดังนี้
	 Na2O2	 2Na+ +	 O	 O	
2-
	 ข้อ ข. สูตรที่พบโดยทั่วไป คือ Na3N  แสดงสูตรแบบจุด  ได้ดังนี้	 Na3N	 3Na+   +	 N	
3-
	 	      ส่วน  Na3N2  เกิดไม่ได้  เนื่องจากไนโตรเจนที่เข้าไปเพิ่มอีก 1 ตัว มีเวเลนต์อิเล็กตรอนไม่ครบ  8
	 Na3N2	 3Na+ +	 N	 N	
3-
	
4.	 q1   เป็น	 	 ,   q2   เป็น	 	 ,  q3   เป็น	    	 ,   q4   เป็น
5.	 H2 + Cl2	 2HCl	 DH = -185  kJ	 2X  - 675	 =	 185
	 435	 240	 2X	 คาย 185	        X	 	 =	 430
	 H	 H
	 H-C-H + 3Cl2	 Cl-C-Cl + 3H-Cl  (ปฏิกิริยาแทนที่ของ  Alkane)
	 H	 Cl
	 H	 H
	 H-C-H + 3Cl-Cl	 Cl-C-Cl + 3H-Cl
	 H	 Cl
	 1,230	 720	 975	 1,290
	 1,950	 2,265
19
6.	 ขั้นที่  1  เติม  HCl       จะได้ตะกอน   AgCl   แล้วกรองตะกอนออก
	 ขั้นที่   2  เติม  H2SO4  จะได้ตะกอน  BaSO4 แล้วกรองตะกอนออก
7.	 Q  =  KI   ,   R  =  KCl   ,   S  =  KBr
	 เรียงความสามารถในการออกซิไดส์	 Cl2 >  Br2 >  I2
	 เรียงความสามารถในการรีดิวซ์	 I- >  Br- > Cl-
8.	
สาร	 ประจุเชิงซ้อน
	 เลข oxidation	
รวม
			 ของอะตอมกลาง
	 +2
	 Na2[ZnO2]2-	 -2	 +2	 0
	 +3
	 K3[Mn(CN)6]3-	 -3	 +3	 0
	 +2
	 Ba2[Fe(CN)6]-4	 -4	 +2	 -2
	 +3
	 [Cr(H2O)5Cl]2+SO4	 +2	 +3	 +5
	 +3
	 [Co(NH3)4SO4]+NO3	 +1	 +3	 +4
9.	 สลายตัว  99.95%  (เริ่ม 100 - เหลือ 0.05)
	 2n	 =	 100	 =	 2,000	 T	 =	 17 x 11	 =	 187  วัน
	 	 	 0.05
	 2n	 =	 2 x 103		 	 187	 =	 6.2  เดือน
	 log2n	 =	 log2 x 103		
30
	 nlog2	 =	 3 +  log2
	 0.3n	 =	 3 + 0.3
	 n	 =	 3.3	 =	 11	 	 	 0.3
10.	 (a)	 (x)	 (b)
	 Cu + S	 CuS
	 (z)
	 CuS + O2	 CuO + SO2
	 SO2 + H2O	 H2SO3
	 (a)
	 Cu +   4HNO3	 Cu(NO3)2 +   2NO2 + 2H2O
11.	
N	    =	
(1 x 0.01 x 1,000)  +  (1 x 0.2 x 50)
                                                  500
20
12.	 H2O2 + 2H+ +   2I-	 I2 + 2H2O
	 I2 + 2S2S3
2-	 2I- + S4O6
2-
	 1H2O2	 =	 2S2O3
2-
	 aN1V1	 =	 bN2V2
	 2 x % x 10   x  1	 =	 1 x 0.1 x 15
	 34
13. M =
4.5  x  1,000  x  5	 =	 112.5100  x  2
14.       BaCl2.2H2O	 BaCl2 + 2H2O	
%  ของ  KCl    =	
2.56  x  100
	 x	    =	    0.36	                                          50
	 244                   	   36
	 BaCl2.2H2O	 =	    2.44	 %  ของ KCl	 =	 51.2
	 KCl	 =	 5 -  2.44	=	 2.56
15.	                  PV	    =	 nRT	 	 2LiOH	 +	 CO2 	 Li2CO3 + H2O
	 	 1  x  6.15       =	     n  x  0.082  x  300	 	 x	 =	 0.25
		 n =	     0.25	 	 48	 	   1	
	 x	 =	 12
16.	 C6H12O6	 2CO2 	 + 	2C2H5OH	 	
x	 =	 5,400  g
	   x	 =	 2,760
	 180	 	 92	 	 x	 =	 5.4  kg	
17.	 BaCl2  เป็นพันธะไอออนิก  เพียงตัวเดียว
18.	 ไม่มีเฉลยละเอียด
19.	 ที่อุณหภูมิคงที่  PV ∝ n  จึงแทนค่า PV ในปฏิกิริยาต่อไปนี้
		 O2		 +	 2NO	 2NO2	 จ�ำนวนโมลของ  O2  ที่เหลือ
	 มี	   2		 	 2		    0 	 n	 =	 PV	 =	 1	 =	 0.04  mol
			 -			 -		 +	 RT	 	 24.6
	 ใช้	   1		 	 2		    2	 จ�ำนวนโมลของ  NO2  ที่เกิดขึ้น
	 เหลือ	   1		 	 0		    2	 n	 =	 PV		=	 2	 =	 0.08  mol	
						
RT	 	24.6
	 *  ส�ำหรับข้อ  ข,  ค  ความดันของแก๊สหรือความดันเฉลี่ยในภาชนะ
	 (O2)	 (NO2)
	 PรวมVรวม	 =	 P1V1 + P2V2
	 Pรวม	 =	 1 + 2	 =	 0.5  atm
		 	 6
21
20.	 ก�ำมะถันมีผลึกเป็นผลึกโมเลกุล ไม่ใช่ ผลึกโคเวเลนต์และก�ำมะถันทั้ง 2 อันยรูปมีสูตรเดียวกันเกิดปฏิกิริยาได้
	 เหมือนกัน
21. 	 RN2O5
	 =
∆N2O5	
		 	
∆T
	 	
	 1.7 x 10-3	 =	 6 -  x				 	
	
3,000
	
x        =          0.9
22. 	 Mg + 2HCl		 MgCl2 + H2
	
Rปฏิกิริยา	 =
	 1	 ∆HCl
	 2	 ∆T
	 Rปฏิกิริยา	 =
	 1 x 0.3	 =     2.5  x  10-3
	 	 	 2	 60
23.	 •	 จากนาทีที่  0 - นาทีที่ 1 มีการใช้ และ การเกิดขึ้น  ท�ำให้สามารถหาสมการที่ดุลได้ดังนี้	
	 1A	 +	 3B	 4C	 +	 2D
	 0.2  x  10-2	 0.6  x  10-2	 0.8  x  10-2	 0.4  x  10-2
	 •	 X  =  1.2  x  10-2	 Y  =  0.65  x  10-2	 Z  =  0.7  x  10-2
	 •	 ข้อ  จ.  ถูก  เพราะโมลของ  A + B = 7  x  10-3 +  11  x  10-3 = 18  x  10-3  mol
	 โมลของ  C + D  = 12  x  10-3 +  6  x  10-3 = 18  x  10-3  mol
24.	 พลังงานที่เปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยา  เท่ากับ   E2 - E1
25.	 สมการที่  3	 =	 ( สมการที่  2  x 	1 )  -  (  สมการที่  1 )
		 2	
27.	 ข้อ  1   ถูก	 K  ∝ T  แสดงว่า  เป็นระบบดูดความร้อน  ∴ปฏิกิริยาผันกลับต้องเป็นคายความร้อน
	 ข้อ  3   ถูก	 ที่  25oC  ค่า  K  ต�่ำ  แสดงว่า  ผลิตภัณฑ์เกิดน้อย  เหลือสารตั้งต้นมาก
28.	 การเพิ่มความดันสมดุล  จะเลื่อนไปทางโมลที่น้อยกว่า
	 1.	 3O2	 2O3	 (	 )	
	 2.	 2CuO(s)	         2Cu(s) + O2 (            )
	 3.	 2CO + O2	 2CO2	(	 )	
	 4.	 CO + H2O(l)	       CO2 + H2	(             )
22
29.	 สารแอมโฟเทอริก  คือ  สารที่เป็นได้ทั้ง  กรดและเบส  กล่าวคือ  รับ  H+ หรือจ่าย   H+ ก็ได้
30.	 [OH-] = √ Kb . N  
31.   สารเข้มข้นหรือเจือจาง ค่า  K  เท่ากัน
	 %√ N              = %√ N
           3   x   √ 0.01         = %√ 0.0025
	 % = 6
32.	 ประมาณค่า   pH  ได้  6.8 - 8.4
33.	 KCN  +  HNO3	   KNO3 + HCN	 ส�ำหรับข้อ  ง.  เป็นสารที่ไม่ท�ำปฏิกิริยากัน
	 (เกลือของกรดอ่อนเหลือ และมีกรดอ่อนเกิดขึ้น)
34.	 หา  pH  ของเกลือ  NaNO2
	 [OH-]	 =	 2  x  10-11  x  0.1  x  100
	 200
		 [OH-]	 =	 10-6
	 pH	 =	 8
	 5  x  2  =  10
	 +7	 +2	 +2	 +3
35.	 2KMnO4	 +	 8H2SO4	 +	 10FeSO4	 K2SO4	 +	 2MnSO4	 +	 5Fe2(SO4)3	 +	 8H2O
	 1  x  2  = 2
	 1KMnO4	 =	 5FeSO4
	 aN1V1	 =	 bN2V2
	
5  x  0.2  x  25	 =
	 1  x  %  x  10  
x  10
	 152
36.	 ปฏิกิริยาที่เกิดได้  คือ  สมการที่มีค่า  E0  สูงกว่า  จะท�ำหน้าที่รับอิเล็กตรอน  ส่วนสมการที่มีค่า  E0  ต�่ำกว่า
	 จะท�ำหน้าที่จ่ายอิเล็กตรอน
37.	 พิจารณาเหมือนข้อ  36
38.	 -	 Zn  มีค่า  E0  ต�่ำ  จะจ่ายอิเล็กตรอนแล้วเกิดการผุกร่อน  ดังสมการ  Zn	 Zn2+ + 2e-
	 -	 H+ ในสารละลายกรด  (มะนาวหรือ  CH3COOH)  จะรับอิเล็กตรอนเกิดเป็นแก๊ส  H2  ดังสมการ
		 2H+ + 2e-	 H2
39.	 เซลล์อิเล็กโทรไลติก  เป็นเซลล์ที่ต้องผ่านกระแสไฟฟ้าลงไป  เพื่อแยกสารเคมีออกจากกัน
	 เช่นเดียวกับเซลล์ในข้อ  3  และ  ข้อ  4
23
40.	 2C	 +	 O2	 2CO
	 SnO2	 +	 2CO	 Sn	 +	 2CO2
	 2C	 +	 SnO2	 Sn
	 480	 465  x  0.65	 =	 X
	 24	 151	 119
	 (N)	 (P)	 (K)
41.  ต้องการปุ๋ ยสูตร	 15 - 15 - 15
	 	พิจารณาจากปุ๋ ยที่  3  ก่อน เพราะมีเฉพาะปุ๋ ย  K  เท่านั้น
	 	 ต้องการ	 60  kg  ต้องเอาปุ๋ ยมา	 =	 100  kg
	 ∴	ถ้าต้องการเพียง	 15  kg  ต้องเอาปุ๋ ยมา	 =	 25  kg
	   พิจารณาจากปุ๋ ยที่  2  เพราะมีปุ๋ ย  P  ที่ไม่ซ�้ำปุ๋ ยอื่น ๆ
	 	 ต้องการ	 46  kg  ต้องการเอาปุ๋ ยมา	 =	 100  kg
	 ∴ถ้าต้องการเพียง	 15  kg  ต้องเอาปุ๋ ยมา	 =	 32.6  kg
	   ส�ำหรับปุ๋ ย  N  ไม่ต้องค�ำนวณแล้ว  เพราะปุ๋ ย  N  มีอยู่ในปุ๋ ยที่  1  เท่ากับ  46%  และมีในปุ๋ ยที่  2  อีก  18%  
	 ดังนั้น  การตักปุ๋ ยที่  1  มา  ต้องมีปริมาณไม่ถึง  32.6  kg
42.	 	 กับ	 เป็นสารตัวเดียวกัน	
43.	ใช้กฎเกย์ลูสแซก­กับอโวกาโดร  แล้วดุลสมการตัวที่เหลือ
	 1C2H4	 +	 3O2	 2CO2	 +	 2H2O	 H	 H
	 0.5	 :	 1	 :	 1	 C = C
	 1	 :	 2	 :	 2	 H	 H
44.	สารที่โจทย์ก�ำหนดให้ไม่มีสารใดเป็นสารประกอบ  Amine  (เบส)  จึงไม่มีสารที่ท�ำปฏิกิริยากับกรดแล้วได้ผลิตภัณฑ์
	 เป็นเกลือ
45.  ไม่มีเฉลยละเอียด
46.	อีพอกซีเรซิน  จัดเป็นผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นปลาย
47.  ไม่มีเฉลยละเอียด
48.  ไม่มีเฉลยละเอียด
49.  ไม่มีเฉลยละเอียด
50.  ไม่มีเฉลยละเอียด
ไม่สามารถเกิด isomer
เรขาคณิตได้

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54 ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54 Manatsawin Kongthong
 
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊Pathitta Satethakit
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48Unity' Aing
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumพัน พัน
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54 ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54
 
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 

Similar to 9 วิชาสามัญ เคมี 56

กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 25629GATPAT1
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 25609GATPAT1
 
Chem
ChemChem
Chemaom08
 
Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02SasipraphaTamoon
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Chicciiz Pu
 
เคมี Ent48
เคมี Ent48เคมี Ent48
เคมี Ent48Unity' Aing
 
008 pat 2
008 pat 2008 pat 2
008 pat 2konosor
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีWattana123456
 

Similar to 9 วิชาสามัญ เคมี 56 (20)

กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560
 
Chem
ChemChem
Chem
 
Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
Sk7 ch
Sk7 chSk7 ch
Sk7 ch
 
Sk7 ch
Sk7 chSk7 ch
Sk7 ch
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
เคมี Ent48
เคมี Ent48เคมี Ent48
เคมี Ent48
 
008 pat 2
008 pat 2008 pat 2
008 pat 2
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
 

More from อิ๋ว ติวเตอร์

More from อิ๋ว ติวเตอร์ (6)

9 common-62-social
9 common-62-social9 common-62-social
9 common-62-social
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
 
ข้อสอบ สสวท คณิต ป.3 ปี 2560
ข้อสอบ สสวท คณิต ป.3 ปี 2560ข้อสอบ สสวท คณิต ป.3 ปี 2560
ข้อสอบ สสวท คณิต ป.3 ปี 2560
 
ข้อสอบ สสวท วิทย์ ป.3 ปี 2560
ข้อสอบ สสวท วิทย์ ป.3 ปี 2560ข้อสอบ สสวท วิทย์ ป.3 ปี 2560
ข้อสอบ สสวท วิทย์ ป.3 ปี 2560
 
เฉลย สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6.ปี 2560
เฉลย สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6.ปี 2560 เฉลย สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6.ปี 2560
เฉลย สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6.ปี 2560
 
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
ข้อสอบ สสวท วิชาคณิตศาสตร์ ป.6 2560 (เฉลย)
 

9 วิชาสามัญ เคมี 56

  • 1. 1 ก�ำหนดมวลอะตอม H = 1 Li = 7 C = 12 O = 16 S = 32 Cl = 35.5 K = 39 Mn = 55 Fe = 56 Cu = 63.5 Sn = 119 Ba = 137 และค่าคงที่ของแก๊ส R = 0.082 L.atm/mol.K 1. ธาตุ A มีเลขอะตอมและเลขมวลเป็น 7 เท่าของดิวทีเรียม ข้อใดเป็นไอโซโทปที่เป็นไปได้ของธาตุ A ก. H - 2 ข. B - 7 ค. C - 14 ง. N - 15 จ. Si - 28 2. อะตอมของธาตุที่เสถียรที่สุดในคาบที่ 6 มีจ�ำนวนอิเล็กตรอนเท่าใด ก. 8 ข. 32 ค. 72 ง. 86 จ. 118 3. ก�ำหนดค่าพลังงานไอออไนเซชัน (MJ/mol) ของธาตุ X , Y , Z ดังตาราง IE1 IE2 IE3 IE4 IE5 IE6 IE7 X 0.425 3.058 4.418 5.883 7.982 9.660 11.349 Y 1.320 3.395 5.307 7.476 11.996 13.333 71.343 Z 1.407 2.862 4.585 7.482 9.452 53.274 64.368 ถ้า Y และ Z อยู่ในคาบที่ 2 ของตารางธาตุ สูตรของสารประกอบในข้อใดเป็นไปไม่ได้ ก. X2Y ข. X3Z2 ค. Y2Z ง. YZ2 จ. X2Y2 4. จากโครงสร้างของกลูตาไทโอนที่แสดง การเรียงล�ำดับมุมพันธะในข้อใด ถูกต้อง H H H N O S H O O N N OH H H O O ก. q1 < q2 < q3 < q4 ข. q3 < q4 < q1 < q2 ค. q4 < q1 < q2 < q3 ง. q4 < q1 < q3 < q2 จ. q1 < q4 < q3 < q2 q4 q1 q3 q2
  • 2. 2 5. ก�ำหนดให้ (1) พลังงานพันธะเฉลี่ย (kJ/mol) ( H - H = 435 C - H = 410 C - Cl = 325 Cl - Cl = 240 ) (2) ปฏิกิริยา H2 + Cl2 2 HCl DH = -185 kJ เมื่อแก๊สมีเทนท�ำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีนเกิดแก๊สไตรคลอโรมีเทน 1 mol จะดูดพลังงานหรือ คายพลังงานเท่าใด (กสพท. ม.ค.’56) ก. คายพลังงาน 210 kJ ข. คายพลังงาน 315 kJ ค. ดูดพลังงาน 62.5 kJ ง. ดูดพลังงาน 65 kJ จ. ดูดพลังงาน 157.5 kJ 6. สารตัวอย่างประกอบด้วยเกลือคาร์บอเนตของไอออน Ba2+ Mg2+ และ Ag+ ผสมกัน ถ้าต้องการแยก ไอออนทั้งสามชนิดออกจากกันจะต้องเติมรีเอเจนต์ และกรองตะกอนตามล�ำดับขั้นอย่างไร ขั้นที่ 1 รีเอเจนต์ที่เติม / กรอง ขั้นที่ 2 รีเอเจนต์ที่เติม / กรอง ก. HCl CH3COOH ข. HCl H2SO4 ค. CH3COOH HCl ง. H2SO4 HNO3 จ. HNO3 NaOH 7. เมื่อน�ำสารละลายโพแทสเซียมแฮไลด์ Q R และ S มาท�ำปฏิกิริยากับสารละลายแฮโลเจนใน CCl4 สังเกต สีในชั้นของ CCl4 ได้ดังตาราง สารละลาย สีในชั้น CCl4 I2 ใน CCl4 Cl2 ใน CCl4 Br2 ใน CCl4 Q ชมพูอมม่วง ชมพูอมม่วง ชมพูอมม่วง R ชมพูอมม่วง ไม่มีสี ส้ม S ชมพูอมม่วง ส้ม ส้ม
  • 3. 3 พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้ 1. สารละลาย S รีดิวซ์ Cl2 ได้ 2. สารละลาย R ท�ำปฏิกิริยากับ AgNO3 ได้ตะกอนสีขาว 3. สารละลาย R สามารถออกซิไดส์สารละลาย Q ได้ 4. สารละลาย Q ออกซิไดส์ I2 ได้ ข้อใด ถูกต้อง ก. 1 และ 2 เท่านั้น ข. 2 และ 3 เท่านั้น ค. 3 และ 4 เท่านั้น ง. 1 2 และ 3 จ. 2 3 และ 4 8. ถ้าน�ำประจุของไอออนเชิงซ้อนมารวมกับเลขออกซิเดชันของอะตอมกลางผลรวมในข้อใดมีค่ามากที่สุด ก. Na2[ZnO2] ข. K3[Mn(CN)6] ค. Ba2[Fe(CN)6] ง. [Cr(H2O)5Cl]SO4 จ. [Co(NH3)4SO4]NO3 9. Pd - 103 (ครึ่งชีวิต 17 วัน) ใช้ในการรักษาโรคมะเร็งได้ ถ้า Pd - 103 ที่บรรจุในแคปซูลสลายตัวไป 99.95% ถือว่าหมดประสิทธิภาพ แคปซูลนี้จะออกฤทธิ์ได้นานประมาณเท่าใด (ก�ำหนดให้1 เดือน มี 30 วัน) ก. 17 วัน ข. 5 เดือน ค. 6 เดือน ง. 7 เดือน จ. 24 สัปดาห์ 10. ของแข็ง A น�ำไฟฟ้าได้ ไม่ละลายในกรดทั่วไปยกเว้นกรดไนตริก เมื่อน�ำ A 10 g มาท�ำปฏิกิริยาพอดีกับ ธาตุ X 5 g ได้สารประกอบของแข็งสีด�ำ (B) ที่ไม่น�ำไฟฟ้าและมีองค์ประกอบของ A และ X ในอัตรา ส่วนโมลที่เท่ากัน เมื่อน�ำ B ทั้งหมดไปเผากับออกซิเจนมากเกินพอ จะได้สารประกอบออกไซด์ (Z) และ แก๊ส XO2 10 g เมื่อผ่านแก๊สนี้ลงในน�้ำ พบว่า สารละลายเป็นกรด ข้อใด ถูกต้อง ก. ธาตุ X เป็นอโลหะ อยู่หมู่ IV A ข. ของแข็ง A เป็นโลหะอยู่หมู่ II A ค. ของแข็ง A และ B เป็นสารประกอบไอออนิก ง. สารประกอบออกไซด์ Z ละลายน�้ำได้สารละลายกรด จ. ของแข็ง A ละลายได้ในกรดไนตริก แล้วให้แก๊สที่เมื่อละลายในน�้ำมีสมบัติเป็นกรด 11. น�ำ CuCl2 1.345 g ผสมกับสารละลาย CuSO4 เข้มข้น 0.2 mol/dm3 ปริมาตร 50.00 cm3 เติมน�้ำแล้วปรับ ปริมาตรเป็น 500 cm3 สารละลายที่ได้มีความเข้มข้นของ Cu2+ กี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (กสพท’ม.ค.56) ก. 0.02 ข. 0.04 ค. 0.10 ง. 0.22 จ. 0.40
  • 4. 4 12. เมื่อน�ำสารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ปริมาตร 1.0 cm3 มาท�ำปฏิกิริยากับสารละลายไอโอไดด์ในภาวะ ที่เป็นกรดจะได้ไอโอดีน แล้วไทเทรตหาปริมาณไอโอดีนที่เกิดขึ้นด้วยสารละลาย Na2S2O3เข้มข้น 0.10 mol/dm3 พบว่าที่จุดยุติใช้ Na2S2O3 ปริมาตร 15.0 cm3 ปฏิกิริยาเคมีเกิดดังสมการ (สมการยังไม่ดุล) H2O2 + H+ + I- I2 + H2O I2 + S2O3 I- + S4O6 ความเข้มข้นของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเป็นเท่าใด ก. 2.2 ข. 2.6 ค. 4.4 ง. 5.1 จ. 10.2 13. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งมวล 4.5 g ละลายในเบนซีน 100 g พบว่า สารละลายมีจุดเยือกแข็ง 3.5 oC ส่วนเบนซีนบริสุทธิ์มีจุดเยือกแข็ง 5.5 oC และมีค่าคงที่ของการลดลงของจุดเยือกแข็งเป็น 5.0 oC/m สูตรโมเลกุล ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้ควรเป็นอย่างไร ก. C3H6 ข. C5H6 ค. C8H12 ง. C8H16 จ. C9H16 14. สารตัวอย่างชนิดหนึ่งมี BaCl2 • 2H2O และ KCl เป็นองค์ประกอบ เมื่อเผาสารตัวอย่างนี้มวล 5.00 g ที่ 160oC เป็นเวลา 1 ชั่วโมง จะเกิดการสูญเสียน�้ำอย่างสมบูรณ์ และพบว่า มีมวลคงเหลือ 4.64 g สารตัวอย่างนี้มี KCl ร้อยละโดยมวลเป็นเท่าใด ก. 9.6 ข. 24.5 ค. 48.8 ง. 51.2 จ. 58.4 15. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ท�ำปฏิกิริยากับลิเทียมไฮดรอกไซด์ได้ดังสมการ LiOH(s) + CO2(g) Li2CO3(s) + H2O(l) (สมการยังไม่ดุล) ถ้าในระบบนี้มีปริมาตร 100 dm3 และมี CO2 ปนอยู่ในอากาศร้อยละ 6.15 โดยปริมาตรที่อุณหภูมิ 27oC และความดัน 760 mmHg เพื่อให้ปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ์ ต้องใช้ลิเทียมไฮดรอกไซด์กี่กรัม ก. 3.0 ข. 3.3 ค. 6.0 ง. 12.0 จ. 33.3 16. ปฏิกิริยาการผลิตเอทานอลจากกลูโคสเกิดขึ้นดังสมการ (กสพท ม.ค.’56) C6H12 O6 CO2 + C2 H5OH ถ้าต้องการผลิตเอทานอลที่มีความหนาแน่น 0.8 g/cm3 ปริมาตร 3.45 dm3 ต้องใช้กลูโคสกี่กิโลกรัม ก. 2.7 ข. 3.6 ค. 5.4 ง. 8.4 จ. 10.8 17. ชนิดของพันธะในสารข้อใด แตกต่างจากสารในข้ออื่น ก. เพชร (C) ข. แร่ควอตซ์ (SiO2) ค. น�้ำแข็งแห้ง (CO2) ง. คลอโรฟอร์ม (CHCl3) จ. เกลือแบเรียมคลอไรด์(BaCl2) 2- 2-
  • 5. 5 18. พิจารณาของเหลว 3 ชนิด ที่มีสมบัติดังต่อไปนี้ สาร มวลโมเลกุล จุดเดือด (oC) A 38 56 B 120 62 C 50 120 สารที่มีความดันไอต�่ำสุดและสารที่มีอัตราการแพร่ของแก๊สสูงสุด ข้อใด ถูกต้อง ความดันไอต�่ำสุด อัตราการแพร่ของแก๊สสูงสุด ก. A A ข. B C ค. C B ง. C A จ. A B 19. O2 NO 2.0 dm3 4.0 dm3 1.0 atm 0.5 atm 300 K 300 K จากรูป ที่สภาวะเริ่มต้นแก๊ส NO และแก๊สออกซิเจนถูกเก็บแยกกัน เมื่อดึงแผ่นกั้นตรงกลางออก แก๊สจะผสมกัน และเกิดปฏิกิริยาได้แก๊ส NO2 ถ้าปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ ข้อใด ถูกต้อง ก. มีแก๊สออกซิเจนเหลืออยู่0.04 mol ข. ความดันของแก๊สในภาชนะเท่ากับ 0.66 atm ค. ความดันเฉลี่ยของแก๊สในภาชนะเท่ากับ 0.75 atm ง. ในภาชนะมีแก๊สอยู่3 ชนิด และมีจ�ำนวนโมลรวมเท่ากับ 0.162 จ. แก๊สทั้งสองท�ำปฏิกิริยากันหมดพอดีได้ NO2 0.081 mol
  • 6. 6 20. พิจารณาข้อสรุปเกี่ยวกับก�ำมะถันรอมบิก และก�ำมะถันมอนอคลินิก ต่อไปนี้ 1. เป็นผลึกโคเวเลนต์เช่นเดียวกัน 2. มีความหนาแน่นไม่เท่ากัน 3. เกิดปฏิกิริยาแตกต่างกัน 4. ประกอบด้วยไอโซโทปซัลเฟอร์ต่างชนิดกัน 5. อะตอมซัลเฟอร์ต่อกันมีลักษณะเป็นวงเหมือนกัน ข้อใด ถูกต้อง ก. 1 และ 5 ข. 2 และ 5 ค. 1 และ 2 เท่านั้น ง. 1 2 และ 3 จ. 2 3 และ 4 21. เมื่อติดตามการสลายตัวของ N2O5 ในปฏิกิริยา 2N2O5(g) 4NO2(g) + O2(g) ได้ผลดังนี้ เวลา (s) ความเข้มข้นของ N2O5 (mol/dm3) 0 6.0 1,000 2.8 2,000 1.2 3,000 X ถ้าอัตราการสลายตัวเฉลี่ยของ N2O5 เป็น 1.7 x 10-3 mol/dm3.s X มีค่าเท่าใด ก. 0.3 ข. 0.4 ค. 0.8 ง. 0.9 จ. 1.1 22. เมื่อน�ำแมกนีเซียม 9.6 g ท�ำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 3 mol/dm3 ปริมาตร 100 cm3 เมื่อเวลาผ่านไป 1 นาที พบว่ากรดท�ำปฏิกิริยาหมดพอดีแต่มีแมกนีเซียมเหลืออยู่จ�ำนวน หนึ่ง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยในหน่วย mol/s มีค่าเท่าใด ก. 0.15 ข. 0.05 ค. 6.7 x 10-3 ง. 5.0 x 10-3 จ. 2.5 x 10-3
  • 7. 7 23. ก�ำหนดให้ สาร A และ B ท�ำปฏิกิริยากันได้สาร C และ D เมื่อผสมสารละลาย A กับสารละลาย B อย่างละ 50 cm3 จับเวลาหลังจากผสมสารตั้งต้นเป็นนาที (min) และวิเคราะห์จ�ำนวนโมลของสารใน สารละลาย 100 cm3 ได้ผลดังนี้ เวลา จ�ำนวน mol ของสาร (min) A B C D 0 1.0 x 10-2 2.0 x 10-2 0 0 0.5 8.0 x 10-3 1.4 x 10-2 8.0 x 10-3 4.0 x 10-3 1.0 7.0 x 10-3 1.1 x 10-2 X 6.0 x 10-3 1.5 Y 9.5 x 10-3 1.4 x 10-2 Z ข้อใด ถูกต้อง ก. ความเข้มข้น(ในหน่วย mol/dm3) ของ X > Y > Z ข. อัตราเฉลี่ยของการเกิดปฏิกิริยานี้เท่ากับ 7.0 x 10-3 mol/dm3.min ค. ช่วง 0 - 0.5 นาที อัตราการลดลงของ A เท่ากับอัตราการเพิ่มขึ้นของ C ง. สมการเคมีของปฏิกิริยานี้ คือ A(aq) + 2B(aq) 2C(aq) + D(aq) จ. ที่เวลา 1 นาที จ�ำนวนโมลของสารตั้งต้นทั้งหมด (A + B) เท่ากับของผลิตภัณฑ์ทั้งหมด (C + D) 24. พิจารณากราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการด�ำเนินไปของปฏิกิริยาซึ่งประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ พลังงาน ขั้นตอนที่ 1 A B (E) ขั้นตอนที่ 2 B C การด�ำเนินไปของปฏิกิริยา ข้อใดผิด ก. พลังงานที่เปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาเท่ากับ E5 - E1 ข. สารที่อยู่ในสภาวะแทรนซิชันไม่เสถียร มีพลังงานสูง ค. พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาในขั้นตอนแรกมีค่าเท่ากับ E5 - E2 ง. สารเชิงซ้อนกัมมันต์ของขั้นตอนที่ 1 และ 2 มีพลังงาน E5 และ E4 ตามล�ำดับ จ. ปฏิกิริยาจะเกิดได้ เมื่ออนุภาคที่ชนกันจะต้องมีพลังงานอย่างน้อยเท่ากับ E5 - E2 E5 E4 E3 E2 E1 A B C
  • 8. 8 25. ก�ำหนดให้ ที่อุณหภูมิ 25 oC ปฏิกิริยา (1) (2) และ (3) มีค่าคงที่สมดุล K1 K2 และ K3 ตามล�ำดับดังนี้ 1 (1)A2(g) + 2 B2(g) A2B(g) K1 = X (2) 2BC(g) + B2(g) 2B2C(g) K2 = Y (3) A2B(g) + BC(g) A2(g) + B2C(g) K3 = ? ค่าคงที่สมดุล K3 มีค่าเท่าใด Y ก. 2Y X ข. 2 - X Y Y ค. X ง. X 26. บรรจุแก๊สไนโตรเจน 1.0 mol แก๊สไฮโดรเจน 3.0 mol และแก๊สแอมโมเนีย 0.2 mol ในภาชนะปิด ปริมาตร 2 dm3 ปฏิกิริยาเกิดขึ้นดังสมการ N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) ภายใต้อุณภูมิและความดันคงที่ พบว่าที่ภาวะสมดุลในภาชนะมีแก๊สแอมโมเนีย ร้อยละ 80 โดยโมล คิดเป็นความเข้มข้นของแก๊สแอมโมเนียกี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร ก. 0.05 ข. 0.40 ค. 0.98 ง. 1.96 จ. 3.36 27. ปฏิกิริยา CH4(g) + H2O(g) CO(g) + 3H2(g) มีค่าคงที่สมดุลที่อุณหภูมิต่างๆ ดังแสดง อุณหภูมิ, oC ค่าคงที่สมดุล 25 1.2 x 10-25 277 5.5 x 10-11 727 5.0 1227 22,261 √ Y จ. X2
  • 9. 9 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1. ปฏิกิริยาย้อนกลับเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน 2. ที่อุณหภูมิต�่ำกว่า 277 oC ที่ภาวะสมดุลระบบจะมีแก๊สไฮโดรเจนมากที่สุดและรองลงมาคือ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ 3. ที่อุณหภูมิ 25 oC ที่ภาวะสมดุลระบบจะมีแก๊สมีเทนมากกว่าที่อุณหภูมิ 1227 oC 4. ที่อุณหภูมิ 727 oC ที่ภาวะสมดุลระบบมีความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์มากกว่าแก๊ส ไฮโดรเจน ข้อใด ถูกต้อง ก. 1 และ 2 ข. 1 และ 3 ค. 2 และ 3 ง. 3 และ 4 จ. 1 และ 4 28. พิจารณาระบบต่อไปนี้ 1. การเกิดแก๊สโอโซนจากแก๊สออกซิเจนที่อุณหภูมิ 298 K 2. กระบวนการแยกโลหะทองแดงจากออกไซด์ของทองแดง (CuO) ซึ่งเป็นของแข็งและ มีแก๊สออกซิเจนเป็นผลิตภัณฑ์ร่วม ที่อุณหภูมิ 1350 K 3. ปฏิกิริยาออกซิเดชันระหว่างแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์กับแก๊สออกซิเจน ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่อุณหภูมิ 298 K 4. ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสระหว่างแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์กับน�้ำ ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สไฮโดรเจน ที่อุณหภูมิ 298 K ข้อใดที่เมื่อรบกวนสมดุลของระบบโดยการลดปริมาตร แล้วท�ำให้ระบบปรับตัวในทิศทางที่จะเกิด ปฏิกิริยาย้อนกลับมากขึ้น ก. 1 เท่านั้น ข. 4 เท่านั้น ค. 1 และ 2 ง. 1 และ 3 จ. 2 และ 4 29. ข้อใดที่ทุกโมเลกุลหรือไออนเป็นสารแอมโฟเทอริก ตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี ก. H PO- H2O SO2- ข. HSO- HSO- H3O+ ค. NH+ CH3O- H2O ง. H2O H2PO- HCO- จ. HPO2- HSO- S2- 4 4 4 4 4 4 3 3 3
  • 10. 10 30. ก�ำหนดให้ A B C และ D เป็นสารละลายเบสอ่อนที่มีความเข้มข้น 0.1 mol/dm3 เท่ากัน และมี pH ดังนี้ สารละลาย A B C D pH 8.5 9.6 11.7 10.2 การเรียงล�ำดับเบสอ่อนทั้งสี่ตามค่า Kb จากน้อยไปมาก ข้อใดถูกต้อง ก. A < B < C < D ข. A < B < D < C ค. C < D < A < B ง. C < D < B < A จ. D < C < B < A 31. สารละลาย XOH เข้มข้น 0.01 mol/dm3 แตกตัวร้อยละ 3 สารละลาย XOH เข้มข้น 0.0025 mol/dm3 แตกตัวได้ร้อยละเท่าใด ก. 0.75 ข. 3 ค. 4 ง. 6 จ. 12 32. เมื่อทดสอบสารตัวอย่างชนิดหนึ่งด้วยอินดิเคเตอร์ชนิดต่างๆได้ผลดังนี้ สีของอินดิเคเตอร์ใน อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สีที่เปลี่ยน สารตัวอย่าง น�้ำดอกอัญชัน 1 − 3 แดง - ม่วง ม่วง น�้ำดอกกล้วยไม้เหลือง 10 − 11 ไม่มีสี - เหลือง ไม่มีสี คองโกเรด 3 − 5 น�้ำเงิน - แดง แดง ฟีนอลเรด 6.8 − 8.4 เหลือง - แดง ส้ม เมทิลเรด 4.2 − 6.3 แดง - เหลือง เหลือง ของเหลวข้อใดมี pH ใกล้เคียงกับสารตัวอย่างมากที่สุด ก. น�้ำประปา (มี pH 6.5 − 8.0) ข. น�้ำฝน (มี pH 5.5 − 6.0) ค. น�้ำนมสด (มี pH 6.4 − 6.8) ง. น�้ำยาเช็ดกระจก (มี pH 10.5 − 11.0) จ. น�้ำอัดลม (มี pH 2.9 − 3.3)
  • 11. 11 33. เมื่อผสมสารละลาย A กับสารละลาย B ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน ในปริมาตรที่ก�ำหนดตามตาราง ข้อใดได้สารละลายบัฟเฟอร์ สารละลาย A สารละลาย B ก. HCOOH 100 cm3 NaOH 200 cm3 ข. KCN 200 cm3 HNO3 100 cm3 ค. NH3 100 cm3 HCl 200 cm3 ง. Na3PO4 200 cm3 NaOH 100 cm3 จ. NaHCO3 100 cm3 HNO3 200 cm3 34. การไทเทรตสารละลาย HNO2 เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริมาตร 100 cm3 ด้วยสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ที่จุดสมมูลสารละลายมี pH เท่าใด ก�ำหนด Kb ของ NO2 = 2.0 x 10−11 ก. 6 ข. 7 ค. 8 ค. 9 จ. 11 35. เมื่อน�ำสารละลาย FeSO4 มา 10.00 cm3 ไทเทรตด้วย KMnO4 เข้มข้น 0.2 mol/dm3 พบว่าใช้ KMnO4 ไป 25.00 cm3 ปฏิกิริยาเคมีเกิดดังสมการ KMnO4 + H2SO4 + FeSO4 K2SO4 + MnSO4 + Fe2(SO4)3 + H2O (สมการยังไม่ดุล) สารละลาย FeSO4 มีความเข้มข้นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเป็นเท่าใด (กสพท. ม.ค.’56) ก. 1.52 ข. 7.6 ค. 14 ง. 15.2 จ. 38 36. ก�ำหนดให้ ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์รีดักชัน E0 (โวลต์) Y3+ + e- Y2+ 0.6 Y2+ + e- Y+ 0.1 Y+ + e- Y 1.0 O2 + 4H+ + 4e- 2H2O 1.23
  • 12. 12 ปฏิกิริยาเคมีสุทธิ (สมการยังไม่ดุล) ต่อไปนี้ ข้อใดเป็นไปได้ ก. Y2+ + H+ + O2 Y+ + H2O ข. Y2+ + H+ + O2 Y + H2O ค. Y2+ + H+ + O2 Y3+ + H2O ง. Y2+ + H2O Y+ + H+ + O2 จ. Y2+ + H2O Y3+ + H+ + O2 37. ก�ำหนดให้ E0(V) MnO- (aq) + 8H+ (aq) + 5e- Mn2+(aq) + 4H2O(l) +1.51 NO-(aq) + 4H+(aq) + 3e- NO(g) + 2H2O(l) +0.96 Ag+(aq) + e- Ag(s) +0.80 Cu2+(aq) + 2e- Cu(s) +0.34 Al3+(aq) + 3e- Al(s) -1.68 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ โดยใช้ข้อมูลที่ก�ำหนด 1. โลหะ Ag ละลายได้ในกรดไนตริก 2. โลหะ Al เป็นตัวรีดิวซ์อ่อนที่สุด 3. Cu2+ สามารถออกซิไดส์ NO ได้ แต่ไม่สามารถออกซิไดส์ Mn2+ ข้อใด ถูกต้อง ก. 1 เท่านั้น ข. 1 และ 2 เท่านั้น ค. 2 และ 3 เท่านั้น ง. 1 และ 3 เท่านั้น จ. 1 2 และ 3 4 3
  • 13. 13 38. ก�ำหนดให้ E0(V) Cu2+(aq) + 2e− Cu(s) +0.34 2H+(aq) + 2e− H2(g) 0.00 Zn2+(aq) + 2e− Zn(s) −0.76 พิจารณาการทดลอง (1) และ (2) โดยจัดอุปกรณ์ดังรูป และใช้หลอดไฟ 1.0 V (1) (2) ข้อใด ถูกต้อง ก. ทั้งการทดลอง (1) และ (2) แท่งสังกะสีบางลง และเกิดแก๊สไฮโดรเจน ข. การทดลอง (1) เท่านั้นที่หลอดไฟสว่าง ค. การทดลอง (2) เท่านั้นที่หลอดไฟสว่าง ง. ทั้งการทดลอง (1) และ (2) ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ จ. หลอดไฟสว่างทั้งการทดลอง (1) และ (2) เนื่องจากศักย์ไฟฟ้าของเซลล์มากกว่า 1 V 39. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1. การทาสีรั้วเหล็ก 2. เซลล์เชื้อเพลิงโพรเพน - ออกซิเจน 3. การผลิตน�้ำจืดโดยการท�ำอิเล็กโทรไดอะลิซิสน�้ำทะเล 4. การเพิ่มมูลค่าของช้อนเหล็กด้วยการเคลือบด้วยโลหะเงิน ข้อใดเป็นประโยชน์ที่ได้จากการใช้หลักการของเซลล์อิเล็กโทรไลติก (กสพท. ม.ค.’56) ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3 ค. 3 และ 4 ง. 1 และ 3 จ. 2 และ 4 มะนาว หลอด ไฟ Zn Cu หลอด ไฟ Zn Cu 1 M CH3COOH
  • 14. 14 40. ในการถลุงแร่ดีบุกจะใช้ถ่านโค้กท�ำปฏิกิริยากับแก๊ส O2 ที่มีอยู่อย่างจ�ำกัดในเตาถลุง เกิดเป็นแก๊ส CO ซึ่งจะรีดิวซ์แร่แคสซิเทอร์ไรต์ (มี SnO2 ร้อยละ 65) ถ้าใช้ถ่านโค้ก 480 kg กับแร่แคสซิเทอร์ไรต์ 465 kg จะสามารถผลิตดีบุกได้กี่กิโลกรัม ก. 51 ข. 238 ค. 302 ง. 366 จ. 384 41. ถ้าต้องการผสมปุ๋ ยสูตร 15 - 15 - 15 จ�ำนวน 100 kg จากปุ๋ ย 1, 2 และ 3 ซึ่งมีสูตรปุ๋ ยดังนี้ 1. 46 - 0 - 0 2. 18 - 46 - 0 3. 0 - 0 - 60 จะต้องใช้ปุ๋ ยแต่ละสูตร และสารเติมเต็มอย่างละกี่กิโลกรัม (กสพท. ม.ค.’56) 1) 46 - 0 - 0 , kg 2) 18 - 46 - 0 , kg 3) 0 - 0 - 60 , kg สารเติมเต็ม , kg ก. 32.0 23.0 30.0 15.0 ข. 19.9 32.6 25.0 22.5 ค. 32.6 32.6 25.0 9.8 ง. 32.6 32.6 32.6 2.2 จ. 23.0 23.0 30.0 24.0 42. สารทุกสารในแต่ละข้อเป็นไอโซเมอร์กัน ยกเว้น ข้อใด ก. ข. ค. ง. จ.
  • 15. 15 43. เมื่อเผาไฮโดรคาร์บอน A 0.5 โมล อย่างสมบูรณ์จะได้ผลิตภัณฑ์เป็น CO2 และน�้ำ อย่างละ 1 โมล ข้อใดถูกต้อง ก. A มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ข. A มีบางไอโซเมอร์เป็นไซโคลแอลเคน ค. A เป็นแอลคีนที่ไม่มีไอโซเมอร์เรขาคณิต ง. A จะฟอกจางสีโบรมีนได้ในที่สว่างให้แก๊ส HBr จ. A 0.5 mol จะเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ต้องใช้ออกซิเจนอย่างน้อย 2 โมล 44. ถ้าสาร A คือ เมทิลโพรพาโนเอต สาร B คือ กรดโพรพาโนอิก และสาร C คือโพรพานาไมด์ ข้อใดผิด ก. จุดเดือดของ C > B > A ข. ความสามารถในการละลายน�้ำของ B > C > A ค. ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของสาร A ได้ผลิตภัณฑ์หนึ่งเป็นสาร B ง. มีสารมากกว่าหนึ่งชนิดที่ละลายในน�้ำแล้วไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส จ. มีสารอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่ท�ำปฏิกิริยากับกรดได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือ 45. การระบุชื่อปฏิกิริยาในข้อใด ผิด ก. ปฏิกิริยาการแทนที่ ข. ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส ค. ปฏิกิริยาการเติม ง. ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน O R - C - OCH2 O O CH2-OH R - C - OCH + 3NaOH 3R - C - O-Na+ + CH - OH O CH2-OH R - C - OCH2 จ. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน n CF2 = CF2 ( CF2- CF2 )n Br2 FeBr3 Br H+ CH3CH2OH OCH3 OCH2CH3 O O H2 Pd C OCH3 O O OCH3
  • 16. 16 46. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดผิด ก. ไกลโคเจนจัดเป็นพอลิเมอร์เอกพันธุ์ ข. ไบโอดีเซลผลิตจากน�้ำมันพืชหรือน�้ำมันสัตว์ก็ได้ ค. อิพอกซีเรซินจัดเป็นผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นกลาง ง. ปรากฏการณ์ยูโทรฟิเคชันเป็นสาเหตุให้ปริมาณออกซิเจนในน�้ำลดลง จ. กระบวนการรีฟอร์มมิงท�ำให้เกิดสารไฮโดรคาร์บอนโซ่กิ่งหรือไฮโดรคาร์บอนชนิดอะโรมาติก ขึ้นอยู่กับโครงสร้างของสารตั้งต้น 47. พอลิเมอร์ A มีลักษณะดังนี้ 1. แข็ง เหนียว ทนต่อความชื้น สารเคมี และเชื้อรา 2. เมื่อเกิดการเผาไหม้จะให้แก๊สที่ระคายเคืองต่อระบบหายใจและสารละลายของแก๊สนี้ สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน�้ำเงินเป็นแดง 3. เป็นพอลิเมอร์ชนิดเทอร์มอพลาสติก ข้อใดน่าจะเป็นพอลิเมอร์ A ก. พอลิอะคริโลไนไตรล์ ข. พอลิสไตรีน ค. พอลิฟินอล - ง. พอลิเมลามีน - ฟอร์มาลดีไฮด์ ฟอร์มาลดีไฮด์ จ. พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต 48. พิจราณาสูตรโครงสร้างเพปไทด์ต่อไปนี้ CONH2 OH (CH2)2 H H H CH2 H H H2N CO - N CO - N CO - N COOH H CH2 H CH3 CONH2 ( CH2 CH )n CN ( CH2 CH )n NH NHHN N N N n ( C C OCH2 CH2 )n O O O C O n
  • 17. 17 ข้อใดผิด ก. โมเลกุลนี้จัดเป็นเททระเพปไทด์ ข. ข้อมูลที่แสดงเป็นโครงสร้างปฐมภูมิ ค. เพปไทด์นี้ประกอบด้วยกรดอะมิโน 3 ชนิด ง. เพปไทด์นี้ให้สารสีน�้ำเงินม่วงกับปฏิกิริยาการทดสอบไบยูเร็ต จ. ถ้าสลับต�ำแหน่งของกรดอะมิโน จ�ำนวนไอโซเมอร์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดเท่ากับ 24 49. เมื่อทดลองน�ำเอนไซม์ไปต้มที่ 80 oC แล้วท�ำให้เย็นลงจนถึงอุณหภูมิห้อง พบว่าเอนไซม์นั้น จะสูญเสียความสามารถในการเร่งปฏิกิริยา พิจารณาค�ำอธิบายต่อไปนี้ 1. โครงสร้างปฐมภูมิของเอนไซม์ถูกท�ำลาย 2. พันธะเพปไทด์ในเอนไซม์มีการจัดเรียงตัวใหม่ 3. โครงสร้างในสามมิติของเอนไซม์เปลี่ยนไปจนไม่สามารถท�ำงานได้ 4. ผลการทดลองผิดพลาดเพราะเมื่อท�ำให้เย็นลงเอนไซม์ควรจะท�ำงานได้ตามปกติ ข้อใด ถูกต้อง ก. 1 เท่านั้น ข. 2 เท่านั้น ค. 3 ง. 4 จ. 1 และ 2 50. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใด ถูกต้อง ก. น�้ำมันมะกอกเหมาะที่จะน�ำไปใช้ในการทอดอาหาร ข. นิวคลีโอไทด์ประกอบด้วยหมู่ฟอสเฟต น�้ำตาลเพนโทส และเบสที่มีไนโตรเจน ค. ไคติน เป็นโปรตีนที่พบในเปลือกกุ้ง กระดองปู และแกนปลาหมึก ง. การเติมน�้ำผลไม้ในน�้ำนมถั่วเหลือง จะท�ำให้เกิดการจัดเรียงตัวใหม่ของกรดอะมิโนในโปรตีนที่มี ในน�้ำนมถั่วเหลือง จ. เมื่อเติมสารละลายโบรมีนลงในน�้ำมันงาหรือน�้ำมันหมูจะเกิดการฟอกจางสีโบรมีน โดยถ้าใช้น�้ำมัน ทั้งสองชนิดปริมาณเท่าๆกัน น�้ำมันหมูจะใช้ปริมาณสารละลายโบรมีนมากกว่า
  • 18. 18 เฉลยข้อสอบ กสพท ม.ค.56 1. ง 2. ง 3. ข 4. จ 5. ข 6. ข 7. ก 8. ง 9. ค 10. จ 11. ข 12. ข 13. ง 14. ง 15. ง 16. ค 17. จ 18. ง 19. ก 20. ข 21. ง 22. จ 23. จ 24. ก 25. ง 26. ค 27. ข 28. จ 29. ง 30. ข 31. ง 32. ก 33. ข 34. ค 35. จ 36. ค 37. ก 38. ก 39. ค 40. ข 41. ข 42. จ 43. ค 44. จ 45. ข 46. ค 47. ก 48. ค 49. ค 50. ข 1. 2H 14A 15N 1 77 7 ดิวทีเรียม ธาตุ A ไอโซโทปของธาตุ A 2. 86X 2 8 18 32 18 8 เป็นธาตุหมู่ 8 3. X, Y, Z เป็นธาตุหมู่ 1, 6, 5 โดย X คือ Na, Y คือ O, Z คือ N ข้อ ก. Na2O ข้อ ค. NO2 ข้อ ง. N2O เป็นสูตรที่ถูกต้อง ข้อ ง. สูตรที่พบโดยทั่วไป คือ Na2O แสดงสูตรแบบจุด ได้ดังนี้ Na2O2 2Na+ + O 2- ส่วน Na2O2 สามารถเกิดได้ เนื่องจากออกซิเจนที่เข้าไปเพิ่มอีก 1 ตัว สามารถเกิดโคออร์ดิเนตได้ดังนี้ Na2O2 2Na+ + O O 2- ข้อ ข. สูตรที่พบโดยทั่วไป คือ Na3N แสดงสูตรแบบจุด ได้ดังนี้ Na3N 3Na+ + N 3- ส่วน Na3N2 เกิดไม่ได้ เนื่องจากไนโตรเจนที่เข้าไปเพิ่มอีก 1 ตัว มีเวเลนต์อิเล็กตรอนไม่ครบ 8 Na3N2 3Na+ + N N 3- 4. q1 เป็น , q2 เป็น , q3 เป็น , q4 เป็น 5. H2 + Cl2 2HCl DH = -185 kJ 2X - 675 = 185 435 240 2X คาย 185 X = 430 H H H-C-H + 3Cl2 Cl-C-Cl + 3H-Cl (ปฏิกิริยาแทนที่ของ Alkane) H Cl H H H-C-H + 3Cl-Cl Cl-C-Cl + 3H-Cl H Cl 1,230 720 975 1,290 1,950 2,265
  • 19. 19 6. ขั้นที่ 1 เติม HCl จะได้ตะกอน AgCl แล้วกรองตะกอนออก ขั้นที่ 2 เติม H2SO4 จะได้ตะกอน BaSO4 แล้วกรองตะกอนออก 7. Q = KI , R = KCl , S = KBr เรียงความสามารถในการออกซิไดส์ Cl2 > Br2 > I2 เรียงความสามารถในการรีดิวซ์ I- > Br- > Cl- 8. สาร ประจุเชิงซ้อน เลข oxidation รวม ของอะตอมกลาง +2 Na2[ZnO2]2- -2 +2 0 +3 K3[Mn(CN)6]3- -3 +3 0 +2 Ba2[Fe(CN)6]-4 -4 +2 -2 +3 [Cr(H2O)5Cl]2+SO4 +2 +3 +5 +3 [Co(NH3)4SO4]+NO3 +1 +3 +4 9. สลายตัว 99.95% (เริ่ม 100 - เหลือ 0.05) 2n = 100 = 2,000 T = 17 x 11 = 187 วัน 0.05 2n = 2 x 103 187 = 6.2 เดือน log2n = log2 x 103 30 nlog2 = 3 + log2 0.3n = 3 + 0.3 n = 3.3 = 11 0.3 10. (a) (x) (b) Cu + S CuS (z) CuS + O2 CuO + SO2 SO2 + H2O H2SO3 (a) Cu + 4HNO3 Cu(NO3)2 + 2NO2 + 2H2O 11. N = (1 x 0.01 x 1,000) + (1 x 0.2 x 50) 500
  • 20. 20 12. H2O2 + 2H+ + 2I- I2 + 2H2O I2 + 2S2S3 2- 2I- + S4O6 2- 1H2O2 = 2S2O3 2- aN1V1 = bN2V2 2 x % x 10 x 1 = 1 x 0.1 x 15 34 13. M = 4.5 x 1,000 x 5 = 112.5100 x 2 14. BaCl2.2H2O BaCl2 + 2H2O % ของ KCl = 2.56 x 100 x = 0.36 50 244 36 BaCl2.2H2O = 2.44 % ของ KCl = 51.2 KCl = 5 - 2.44 = 2.56 15. PV = nRT 2LiOH + CO2 Li2CO3 + H2O 1 x 6.15 = n x 0.082 x 300 x = 0.25 n = 0.25 48 1 x = 12 16. C6H12O6 2CO2 + 2C2H5OH x = 5,400 g x = 2,760 180 92 x = 5.4 kg 17. BaCl2 เป็นพันธะไอออนิก เพียงตัวเดียว 18. ไม่มีเฉลยละเอียด 19. ที่อุณหภูมิคงที่ PV ∝ n จึงแทนค่า PV ในปฏิกิริยาต่อไปนี้ O2 + 2NO 2NO2 จ�ำนวนโมลของ O2 ที่เหลือ มี 2 2 0 n = PV = 1 = 0.04 mol - - + RT 24.6 ใช้ 1 2 2 จ�ำนวนโมลของ NO2 ที่เกิดขึ้น เหลือ 1 0 2 n = PV = 2 = 0.08 mol RT 24.6 * ส�ำหรับข้อ ข, ค ความดันของแก๊สหรือความดันเฉลี่ยในภาชนะ (O2) (NO2) PรวมVรวม = P1V1 + P2V2 Pรวม = 1 + 2 = 0.5 atm 6
  • 21. 21 20. ก�ำมะถันมีผลึกเป็นผลึกโมเลกุล ไม่ใช่ ผลึกโคเวเลนต์และก�ำมะถันทั้ง 2 อันยรูปมีสูตรเดียวกันเกิดปฏิกิริยาได้ เหมือนกัน 21. RN2O5 = ∆N2O5 ∆T 1.7 x 10-3 = 6 - x 3,000 x = 0.9 22. Mg + 2HCl MgCl2 + H2 Rปฏิกิริยา = 1 ∆HCl 2 ∆T Rปฏิกิริยา = 1 x 0.3 = 2.5 x 10-3 2 60 23. • จากนาทีที่ 0 - นาทีที่ 1 มีการใช้ และ การเกิดขึ้น ท�ำให้สามารถหาสมการที่ดุลได้ดังนี้ 1A + 3B 4C + 2D 0.2 x 10-2 0.6 x 10-2 0.8 x 10-2 0.4 x 10-2 • X = 1.2 x 10-2 Y = 0.65 x 10-2 Z = 0.7 x 10-2 • ข้อ จ. ถูก เพราะโมลของ A + B = 7 x 10-3 + 11 x 10-3 = 18 x 10-3 mol โมลของ C + D = 12 x 10-3 + 6 x 10-3 = 18 x 10-3 mol 24. พลังงานที่เปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยา เท่ากับ E2 - E1 25. สมการที่ 3 = ( สมการที่ 2 x 1 ) - ( สมการที่ 1 ) 2 27. ข้อ 1 ถูก K ∝ T แสดงว่า เป็นระบบดูดความร้อน ∴ปฏิกิริยาผันกลับต้องเป็นคายความร้อน ข้อ 3 ถูก ที่ 25oC ค่า K ต�่ำ แสดงว่า ผลิตภัณฑ์เกิดน้อย เหลือสารตั้งต้นมาก 28. การเพิ่มความดันสมดุล จะเลื่อนไปทางโมลที่น้อยกว่า 1. 3O2 2O3 ( ) 2. 2CuO(s) 2Cu(s) + O2 ( ) 3. 2CO + O2 2CO2 ( ) 4. CO + H2O(l) CO2 + H2 ( )
  • 22. 22 29. สารแอมโฟเทอริก คือ สารที่เป็นได้ทั้ง กรดและเบส กล่าวคือ รับ H+ หรือจ่าย H+ ก็ได้ 30. [OH-] = √ Kb . N 31. สารเข้มข้นหรือเจือจาง ค่า K เท่ากัน %√ N = %√ N 3 x √ 0.01 = %√ 0.0025 % = 6 32. ประมาณค่า pH ได้ 6.8 - 8.4 33. KCN + HNO3 KNO3 + HCN ส�ำหรับข้อ ง. เป็นสารที่ไม่ท�ำปฏิกิริยากัน (เกลือของกรดอ่อนเหลือ และมีกรดอ่อนเกิดขึ้น) 34. หา pH ของเกลือ NaNO2 [OH-] = 2 x 10-11 x 0.1 x 100 200 [OH-] = 10-6 pH = 8 5 x 2 = 10 +7 +2 +2 +3 35. 2KMnO4 + 8H2SO4 + 10FeSO4 K2SO4 + 2MnSO4 + 5Fe2(SO4)3 + 8H2O 1 x 2 = 2 1KMnO4 = 5FeSO4 aN1V1 = bN2V2 5 x 0.2 x 25 = 1 x % x 10 x 10 152 36. ปฏิกิริยาที่เกิดได้ คือ สมการที่มีค่า E0 สูงกว่า จะท�ำหน้าที่รับอิเล็กตรอน ส่วนสมการที่มีค่า E0 ต�่ำกว่า จะท�ำหน้าที่จ่ายอิเล็กตรอน 37. พิจารณาเหมือนข้อ 36 38. - Zn มีค่า E0 ต�่ำ จะจ่ายอิเล็กตรอนแล้วเกิดการผุกร่อน ดังสมการ Zn Zn2+ + 2e- - H+ ในสารละลายกรด (มะนาวหรือ CH3COOH) จะรับอิเล็กตรอนเกิดเป็นแก๊ส H2 ดังสมการ 2H+ + 2e- H2 39. เซลล์อิเล็กโทรไลติก เป็นเซลล์ที่ต้องผ่านกระแสไฟฟ้าลงไป เพื่อแยกสารเคมีออกจากกัน เช่นเดียวกับเซลล์ในข้อ 3 และ ข้อ 4
  • 23. 23 40. 2C + O2 2CO SnO2 + 2CO Sn + 2CO2 2C + SnO2 Sn 480 465 x 0.65 = X 24 151 119 (N) (P) (K) 41. ต้องการปุ๋ ยสูตร 15 - 15 - 15  พิจารณาจากปุ๋ ยที่ 3 ก่อน เพราะมีเฉพาะปุ๋ ย K เท่านั้น ต้องการ 60 kg ต้องเอาปุ๋ ยมา = 100 kg ∴ ถ้าต้องการเพียง 15 kg ต้องเอาปุ๋ ยมา = 25 kg  พิจารณาจากปุ๋ ยที่ 2 เพราะมีปุ๋ ย P ที่ไม่ซ�้ำปุ๋ ยอื่น ๆ ต้องการ 46 kg ต้องการเอาปุ๋ ยมา = 100 kg ∴ถ้าต้องการเพียง 15 kg ต้องเอาปุ๋ ยมา = 32.6 kg  ส�ำหรับปุ๋ ย N ไม่ต้องค�ำนวณแล้ว เพราะปุ๋ ย N มีอยู่ในปุ๋ ยที่ 1 เท่ากับ 46% และมีในปุ๋ ยที่ 2 อีก 18% ดังนั้น การตักปุ๋ ยที่ 1 มา ต้องมีปริมาณไม่ถึง 32.6 kg 42. กับ เป็นสารตัวเดียวกัน 43. ใช้กฎเกย์ลูสแซก­กับอโวกาโดร แล้วดุลสมการตัวที่เหลือ 1C2H4 + 3O2 2CO2 + 2H2O H H 0.5 : 1 : 1 C = C 1 : 2 : 2 H H 44. สารที่โจทย์ก�ำหนดให้ไม่มีสารใดเป็นสารประกอบ Amine (เบส) จึงไม่มีสารที่ท�ำปฏิกิริยากับกรดแล้วได้ผลิตภัณฑ์ เป็นเกลือ 45. ไม่มีเฉลยละเอียด 46. อีพอกซีเรซิน จัดเป็นผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นปลาย 47. ไม่มีเฉลยละเอียด 48. ไม่มีเฉลยละเอียด 49. ไม่มีเฉลยละเอียด 50. ไม่มีเฉลยละเอียด ไม่สามารถเกิด isomer เรขาคณิตได้