SlideShare a Scribd company logo
ในการดําเนินกิจการใด ๆ ทุกหน่วยงานหรือองค์กรต่างก็
มีความมุ่งหวังที่จะให้หน่วยงาน หรือองค์กรของตนมี
ภาพลักษณ์ที่ดี มีลักษณะจุดเด่นหรือจุดขายที่แตกต่างจาก
ผู้อื่น รวมทั้งได้รับการยอมรับและเชื่อถือจากบุคคลทั่วไป และ
การที่องค์กรจะได้มาซึ่งสิ่งสิ่งเหล่านี้นอกเหนือจากการมี
ระบบการบริหารงานที่ดี, มีบุคลากรและสภาพแวดล้อมที่ดี
แล้วสิ่งที่มีความสําคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าสิ่งที่กล่าวมาแล้วนั่น
ก็คือ การมีระบบเอกลักษณ์องค์กรที่ดี ซึ่งจะเป็น
ส่วนเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่องค์กร
Corporate Identity
คําว่า Corporate Identity (CI) หมายถึงการแสดงออกให้
เห็นถึงภาพลักษณ์ (Image) ที่ปรากฏต่อสายตาผู้อื่น โดยอาศัย
องค์ประกอบกราฟิก เป็นงานออกแบบลักษณะต่างๆ เพื่อให้
ผู้คนได้พบเห็น อาจกล่าวให้เข้าใจได้ ง่าย ๆ ก็คือ การ
สื่อสารภาพลักษณ์ขององค์กรอย่างเป็น
ระบบและเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน เพื่อสร้าง
ความเป็นเอกลักษณ์และความเป็นอันหนึ่ง
อันเดียวกัน ทั้งภายนอกและภายในองค์กร
เอกลักษณ์องค์กรคืออะไร
๐ สัญลักษณ์ (Symbols)
๐เครื่องหมาย (Sign System)
๐หนังสือ (Books)
๐นิตยสาร (Magazines)
๐หนังสือพิมพ์ (Newspapers)
๐โฆษณา (Ads)
๐นิทรรศการ (Exhibits)
๐แคทตาล็อก (Catalogues)
๐บรรจุภัณฑ์ (Packages)
เอกลักษณ์องค์กรเกี่ยวข้องกับ
๐แผ่นพับ (Brochures)
๐โปสเตอร์ (Posters)
๐แผนที่ (Maps)
๐ป้ ายโฆษณา (Billboards)
๐การประชาสัมพันธ์ (Promotions)
๐หัวจดหมาย (Letter Heads)
๐ เว็บไซต์
เอกลักษณ์องค์กรเกี่ยวข้องกับ
การออกแบบสร้าง “เอกลักษณ์” ให้กับองค์กรหรือแบรนด์
เป็นงานที่ยากยิ่ง เพราะไม่ใช่เป็นเพียงการออกแบบ
“โลโก้”ให้สวยงามแล้วจบ แต่สิ่งที่เราต้องการคือ เอกลักษณ์
ด้านภาพที่จะสื่อสารถึง
จุดยืน + บุคลิกภาพ รวมถึงวิสัยทัศน์ของแบรนด์
จากนั้นค่อยพัฒนาต่อในเรื่องระบบการใช้โลโก้+การใช้
ตัวอักษร + การใช้สี + การใช้ภาพ อื่น ๆ อีกมากมาย
เอกลักษณ์องค์กรคืออะไร
เอกลักษณ์องค์กรมีต้นกําเนิดในทวีป
ยุโรปเป็นแห่งแรกในราวศตวรรษที่ 19โดย
เริ่มจากความต้องการของผู้ค้า ซึ่งมีความประสงค์ที่จะแสดง
ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวในสินค้าหรือบริการที่ให้แก่ผู้ซื้อ
โดยมีการใช้สินค้าหัตถกรรมเป็นสินค้าประเภทแรก สัญลักษณ์
ที่แสดงความหมายเป็นเอกลักษณ์เหล่านี้จะปรากฏอยู่บน
สิ่งของทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นกระดาษเขียนจดหมาย ซอง
จดหมาย จนถึงป้ ายหน้าร้าน ฯลฯ
ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
ในสหรัฐอเมริกาได้มีการใช้สัญลักษณ์เพื่อแสดงความเป็น
เจ้าของในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพ ปศุสัตว์ทางภาคตะวันตก
ของประเทศ ที่เรียกว่าเครื่องหมาย Cattle Brand ได้แก่
เครื่องหมายที่ใช้ตีตราสัตว์เลี้ยงในฟาร์ม ในเวลานั้นยังไม่มี
ผู้ใดให้ความสนใจในเรื่องของรูปแบบและความงาม ตราบ
จนกระทั่งได้มีการดําเนินธุรกิจและเกิดการแข่งขันกันอย่าง
แพร่หลาย นักธุรกิจจึงหันมาให้ความสนใจ และเห็น
ความสําคัญของการออกแบบ ซึ่งมีส่วนช่วยในการเพิ่ม
ยอดขาย
ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
ในช่วงทศวรรษ 1930 หลังช่วงเศรษฐกิจตกตํ่าครั้งใหญ่
ในอเมริกา ได้มีบริษัทหลายบริษัทเล็งเห็นความสําคัญ และ
พร้อมที่จะปรับปรุงการออกแบบสินค้าของตน รวมทั้งปรับกล
ยุทธ์ทางการตลาดเสียใหม่ จึงทําให้สินค้าเหล่านั้นประสบ
ความสําเร็จมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักแพร่หลาย สินค้าเหล่านั้น
ได้แก่ สีดัทช์บอย (Ducth Boy), โทรทัศน์อาร์ ซี เอ (RCA),
นํ้ามันโมบิล (Mobil) เป็นต้น แต่เนื่องจากการออกแบบ
เอกลักษณ์องค์กรในยุคนั้นมิได้มีการประสานข้อมูลระหว่าง
ผู้บริหารกับนักตลาด จึงทําให้การออกแบบเอกลักษณ์องค์กร
ในยุคแรกนั้นไม่ประสบความสําเร็จเท่าที่ควร
ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
นับจากช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่มี
การเจริญเติบโตทางอุตสาหกรรมเป็นต้นมา ได้มีนักออกแบบ
ที่มีความรู้ความสามารถจากสถาบันที่มีชื่อเสียงหลายคนเป็นผู้
จุดประกายให้กับวงการออกแบบกราฟิก (Graphic Design)
ในช่วงนี้นับเป็นจุดเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ
เนื่องจากก่อนหน้านี้งานออกแบบกราฟิกได้ถูก
ใช้เพียงส่วนตกแต่งให้สวยงามแต่เพียงอย่าง
เดียว โดยมิได้ตระหนักความสัมพันธ์ระหว่างการออกแบบ
กับความสําเร็จทางการตลาด
ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
ในช่วงต้นและช่วงกลางของ ทศวรรษ 1960 ระบบการ
ออกแบบเอกลักษณ์องค์กรได้กลายเป็นแนวคิดสู่ความสําเร็จ ที่
ทุกองค์กร ทุกบริษัทต่างตื่นตัวอย่าง
มาก ในการที่จะสร้างสัญลักษณ์และ
ระบบ เอกลักษณ์องค์กรและเริ่มมีความคิดที่
จะสร้างการออกแบบด้วยการสร้างสัญลักษณ์ที่เรียบง่าย มี
ความสวยงามที่ลงตัวและไม่ล้าสมัย
ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
ในทศวรรษที่ 1970 บริษัทและองค์กรต่าง ๆ เริ่มตระหนัก
ถึงผลตอบแทนที่ได้รับจากระบบเอกลักษณ์องค์กร จึงต่างทุ่ม
เงินมหาศาลในการสร้างเปิดตัวสัญลักษณ์ใหม่ จนกระทั่งเกิด
กรณี วอเตอร์เกต (Watergate) ที่ทําให้สหรัฐอเมริกาประสบ
ปัญหาทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมจึงทําให้องค์กรต่าง ๆ พากัน
ระงับแผนพัฒนาเอกลักษณ์องค์กร และหัน
ไปให้การสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวกับข้อง
กับสังคม เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับ
องค์กรแทน
ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
ในช่วงกลางของ ทศวรรษ 1990 เป็นช่วงเวลาที่
คอมพิวเตอร์ได้เริ่มเข้ามามีบทบาทในการทํางานและใน
ชีวิตประจําวันมากยิ่งขึ้น ในวงการออกแบบก็เช่นกัน ได้มีการ
คิดโปรแกรมสําเร็จรูปต่าง ๆ เพื่อช่วยอํานวยความสะดวกใน
การออกแบบขึ้นมากมาย จึงอาจกล่าวได้ว่า ทศวรรษ 1980
เป็นช่วงเวลาที่เทคโนโลยีผลักดันให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในวงการออกแบบ และยังคงมี
พัฒนาการอย่างต่อเนื่องจนมาถึงปัจจุบัน
ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
สําหรับในประเทศไทย เอกลักษณ์องค์กรได้เริ่ม
แพร่หลาย และเป็นที่ยอมรับว่ามีความสําคัญเมื่อประมาณ 10
ปีที่ผ่านมานี่เอง แม้ว่าการออกแบบกราฟิกจะเป็นที่รู้จักกันใน
วงการโฆษณาในประเทศไทยมาตั้งแต่ทศวรรษ 1980 ก็ตาม
แต่การออกแบบในระยะแรกจะเป็นการออกแบบสัญลักษณ์
สิ่งพิมพ์ธุรกิจหรือสิ่งพิมพ์โฆษณาให้กับบริษัทหรือองค์กร
ต่าง ๆ โดยยังมิได้มีการออกแบบเอกลักษณ์องค์กร เนื่องจาก
บริษัทหรือองค์กรเหล่านั้นยังไม่เห็นความสําคัญของ
เอกลักษณ์องค์กร
ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
1)วัตถุประสงค์ทางด้านจิตวิทยา (Psychology Objective)
วัตถุประสงค์ทางด้านจิตวิทยาคือ การต้องการให้ผู้บริโภคเกิด
ความรู้สึก ความเชื่อมั่น เกิดความเข้าใจในตัวสินค้าและ
ยอมรับในตัวสินค้า และในการเอกลักษณ์ขององค์กรปัจจุบัน
วัตถุประสงค์ทางจิตวิทยาที่สําคัญคือความต้องการที่จะสร้าง
ให้ผู้บริโภคเกิดความรู้สึกประทับใจในร้านที่เข้าใช้บริการ
วัตถุประสงค์ทางเอกลักษณ์ขององค์กร
Corporate Identity Objective
2)วัตถุประสงค์ทางด้านพฤติกรรม (Action Objective)
วัตถุประสงค์ทางด้านพฤติกรรมคือ การที่ต้องการให้ผู้บริโภค
แสดงพฤติกรรมตอบสนองการจูงใจของเอกลักษณ์ของ
องค์กรเช่น กระตุ้นให้เกิดการเข้าร้าน ตลอดจนการกระตุ้นให้
ผู้บริโภคแสวงหาข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดในตัวร้าน เป็นต้น
วัตถุประสงค์ทางเอกลักษณ์ขององค์กร
Corporate Identity Objective
3)วัตถุประสงค์ทางด้านภาพพจน์ (Corporate
Objective) วัตถุประสงค์ทางด้านภาพพจน์ของร้าน
เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดทัศนคติที่ดี มีความนิยมชมชอบต่อ
ร้านอาหาร เช่น ให้ผู้บริโภคเห็นว่าร้านมีความห่วงใยต่อสังคม
มีความรับผิดชอบต่อลูกค้า เป็นต้น ซึ่งเมื่อผู้บริโภคเกิด
ทัศนคติที่ดี มีภาพพจน์ที่ดีต่อร้านอาหารแล้ว สิ่งเหล่านี้ก็จะมี
ผลต่อยอดขายของร้านนั้น เป็นต้น
วัตถุประสงค์ทางเอกลักษณ์ขององค์กร
Corporate Identity Objective
1) เอกลักษณ์แบบเดียว (Monolithic Identity) เป็นการ
วางระบบเอกลักษณ์ที่กําหนดให้บริษัททุกสาขารวมทั้งบริษัท
แม่ใช้รูปแบบสัญลักษณ์และองค์ประกอบกราฟิกแบบเดียวกัน
ทั้งหมด ในการสื่อสารภาพลักษณ์เดียวกันไปสู่ผู้บริโภค ระบบ
เอกลักษณ์องค์กรประเภทนี้จะเป็นการแสดงถึงความเป็น
เอกลักษณ์ที่ชัดเจนที่สุดและประหยัดที่สุด ในการที่จะแสดงให้
เห็นถึงมาตรฐานเดียวกันของสินค้าหรือบริการที่ให้กับ
ผู้บริโภค ผู้ค้าปีก ตลอดจนบุกคลากรของบริษัท บริษัทที่ใช้
ระบบเอกลักษณ์เดียว ได้แก่ วันทูคอลล์, พิซซ่าฮัท, เทสโก้
โลตัส, ปั๊มนํ้ามันต่าง ๆ ฯลฯ
รูปแบบของเอกลักษณ์องค์กร
2) เอกลักษณ์แบบมีการรับรอง (Endorsed Identity) เป็น
รูปแบบของการสร้างระบบเอกลักษณ์ให้กับองค์กรที่ประกอบ
ธุรกิจหลายประเภทหรือเป็นลักษณะกลุ่มบริษัท การสร้าง
เอกลักษณ์แบบนี้มีรากฐานความคิดว่า แต่ละบริษัทในเครือ
ควรมีเอกลักษณ์ของตนเอง โดยที่เอกลักษณ์นั้นจะต้องแสดง
ถึงความเป็นส่วนหนึ่งของภาพรวมขององค์กรนั้น ๆ ด้วย
บริษัทประเภทนี้มักจะใช้สัญลักษณ์ของบริษัทแม่ร่วมกับ
สัญลักษณ์ขององค์กรนั้น ๆ บริษัทที่ใช้เอกลักษณ์องค์การใน
ลักษณะได้แก่ เครือปูนซีเมนต์ไทย เป็นต้น
รูปแบบของเอกลักษณ์องค์กร
3) เอกลักษณ์ที่ใช้ตราหรือชื่อของสินค้าเป็นตัวสร้าง
เอกลักษณ์ (Branded Identity) ระบบเอกลักษณ์ประเภทนี้จะ
ใช้กับบริษัทที่เป็นผู้ผลิตสินค้าหลาย ๆ ชนิดซึ่งอาจอยู่ในสาย
ผลิตภัณฑ์เดียวกันหรือไม่ก็ได้ และมักนิยมใช้กับสินค้าอุปโภค
บริโภคเป็นหลัก การใช้ชื่อของสินค้าเป็นตัวเอกลักษณ์นั้น
เริ่มต้นขึ้นในราวช่วงศตวรรษที่ 19 เมื่อการศึกษาและ
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี มีส่วนช่วยยกระดับมาตรฐาน
การครองชีพสูงขึ้นจนก่อให้เกิดตลาดขนาดใหญ่
รูปแบบของเอกลักษณ์องค์กร
แนวคิดเบื้องหลังการสร้างเอกลักษณ์ประเภทนี้ มาจาก
หลักความจริงที่ว่าสินค้าประเภทเดียวกันที่ผลิตโดยบริษัทต่าง
ๆ มักจะมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานไม่แตกต่างกันมากนัก
ซึ่งเราสามารถสร้างความแตกต่างได้ ด้วยการสร้าง
คุณสมบัติหรือคุณลักษณะพิเศษพิเศษเฉพาะตัวให้กับสินค้า
นั้น อาจจะทําด้วยการใช้ชื่อ สัญลักษณ์ หีบห่อ การโฆษณา
หรือการส่งเสริมการขายให้สินค้านั้นเป็นที่รู้จักแพร่หลาย
ยิ่งขึ้น โดยอาศัยความรวดเร็วในการกระจายตัวสินค้าและการ
โฆษณาด้วยสื่อ
รูปแบบของเอกลักษณ์องค์กร
คําขวัญ (Slogan) เป็นข่าวสารที่ผนึกรวมความคิดที่สําคัญ
เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ หรือเหตุผลในการซื้อผลิต ภัณฑ์ เพื่อให้
ผู้บริโภคพัฒนาความนึกคิดที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และจดจําตรา
ยี่ห้อได้ คําขวัญเป็นเครื่องมือทําให้แผนการรณรงค์โฆษณา
รวมกันเป็นเอกภาพ และดําเนินงานได้อย่างต่อเนื่องกันไป
(continuity and Unity to Advertising) กล่าวคือ โฆษณา
สินค้าตัวเดียวในโฆษณาชุดต่างๆ กันมีเนื้อเรื่องที่เปลี่ยนไป แต่
คําขวัญยังคงเดิม นอกจากนี้คําขวัญจะทําหน้าที่ก่อให้เกิด
บุคลิกภาพที่แน่นอนและจําได้ง่ายสําหรับผลิตภัณฑ์อีกด้วย คํา
ขวัญมี 2 ประเภท คือ
คําขวัญ (Slogan)
1) พูดพาดพิงถึงสินค้า (Product Personality) เช่น
“ที่สหธนาคารคุณสําคัญเสมอ” , “ธนาคารทหารไทย รับใช้
ประชาชน” เป็นต้น
คําขวัญ (Slogan)
2) พูดพาดพิงถึงผู้บริโภคกลุ่มเป้ าหมาย (Target
Personality) เช่น “คู่เศรษฐกิจไทย คู่ใจประชา” , “บริการทุก
ระดับประทับใจ” เป็นต้น
คําขวัญ (Slogan)
1) ควรรวมตรายี่ห้อ หรือตราบริษัทเข้าไปใน
ผลิตภัณฑ์ด้วย เพื่อป้ องกันความสับสนสําหรับผู้บริโภค
“ธนาคารนครหลวงไทย ใส่ใจดูแลคุณ ”
2) ควรรวมความคิดและเรื่องราวสําคัญส่วนมากไว้
เช่น คุณภาพสินค้า เพื่อจะได้เห็นความแตกต่างจากยี่ห้ออื่นได้
ชัดเจน
3) ควรจะสั้นและจดจําได้ง่าย เพื่อผู้บริโภคจะ
สามารถ จดจําได้ทุกๆ คํา และระลึกถึงความสําคัญที่
เกี่ยวข้องได้
ลักษณะของคําขวัญที่ดี
4) ควรสร้างให้เกิดความเฉพาะตัวและมีลักษณะเด่น
เป็นพิเศษ ไม่ให้เกิดการลอกเลียนแบบจากผลิตภัณฑ์ยี่ห้ออื่น
ขณะเดียวกันก็ต้องสามารถประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์หลาย
ชนิดภายใต้ยี่ห้อเดียวกันได้
5) มีสัมผัสและจังหวะ เพราะจะทําให้ผู้บริโภค
สามารถจดจําคําขวัญได้ง่าย โดยควรใช้ภาษาธรรมดาที่ไม่
ล้าสมัยง่าย
ลักษณะของคําขวัญที่ดี
The Marlboro Man
Tastes great, less filling
1) ไม่ซับซ้อน (Simplicity) ไม่ซับซ้อนเน้นแนวคิด
เพียงบางแนวคิดเดียว ซึ่งสามารถจะพัฒนาเป็นแนวคิด
สร้างสรรค์ได้หลากหลายในเวลาต่อไป
2) การมีลักษณะเฉพาะตัว (Uniqueness) การมี
ลักษณะเฉพาะตัวโดยแนวคิดหลักที่เลือกมาต้องมีความ
แตกต่างไปจากคู่แข่งขันเช่น ถ้าเสนอลักษณะเฉพาะตัวในเรื่อง
ของเทคโนโลยี ก็ต้องพูดถึงความชํานาญและเทคโนโลยี
สมัยใหม่
แนวคิดการสร้างสรรค์งานเอกลักษณ์ขององค์กร
3) ความเหมาะสม (Appropriateness) ความ
เหมาะสมที่โฆษณาสถาบันจะต้องดึงความสนใจของคนมาสู่
คุณลักษณะของตัวบริษัท โฆษณาสถาบันที่ประสบ
ความสําเร็จต้องสอดคล้องกับคุณลักษณะ หรือวัตถุประสงค์
ของบริษัท
4) การมีความสัมพันธ์กัน (Relevance) การมี
ความสัมพันธ์กัน โฆษณาสถาบันที่ดีจะต้องเข้าถึง
กลุ่มเป้ าหมายที่คัดสรรไว้แต่แรก
แนวคิดการสร้างสรรค์งานเอกลักษณ์ขององค์กร
6) ความต่อเนื่อง (Continuity) ความต่อเนื่องเป็น
ปัจจัยของการโฆษณาสถาบันที่ประสบผลสําเร็จเพราะการ
โฆษณาประเภทนี้ต้องการให้การพบเห็นติดตาอย่างต่อเนื่อง
ในระยะเวลาหนึ่ง
7) ความน่าเชื่อถือ (Credibility) ความน่าเชื่อถือ การ
โฆษณาสถาบันแม้จะวางแผนอย่างดีหรือเงินทุนดี แต่จะไม่
ประสบความสําเร็จถ้าไม่อ้างอิงเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เป็นจริง
แนวคิดการสร้างสรรค์งานเอกลักษณ์ขององค์กร
การจัดทําคู่มือระบบเอกลักษณ์ก็เหมือนกับการทํา
หนังสือเล่มหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับองค์กร
สัญลักษณ์และระบบเอกลักษณ์ทั้งหมด ข้อแนะนําและข้อห้าม
ต่าง ๆ ในการใช้ระบบเอกลักษณ์ การทําหนังสือคู่มือนี้จะ
เปรียบเสมือนคัมภีร์ที่ใช้ในการควบคุมระบบเอกลักษณ์ให้
เป็นไปอย่างถูกต้องและมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
สําหรับองค์กรที่มีขนาดเล็ก อาจไม่มีความจําเป็นที่
จะทําหนังสือคู่มือระบบเอกลักษณ์ เนื่องจากค่าใช้จ่ายค่อนข้าง
สูง อาจจัดทําเพียงเอกสารที่กําหนดรายละเอียดขอบเขตใน
การใช้งาน (Guidelines) ของระบบเอกลักษณ์ก็ได้
คู่มือและการใช้งานระบบเอกลักษณ์
1) กล่องคําพูด (Talk Boxes)
การออกแบบในลักษณะนี้เริ่มพบเห็นได้บ่อยในปี 2006 และ
กําลังจะเป็นที่นิยมในช่วงไม่กี่ปีจากนี้ โลโก้ชนิดนี้มักใช้เป็น
สัญลักษณ์การสื่อสารระหว่างบริษัทที่มีต่อลูกค้า เช่น โลโก้
ของ LifeLogger ที่ใช้กล่องคําพูดที่เป็นลักษณะคล้ายฟองสบู่
และมีรอยยิ้มอยู่ภายในสื่อถึงการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับกลุ่ม
เพื่อนฝูง
โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
2) ก้อนเมฆ (Clouds)
ทุก ๆ คนคงจําประสบการณ์ที่ตัวเองล้มตัวลงนอนบนพื้นหญ้า
และเริ่มมองก้อนเมฆที่งดงามราวกับความฝัน หรืออาจ
ครุ่นคิดและจินตนาการว่าก้อนเมฆเรียงตัวกันเป็นรูปหรือ
เรื่องราวอะไร เราสามารถนํารูปทรงของก้อนเมฆมาใช้ในการ
ออกแบบโลโก้ที่มีความเกี่ยวพันกับความฝัน, ความคิด
สร้างสรรค์, จินตนาการ และความสนุกสนานร่าเริง
โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
3) เงาสะท้อน (Reflections)
เงาสะท้อนกําลังเป็นที่นิยมเป็นอย่างมากในงานออกแบบโลโก้
การใช้เงาสะท้อนอาจได้รับอิทธิพลมาจากเว็บไซต์ apple.com
การใช้เงาสะท้อนถูกนํามาใช้แทนการใช้เงาดํา (drop shadow)
แม้ว่าการใช้เงาสะท้อนกําลังเป็นที่นิยมในการออกแบบโลโก้
บนเว็บไซต์ แต่การใช้เงาสะท้อนอาจไม่เหมาะกับงานพิมพ์
โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
4) กล่องสี่เหลี่ยม (Rectangle)
รูปทรงสี่เหลี่ยมสามารถตอบสนองลักษณะการออกแบบใน
ปัจจุบันที่ต้องการความเรียบง่ายได้เป็นอย่างดี การใช้รูปทรง
สี่เหลี่ยมและใช้เทคนิคเงาดําเพื่อสร้างมิติความลึก มักเป็นที่
นิยมในหมู่นักออกแบบที่ไม่มีประสบการณ์ แต่สําหรับนัก
ออกแบบผู้มีความคิดสร้างสรรค์พวกเขาจะให้การพับ, การบิด
งอรูปสี่เหลี่ยม เพื่อสร้างมิติให้กับโลโก้ของพวกเขา เช่นโลโก้
ของบริษัท burb ที่ออกแบบโลโก้ด้วยการพับสี่เหลี่ยมให้
กลายเป็นรูปหนังสือ สื่อถึงการเป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกับการ
พิมพ์ได้เป็นอย่างดี
โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
5) มุมโค้ง 3 มิติ (3d Puffies)
นักออกแบบในยุคปัจจุบันนิยมออกแบบโลโก้ให้ดูมีมิติ (ความ
ลึก) มากกว่าที่จะออกแบบให้แบนราบ แม้แต่ไอคอนบนหน้า
จอคอมพิวเตอร์ทุกวันนี้ก็ถูกออกแบบให้โค้งมนและดูมีความ
เป็น 3 มิติมากกว่าในอดีต ด้วยเหตุผลที่ว่าความมีมิตินั้นทําให้
ผู้ใช้งานมีความรู้สึกเหมือนกับว่าสามารถสัมผัสหรือจับต้องได้
โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
6) การกระพริบ (Hot Dogs )
สัญลักษณ์การกระพริบเหมือนการส่งสัญญาณถูกใช้ในโลก
ของการออกแบบอย่างแพร่หลาย มันสามารถแสดง
ความหมายได้หายอย่าง เช่นแสดงความหมายของการ
เคลื่อนไหวของเสียง, แสดงความหมายของการคิดออกความ
เข้าใจ, แสดงความหมายของการส่งสัญญาณการสื่อสาร
โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
7) คลื่นส่งสัญญาณ (Transmission beam)
สัญลักษณ์คลื่นส่งสัญญาณนั้นสามารถสื่อความหมายถึงความ
เกี่ยวพันธ์กับเทคโนโลยี (โดยเฉพาะการสื่อสาร)ได้อย่าง
รวดเร็วและชัดเจน บริษัทที่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์หรือ
อินเตอร์เน็ตหลายแห่งใช้สัญลักษณ์นี้ในการออกแบบโลโก้ การ
ออกแบบสัญลักษณ์คลื่นส่งสัญญาณโดยให้เริ่มต้นจากจุดและ
กระจายเป็นเส้นโค้งที่มีขนาดใหญ่ขึ้นไปเรื่อย ๆ แสดงถึงการ
สื่อสารจากคน ๆ เดียวไปยังฝูงชนได้เป็นอย่างดี มักถูกใช้ใน
เว็บไซต์ประเภท blog ที่ให้ผู้ใช้สามารถเข้ามาเขียนเรื่องราว
ของตนเองได้
โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
8) รูปคน (People)
มนุษย์ย่อมมีความสนใจมนุษย์ด้วยกันเองดังนั้นสัญลักษณ์ที่
เป็นตัวแทนของมนุษย์ย่อมดึงดูดสายตาผู้พบเห็นได้เป็นอย่าง
ดี โลโก้ของหลายบริษัทนํารูปของคนหลายคนมาจัดกลุ่มแสดง
ถึงความสัมพันธ์อันดีระหว่างบริษัทกับลูกค้า และถ้านํารูป
ของคนจํานวนมากมารวมกันย่อมสื่อถึงความยิ่งใหญ่ของ
องค์กร แต่การนํารูปคนเพียงคนเดียวมานําเสนอเป็นโลโก้ก็สื่อ
ความหมายถึงการที่บริษัทให้ความสําคัญของลูกค้า ลูกค้า
สามารถจัดการกับสิ่งต่าง ๆ ตามที่เขาต้องการได้
โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
9) โปร่งใส (Transparency)
ความโปร่งใสยังคงเป็นที่นิยมในการออกแบบโลโก้ การซ้อน
รูปทรงที่โปร่งใสทับกันไปมาจะทําให้เกิดมิตาของรูปทรง
ขึ้นมา การนํารูปทรงที่โปร่งใสมาวางทับกันยังสามารถสื่อถึง
ความเกี่ยวข้องและความสัมพันธ์กันได้เป็นอย่างดี
โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
10) เส้นรอบนอก (Outlines)
การเพิ่มเส้นรอบนอกให้มาช่วยให้สร้างความมีมิติแก่โลโก้ได้
เป็นอย่างดี ที่สําคัญคือการออกแบบโดยใช้เส้นรอบนอกเพื่อ
สร้างมิติให้กับโลโก้นั้นทําให้โลโก้มีลักษณะเรียบง่าย และแสดง
ถึงความก้าวหน้าแสดงการขยายออกจากสูญกลาง
โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
11) เครื่องหมายคําพูด,เครื่องหมายวรรคตอน
(Punctuation) ในงานเขียน เครื่องหมายคําพูด, เครื่องหมาย
วรรคตอน ถูกใช้เพื่อเน้นความสําคัญดังนั้นหากนํา
เครื่องหมายนี้มาใช้ในงานออกแบบโลโก้ย่อมสื่อถึงการเน้นยํ้า
การให้ความหมาย เป็นการสร้างจุดสนใจในงานออกแบบโลโก้
ได้เป็นอย่างดี
โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
ในปี 1976 Ron Wayne ซึ่งเป็นวิศวกรที่ทํางานร่วมกับ
สตีฟ จอปส์ที่ ได้เข้ามาเป็นผู้ร่วมก่อตั้งคนที่ 3 ของ Apple
งานแรกๆ ของเขางานนึงคือออกแบบ Logo ให้บริษัทนี่เอง
แนวคิดของ Wayne คือลูกแอปเปิ้ลที่ทําให้นิวตั้นค้นพบแรง
โน้มถ่วงของโลก เป็นต้นกําเนิด idea และสมมุติฐานทาง
วิทยาศาสตร์ใหม่ๆ Logo อันนี้ Wayne ดรออิ้งด้วยปากกาหมึก
ดํา เป็นรูปเซอร์ไอแซค นิวตันนั่งอยู่ใต้ต้นแอบเปิล
Apple
Logo
Design
ในเดือน เมษายน 1977 Rob Janov ได้ออกแบบโลโก้ใหม่
ให้ Apple จานอฟเริ่มงานจากภาพเงาขาวดําของลูกแอปเปิ้ล
แล้วก็ค่อยๆเพิ่มไอเดียเข้าไป "ผมเอาลูกแอปเปิ้ลมาทําเป็น
ฟอร์มง่ายๆก่อน แล้วก็เพิ่มรอยกัด-bite -ซึ่งอาจจะหมายถึง
Byte ก็ได้ใช่ไหม? (เขาเล่นคําพ้องเสียง bite เป็น byte) แล้ว
การใส่รอยกัดไปข้างๆก็ทําให้มันดูเป็นแอปเปิ้ลมากขึ้นแทนที่
จะดูคล้ายเป็นเชอรี่หรือมะเขือเทศ" จานอฟอธิบายหลัง
จากนั้นเขาก็ใส่แถบสีเข้าไปหกสี แรงบันดาลใจเรื่องแถบสีเอา
มาจากเครื่อง Apple II ในตอนนั้นที่เป็นเครื่องสําหรับ
consumer รุ่นแรกที่แสดงผลเป็นสีได้ logo แอปเปิ้ลสีรุ้งถูกใช้
มา 20 ปีเต็ม ตั้งแต่ปี 1977-1997
Apple
Logo
Design
logo ล่าสุดที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน หลังจากที่ jobs ได้กลับมา
บริหาร Apple อีกครั้ง ก็ได้ปรับปรุงการดําเนินงาน รูปแบบ
ดีไซน์เครื่องและภาพพจน์ของบริษัทเสียใหม่ เลยเกิดโปรเจค
ใหม่ๆอย่าง iMac, แคมเปญโฆษณาและคําขวัญ Think
Different แล้วก็ logo แบบสีเดียวใสๆ เครื่องแมครุ่นแรกที่ใช้
logo สีเดียวแทนที่จะเป็นสีรุ้งแบบเดิมคือเครื่อง Powerbook
G3 ที่ออกในวันที่ 6 พฤษภาคม 1998
Apple Logo
Design
โลโก้ของ IBM ในยุค 1947 -1956 ถูกออกแบบโดยใช้
ตัวอักษรแบบมีเชิง (serif) โดยใช้สีฟ้ า
ต่อมาในปึ 1956 ได้มีการออกแบบโลโก้ใหม่ให้มีความทึบ
ตันและดูหนายิ่งขึ้น ทําให้ดูแข็งแรงและอ่านง่ายขึ้น
ในปี 1972 บริษัทได้ทําการปรับปรุงโลโก้อีกครั้งโดยใช้
เส้นสีฟ้ า (มีสองแบบคือมีเส้นจํานวน 8 เส้นและ 13 เส้น) ซึ่ง
สื่อถึงความเร็วและพลศาสตร์
IBM
1947 - 1956
1956 - 1972
1972 - now
Logo Design
โลโก้ของ Microsoft ในปี 1976 ถูกออกแบบอย่างมีสไตล์
และเรียบง่าย โลโก้สื่อถึงพันธกิจของบริษัทที่นําเสนอสินค้า
คุณภาพให้กับลูกค้าโดยใช้ตัวอักษรที่เรียบง่าย
โลโก้ในปี 1985 ถูกออกแบบโดยให้ตัว O อยู่ตรงการ จึง
ถูกเรียกว่า PC
ส่วนโลโก้ในยุคปัจจุบันได้เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี 1985 โดยใช้
ตัวอักษรตัวเอียงแบบ Helvetica และสร้างรอยแยกระหว่างตัว
O กับตัว S เป็นการแยกคําทําให้อ่านง่ายและยังแสดงถึง
ความเร็วอีกด้วย
Microsoft Logo Design
Microsoft Logo Design
1994–2002
2006
Ci

More Related Content

What's hot

การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
Suphol Sutthiyutthasenee
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์Jele Raviwan Napijai
 
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อนุมัติใช้แผนการสอน
อนุมัติใช้แผนการสอนอนุมัติใช้แผนการสอน
อนุมัติใช้แผนการสอน
โรงเรียนชุมชนโนนแดง
 
Concept VS Theme
Concept VS ThemeConcept VS Theme
Concept VS Theme
siriporn pongvinyoo
 
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดียสตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
duanpen homkajuy
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
Coco Tan
 
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Mayuree Srikulwong
 
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustratorการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
Nichakorn Sengsui
 
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
ธิติพล เทียมจันทร์
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
พุทธสาวก
พุทธสาวกพุทธสาวก
พุทธสาวก
พัน พัน
 

What's hot (20)

การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
 
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
อนุมัติใช้แผนการสอน
อนุมัติใช้แผนการสอนอนุมัติใช้แผนการสอน
อนุมัติใช้แผนการสอน
 
Concept VS Theme
Concept VS ThemeConcept VS Theme
Concept VS Theme
 
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดียสตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
 
การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
 
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
 
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
 
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
 
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustratorการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
 
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
พุทธสาวก
พุทธสาวกพุทธสาวก
พุทธสาวก
 

Viewers also liked

การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
Khonkaen University
 
Continual improvement
Continual  improvementContinual  improvement
Continual improvement
Jirasap Kijakarnsangworn
 
Logo and corporate identity
Logo and corporate identityLogo and corporate identity
Logo and corporate identitySenistr0
 
Improvement internal process
Improvement internal processImprovement internal process
Improvement internal process
Jirasap Kijakarnsangworn
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00JeenNe915
 
ความต้องการ
ความต้องการความต้องการ
ความต้องการ
Susu Zaza
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลetcenterrbru
 
2 tpm edit
2 tpm edit2 tpm edit
2 tpm edit
MaloNe Wanger
 
สงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานสงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถาน
Witsarut Hongkeaw
 
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
UsableLabs
 
การขาย การตลาด
การขาย การตลาดการขาย การตลาด
การขาย การตลาดSuparat Jirakittayakorn
 
บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)
บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)
บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)Ladda Tansri
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Netsai Tnz
 
Market Segmentation
Market SegmentationMarket Segmentation
Market Segmentation
Appa Nick
 
Job Description
Job DescriptionJob Description
Job Description
Danai Thongsin
 
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
NIDA Business School
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
Jirasap Kijakarnsangworn
 
Buying motives
Buying motivesBuying motives
Buying motives
Babita Yadav
 

Viewers also liked (20)

การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
 
Continual improvement
Continual  improvementContinual  improvement
Continual improvement
 
Logo and corporate identity
Logo and corporate identityLogo and corporate identity
Logo and corporate identity
 
Improvement internal process
Improvement internal processImprovement internal process
Improvement internal process
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
 
ความต้องการ
ความต้องการความต้องการ
ความต้องการ
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
 
Concept of buying motives
Concept of buying motivesConcept of buying motives
Concept of buying motives
 
2 tpm edit
2 tpm edit2 tpm edit
2 tpm edit
 
สงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานสงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถาน
 
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
 
การขาย การตลาด
การขาย การตลาดการขาย การตลาด
การขาย การตลาด
 
บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)
บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)
บทที่ 11 การส่งเสริมการขาย (2)
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Market Segmentation
Market SegmentationMarket Segmentation
Market Segmentation
 
Job Description
Job DescriptionJob Description
Job Description
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
Buying motives
Buying motivesBuying motives
Buying motives
 

Similar to Ci

Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมRonnarit Junsiri
 
Integrated Brand Communication in Thai
Integrated Brand Communication in ThaiIntegrated Brand Communication in Thai
Integrated Brand Communication in Thai
cenutry movie plaza
 
วิสัยทัศน์สำคัญอย่างไร
วิสัยทัศน์สำคัญอย่างไรวิสัยทัศน์สำคัญอย่างไร
วิสัยทัศน์สำคัญอย่างไร
ItthiphonManonom1
 
Chapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceChapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for service
Teetut Tresirichod
 
การสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาด
การสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาดการสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาด
การสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาด
Apple Natthakan
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
ไกรลาศ จิบจันทร์
 
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหารสรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
ไกรลาศ จิบจันทร์
 
Developing a Content Strategy
Developing a Content StrategyDeveloping a Content Strategy
Developing a Content Strategy
Kamolwan Korphaisarn
 
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
maruay songtanin
 
Bmc std
Bmc stdBmc std
Bmc std
dewberry
 
Plan to get_team_by_leon_for_supervisor
Plan to get_team_by_leon_for_supervisorPlan to get_team_by_leon_for_supervisor
Plan to get_team_by_leon_for_supervisorYui Waraporn
 
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
maruay songtanin
 
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการweeraya
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
Luckna Jbmy
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การwanna2728
 

Similar to Ci (20)

Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
 
Integrated Brand Communication in Thai
Integrated Brand Communication in ThaiIntegrated Brand Communication in Thai
Integrated Brand Communication in Thai
 
วิสัยทัศน์สำคัญอย่างไร
วิสัยทัศน์สำคัญอย่างไรวิสัยทัศน์สำคัญอย่างไร
วิสัยทัศน์สำคัญอย่างไร
 
Chapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceChapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for service
 
05 ch2
05 ch205 ch2
05 ch2
 
การสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาด
การสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาดการสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาด
การสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาด
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหารสรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
 
Developing a Content Strategy
Developing a Content StrategyDeveloping a Content Strategy
Developing a Content Strategy
 
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
 
Bmc std
Bmc stdBmc std
Bmc std
 
สรุป การจัดการกลยุทธ์ Bm607
สรุป การจัดการกลยุทธ์ Bm607สรุป การจัดการกลยุทธ์ Bm607
สรุป การจัดการกลยุทธ์ Bm607
 
Plan to get_team_by_leon_for_supervisor
Plan to get_team_by_leon_for_supervisorPlan to get_team_by_leon_for_supervisor
Plan to get_team_by_leon_for_supervisor
 
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
 
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
Market
MarketMarket
Market
 
e-commerce
e-commercee-commerce
e-commerce
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
 
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

Ci

  • 1.
  • 2. ในการดําเนินกิจการใด ๆ ทุกหน่วยงานหรือองค์กรต่างก็ มีความมุ่งหวังที่จะให้หน่วยงาน หรือองค์กรของตนมี ภาพลักษณ์ที่ดี มีลักษณะจุดเด่นหรือจุดขายที่แตกต่างจาก ผู้อื่น รวมทั้งได้รับการยอมรับและเชื่อถือจากบุคคลทั่วไป และ การที่องค์กรจะได้มาซึ่งสิ่งสิ่งเหล่านี้นอกเหนือจากการมี ระบบการบริหารงานที่ดี, มีบุคลากรและสภาพแวดล้อมที่ดี แล้วสิ่งที่มีความสําคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าสิ่งที่กล่าวมาแล้วนั่น ก็คือ การมีระบบเอกลักษณ์องค์กรที่ดี ซึ่งจะเป็น ส่วนเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่องค์กร Corporate Identity
  • 3. คําว่า Corporate Identity (CI) หมายถึงการแสดงออกให้ เห็นถึงภาพลักษณ์ (Image) ที่ปรากฏต่อสายตาผู้อื่น โดยอาศัย องค์ประกอบกราฟิก เป็นงานออกแบบลักษณะต่างๆ เพื่อให้ ผู้คนได้พบเห็น อาจกล่าวให้เข้าใจได้ ง่าย ๆ ก็คือ การ สื่อสารภาพลักษณ์ขององค์กรอย่างเป็น ระบบและเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน เพื่อสร้าง ความเป็นเอกลักษณ์และความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกัน ทั้งภายนอกและภายในองค์กร เอกลักษณ์องค์กรคืออะไร
  • 4. ๐ สัญลักษณ์ (Symbols) ๐เครื่องหมาย (Sign System) ๐หนังสือ (Books) ๐นิตยสาร (Magazines) ๐หนังสือพิมพ์ (Newspapers) ๐โฆษณา (Ads) ๐นิทรรศการ (Exhibits) ๐แคทตาล็อก (Catalogues) ๐บรรจุภัณฑ์ (Packages) เอกลักษณ์องค์กรเกี่ยวข้องกับ
  • 5. ๐แผ่นพับ (Brochures) ๐โปสเตอร์ (Posters) ๐แผนที่ (Maps) ๐ป้ ายโฆษณา (Billboards) ๐การประชาสัมพันธ์ (Promotions) ๐หัวจดหมาย (Letter Heads) ๐ เว็บไซต์ เอกลักษณ์องค์กรเกี่ยวข้องกับ
  • 6. การออกแบบสร้าง “เอกลักษณ์” ให้กับองค์กรหรือแบรนด์ เป็นงานที่ยากยิ่ง เพราะไม่ใช่เป็นเพียงการออกแบบ “โลโก้”ให้สวยงามแล้วจบ แต่สิ่งที่เราต้องการคือ เอกลักษณ์ ด้านภาพที่จะสื่อสารถึง จุดยืน + บุคลิกภาพ รวมถึงวิสัยทัศน์ของแบรนด์ จากนั้นค่อยพัฒนาต่อในเรื่องระบบการใช้โลโก้+การใช้ ตัวอักษร + การใช้สี + การใช้ภาพ อื่น ๆ อีกมากมาย เอกลักษณ์องค์กรคืออะไร
  • 7. เอกลักษณ์องค์กรมีต้นกําเนิดในทวีป ยุโรปเป็นแห่งแรกในราวศตวรรษที่ 19โดย เริ่มจากความต้องการของผู้ค้า ซึ่งมีความประสงค์ที่จะแสดง ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวในสินค้าหรือบริการที่ให้แก่ผู้ซื้อ โดยมีการใช้สินค้าหัตถกรรมเป็นสินค้าประเภทแรก สัญลักษณ์ ที่แสดงความหมายเป็นเอกลักษณ์เหล่านี้จะปรากฏอยู่บน สิ่งของทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นกระดาษเขียนจดหมาย ซอง จดหมาย จนถึงป้ ายหน้าร้าน ฯลฯ ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
  • 8. ในสหรัฐอเมริกาได้มีการใช้สัญลักษณ์เพื่อแสดงความเป็น เจ้าของในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพ ปศุสัตว์ทางภาคตะวันตก ของประเทศ ที่เรียกว่าเครื่องหมาย Cattle Brand ได้แก่ เครื่องหมายที่ใช้ตีตราสัตว์เลี้ยงในฟาร์ม ในเวลานั้นยังไม่มี ผู้ใดให้ความสนใจในเรื่องของรูปแบบและความงาม ตราบ จนกระทั่งได้มีการดําเนินธุรกิจและเกิดการแข่งขันกันอย่าง แพร่หลาย นักธุรกิจจึงหันมาให้ความสนใจ และเห็น ความสําคัญของการออกแบบ ซึ่งมีส่วนช่วยในการเพิ่ม ยอดขาย ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
  • 9. ในช่วงทศวรรษ 1930 หลังช่วงเศรษฐกิจตกตํ่าครั้งใหญ่ ในอเมริกา ได้มีบริษัทหลายบริษัทเล็งเห็นความสําคัญ และ พร้อมที่จะปรับปรุงการออกแบบสินค้าของตน รวมทั้งปรับกล ยุทธ์ทางการตลาดเสียใหม่ จึงทําให้สินค้าเหล่านั้นประสบ ความสําเร็จมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักแพร่หลาย สินค้าเหล่านั้น ได้แก่ สีดัทช์บอย (Ducth Boy), โทรทัศน์อาร์ ซี เอ (RCA), นํ้ามันโมบิล (Mobil) เป็นต้น แต่เนื่องจากการออกแบบ เอกลักษณ์องค์กรในยุคนั้นมิได้มีการประสานข้อมูลระหว่าง ผู้บริหารกับนักตลาด จึงทําให้การออกแบบเอกลักษณ์องค์กร ในยุคแรกนั้นไม่ประสบความสําเร็จเท่าที่ควร ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
  • 10. นับจากช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่มี การเจริญเติบโตทางอุตสาหกรรมเป็นต้นมา ได้มีนักออกแบบ ที่มีความรู้ความสามารถจากสถาบันที่มีชื่อเสียงหลายคนเป็นผู้ จุดประกายให้กับวงการออกแบบกราฟิก (Graphic Design) ในช่วงนี้นับเป็นจุดเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ เนื่องจากก่อนหน้านี้งานออกแบบกราฟิกได้ถูก ใช้เพียงส่วนตกแต่งให้สวยงามแต่เพียงอย่าง เดียว โดยมิได้ตระหนักความสัมพันธ์ระหว่างการออกแบบ กับความสําเร็จทางการตลาด ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
  • 11. ในช่วงต้นและช่วงกลางของ ทศวรรษ 1960 ระบบการ ออกแบบเอกลักษณ์องค์กรได้กลายเป็นแนวคิดสู่ความสําเร็จ ที่ ทุกองค์กร ทุกบริษัทต่างตื่นตัวอย่าง มาก ในการที่จะสร้างสัญลักษณ์และ ระบบ เอกลักษณ์องค์กรและเริ่มมีความคิดที่ จะสร้างการออกแบบด้วยการสร้างสัญลักษณ์ที่เรียบง่าย มี ความสวยงามที่ลงตัวและไม่ล้าสมัย ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
  • 12. ในทศวรรษที่ 1970 บริษัทและองค์กรต่าง ๆ เริ่มตระหนัก ถึงผลตอบแทนที่ได้รับจากระบบเอกลักษณ์องค์กร จึงต่างทุ่ม เงินมหาศาลในการสร้างเปิดตัวสัญลักษณ์ใหม่ จนกระทั่งเกิด กรณี วอเตอร์เกต (Watergate) ที่ทําให้สหรัฐอเมริกาประสบ ปัญหาทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมจึงทําให้องค์กรต่าง ๆ พากัน ระงับแผนพัฒนาเอกลักษณ์องค์กร และหัน ไปให้การสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวกับข้อง กับสังคม เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับ องค์กรแทน ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
  • 13. ในช่วงกลางของ ทศวรรษ 1990 เป็นช่วงเวลาที่ คอมพิวเตอร์ได้เริ่มเข้ามามีบทบาทในการทํางานและใน ชีวิตประจําวันมากยิ่งขึ้น ในวงการออกแบบก็เช่นกัน ได้มีการ คิดโปรแกรมสําเร็จรูปต่าง ๆ เพื่อช่วยอํานวยความสะดวกใน การออกแบบขึ้นมากมาย จึงอาจกล่าวได้ว่า ทศวรรษ 1980 เป็นช่วงเวลาที่เทคโนโลยีผลักดันให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในวงการออกแบบ และยังคงมี พัฒนาการอย่างต่อเนื่องจนมาถึงปัจจุบัน ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
  • 14. สําหรับในประเทศไทย เอกลักษณ์องค์กรได้เริ่ม แพร่หลาย และเป็นที่ยอมรับว่ามีความสําคัญเมื่อประมาณ 10 ปีที่ผ่านมานี่เอง แม้ว่าการออกแบบกราฟิกจะเป็นที่รู้จักกันใน วงการโฆษณาในประเทศไทยมาตั้งแต่ทศวรรษ 1980 ก็ตาม แต่การออกแบบในระยะแรกจะเป็นการออกแบบสัญลักษณ์ สิ่งพิมพ์ธุรกิจหรือสิ่งพิมพ์โฆษณาให้กับบริษัทหรือองค์กร ต่าง ๆ โดยยังมิได้มีการออกแบบเอกลักษณ์องค์กร เนื่องจาก บริษัทหรือองค์กรเหล่านั้นยังไม่เห็นความสําคัญของ เอกลักษณ์องค์กร ความเป็นมาของเอกลักษณ์องค์กร
  • 15. 1)วัตถุประสงค์ทางด้านจิตวิทยา (Psychology Objective) วัตถุประสงค์ทางด้านจิตวิทยาคือ การต้องการให้ผู้บริโภคเกิด ความรู้สึก ความเชื่อมั่น เกิดความเข้าใจในตัวสินค้าและ ยอมรับในตัวสินค้า และในการเอกลักษณ์ขององค์กรปัจจุบัน วัตถุประสงค์ทางจิตวิทยาที่สําคัญคือความต้องการที่จะสร้าง ให้ผู้บริโภคเกิดความรู้สึกประทับใจในร้านที่เข้าใช้บริการ วัตถุประสงค์ทางเอกลักษณ์ขององค์กร Corporate Identity Objective
  • 16. 2)วัตถุประสงค์ทางด้านพฤติกรรม (Action Objective) วัตถุประสงค์ทางด้านพฤติกรรมคือ การที่ต้องการให้ผู้บริโภค แสดงพฤติกรรมตอบสนองการจูงใจของเอกลักษณ์ของ องค์กรเช่น กระตุ้นให้เกิดการเข้าร้าน ตลอดจนการกระตุ้นให้ ผู้บริโภคแสวงหาข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดในตัวร้าน เป็นต้น วัตถุประสงค์ทางเอกลักษณ์ขององค์กร Corporate Identity Objective
  • 17. 3)วัตถุประสงค์ทางด้านภาพพจน์ (Corporate Objective) วัตถุประสงค์ทางด้านภาพพจน์ของร้าน เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดทัศนคติที่ดี มีความนิยมชมชอบต่อ ร้านอาหาร เช่น ให้ผู้บริโภคเห็นว่าร้านมีความห่วงใยต่อสังคม มีความรับผิดชอบต่อลูกค้า เป็นต้น ซึ่งเมื่อผู้บริโภคเกิด ทัศนคติที่ดี มีภาพพจน์ที่ดีต่อร้านอาหารแล้ว สิ่งเหล่านี้ก็จะมี ผลต่อยอดขายของร้านนั้น เป็นต้น วัตถุประสงค์ทางเอกลักษณ์ขององค์กร Corporate Identity Objective
  • 18. 1) เอกลักษณ์แบบเดียว (Monolithic Identity) เป็นการ วางระบบเอกลักษณ์ที่กําหนดให้บริษัททุกสาขารวมทั้งบริษัท แม่ใช้รูปแบบสัญลักษณ์และองค์ประกอบกราฟิกแบบเดียวกัน ทั้งหมด ในการสื่อสารภาพลักษณ์เดียวกันไปสู่ผู้บริโภค ระบบ เอกลักษณ์องค์กรประเภทนี้จะเป็นการแสดงถึงความเป็น เอกลักษณ์ที่ชัดเจนที่สุดและประหยัดที่สุด ในการที่จะแสดงให้ เห็นถึงมาตรฐานเดียวกันของสินค้าหรือบริการที่ให้กับ ผู้บริโภค ผู้ค้าปีก ตลอดจนบุกคลากรของบริษัท บริษัทที่ใช้ ระบบเอกลักษณ์เดียว ได้แก่ วันทูคอลล์, พิซซ่าฮัท, เทสโก้ โลตัส, ปั๊มนํ้ามันต่าง ๆ ฯลฯ รูปแบบของเอกลักษณ์องค์กร
  • 19. 2) เอกลักษณ์แบบมีการรับรอง (Endorsed Identity) เป็น รูปแบบของการสร้างระบบเอกลักษณ์ให้กับองค์กรที่ประกอบ ธุรกิจหลายประเภทหรือเป็นลักษณะกลุ่มบริษัท การสร้าง เอกลักษณ์แบบนี้มีรากฐานความคิดว่า แต่ละบริษัทในเครือ ควรมีเอกลักษณ์ของตนเอง โดยที่เอกลักษณ์นั้นจะต้องแสดง ถึงความเป็นส่วนหนึ่งของภาพรวมขององค์กรนั้น ๆ ด้วย บริษัทประเภทนี้มักจะใช้สัญลักษณ์ของบริษัทแม่ร่วมกับ สัญลักษณ์ขององค์กรนั้น ๆ บริษัทที่ใช้เอกลักษณ์องค์การใน ลักษณะได้แก่ เครือปูนซีเมนต์ไทย เป็นต้น รูปแบบของเอกลักษณ์องค์กร
  • 20. 3) เอกลักษณ์ที่ใช้ตราหรือชื่อของสินค้าเป็นตัวสร้าง เอกลักษณ์ (Branded Identity) ระบบเอกลักษณ์ประเภทนี้จะ ใช้กับบริษัทที่เป็นผู้ผลิตสินค้าหลาย ๆ ชนิดซึ่งอาจอยู่ในสาย ผลิตภัณฑ์เดียวกันหรือไม่ก็ได้ และมักนิยมใช้กับสินค้าอุปโภค บริโภคเป็นหลัก การใช้ชื่อของสินค้าเป็นตัวเอกลักษณ์นั้น เริ่มต้นขึ้นในราวช่วงศตวรรษที่ 19 เมื่อการศึกษาและ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี มีส่วนช่วยยกระดับมาตรฐาน การครองชีพสูงขึ้นจนก่อให้เกิดตลาดขนาดใหญ่ รูปแบบของเอกลักษณ์องค์กร
  • 21. แนวคิดเบื้องหลังการสร้างเอกลักษณ์ประเภทนี้ มาจาก หลักความจริงที่ว่าสินค้าประเภทเดียวกันที่ผลิตโดยบริษัทต่าง ๆ มักจะมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานไม่แตกต่างกันมากนัก ซึ่งเราสามารถสร้างความแตกต่างได้ ด้วยการสร้าง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะพิเศษพิเศษเฉพาะตัวให้กับสินค้า นั้น อาจจะทําด้วยการใช้ชื่อ สัญลักษณ์ หีบห่อ การโฆษณา หรือการส่งเสริมการขายให้สินค้านั้นเป็นที่รู้จักแพร่หลาย ยิ่งขึ้น โดยอาศัยความรวดเร็วในการกระจายตัวสินค้าและการ โฆษณาด้วยสื่อ รูปแบบของเอกลักษณ์องค์กร
  • 22. คําขวัญ (Slogan) เป็นข่าวสารที่ผนึกรวมความคิดที่สําคัญ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ หรือเหตุผลในการซื้อผลิต ภัณฑ์ เพื่อให้ ผู้บริโภคพัฒนาความนึกคิดที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และจดจําตรา ยี่ห้อได้ คําขวัญเป็นเครื่องมือทําให้แผนการรณรงค์โฆษณา รวมกันเป็นเอกภาพ และดําเนินงานได้อย่างต่อเนื่องกันไป (continuity and Unity to Advertising) กล่าวคือ โฆษณา สินค้าตัวเดียวในโฆษณาชุดต่างๆ กันมีเนื้อเรื่องที่เปลี่ยนไป แต่ คําขวัญยังคงเดิม นอกจากนี้คําขวัญจะทําหน้าที่ก่อให้เกิด บุคลิกภาพที่แน่นอนและจําได้ง่ายสําหรับผลิตภัณฑ์อีกด้วย คํา ขวัญมี 2 ประเภท คือ คําขวัญ (Slogan)
  • 23. 1) พูดพาดพิงถึงสินค้า (Product Personality) เช่น “ที่สหธนาคารคุณสําคัญเสมอ” , “ธนาคารทหารไทย รับใช้ ประชาชน” เป็นต้น คําขวัญ (Slogan)
  • 24. 2) พูดพาดพิงถึงผู้บริโภคกลุ่มเป้ าหมาย (Target Personality) เช่น “คู่เศรษฐกิจไทย คู่ใจประชา” , “บริการทุก ระดับประทับใจ” เป็นต้น คําขวัญ (Slogan)
  • 25. 1) ควรรวมตรายี่ห้อ หรือตราบริษัทเข้าไปใน ผลิตภัณฑ์ด้วย เพื่อป้ องกันความสับสนสําหรับผู้บริโภค “ธนาคารนครหลวงไทย ใส่ใจดูแลคุณ ” 2) ควรรวมความคิดและเรื่องราวสําคัญส่วนมากไว้ เช่น คุณภาพสินค้า เพื่อจะได้เห็นความแตกต่างจากยี่ห้ออื่นได้ ชัดเจน 3) ควรจะสั้นและจดจําได้ง่าย เพื่อผู้บริโภคจะ สามารถ จดจําได้ทุกๆ คํา และระลึกถึงความสําคัญที่ เกี่ยวข้องได้ ลักษณะของคําขวัญที่ดี
  • 26. 4) ควรสร้างให้เกิดความเฉพาะตัวและมีลักษณะเด่น เป็นพิเศษ ไม่ให้เกิดการลอกเลียนแบบจากผลิตภัณฑ์ยี่ห้ออื่น ขณะเดียวกันก็ต้องสามารถประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์หลาย ชนิดภายใต้ยี่ห้อเดียวกันได้ 5) มีสัมผัสและจังหวะ เพราะจะทําให้ผู้บริโภค สามารถจดจําคําขวัญได้ง่าย โดยควรใช้ภาษาธรรมดาที่ไม่ ล้าสมัยง่าย ลักษณะของคําขวัญที่ดี The Marlboro Man Tastes great, less filling
  • 27. 1) ไม่ซับซ้อน (Simplicity) ไม่ซับซ้อนเน้นแนวคิด เพียงบางแนวคิดเดียว ซึ่งสามารถจะพัฒนาเป็นแนวคิด สร้างสรรค์ได้หลากหลายในเวลาต่อไป 2) การมีลักษณะเฉพาะตัว (Uniqueness) การมี ลักษณะเฉพาะตัวโดยแนวคิดหลักที่เลือกมาต้องมีความ แตกต่างไปจากคู่แข่งขันเช่น ถ้าเสนอลักษณะเฉพาะตัวในเรื่อง ของเทคโนโลยี ก็ต้องพูดถึงความชํานาญและเทคโนโลยี สมัยใหม่ แนวคิดการสร้างสรรค์งานเอกลักษณ์ขององค์กร
  • 28. 3) ความเหมาะสม (Appropriateness) ความ เหมาะสมที่โฆษณาสถาบันจะต้องดึงความสนใจของคนมาสู่ คุณลักษณะของตัวบริษัท โฆษณาสถาบันที่ประสบ ความสําเร็จต้องสอดคล้องกับคุณลักษณะ หรือวัตถุประสงค์ ของบริษัท 4) การมีความสัมพันธ์กัน (Relevance) การมี ความสัมพันธ์กัน โฆษณาสถาบันที่ดีจะต้องเข้าถึง กลุ่มเป้ าหมายที่คัดสรรไว้แต่แรก แนวคิดการสร้างสรรค์งานเอกลักษณ์ขององค์กร
  • 29. 6) ความต่อเนื่อง (Continuity) ความต่อเนื่องเป็น ปัจจัยของการโฆษณาสถาบันที่ประสบผลสําเร็จเพราะการ โฆษณาประเภทนี้ต้องการให้การพบเห็นติดตาอย่างต่อเนื่อง ในระยะเวลาหนึ่ง 7) ความน่าเชื่อถือ (Credibility) ความน่าเชื่อถือ การ โฆษณาสถาบันแม้จะวางแผนอย่างดีหรือเงินทุนดี แต่จะไม่ ประสบความสําเร็จถ้าไม่อ้างอิงเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เป็นจริง แนวคิดการสร้างสรรค์งานเอกลักษณ์ขององค์กร
  • 30. การจัดทําคู่มือระบบเอกลักษณ์ก็เหมือนกับการทํา หนังสือเล่มหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับองค์กร สัญลักษณ์และระบบเอกลักษณ์ทั้งหมด ข้อแนะนําและข้อห้าม ต่าง ๆ ในการใช้ระบบเอกลักษณ์ การทําหนังสือคู่มือนี้จะ เปรียบเสมือนคัมภีร์ที่ใช้ในการควบคุมระบบเอกลักษณ์ให้ เป็นไปอย่างถูกต้องและมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน สําหรับองค์กรที่มีขนาดเล็ก อาจไม่มีความจําเป็นที่ จะทําหนังสือคู่มือระบบเอกลักษณ์ เนื่องจากค่าใช้จ่ายค่อนข้าง สูง อาจจัดทําเพียงเอกสารที่กําหนดรายละเอียดขอบเขตใน การใช้งาน (Guidelines) ของระบบเอกลักษณ์ก็ได้ คู่มือและการใช้งานระบบเอกลักษณ์
  • 31. 1) กล่องคําพูด (Talk Boxes) การออกแบบในลักษณะนี้เริ่มพบเห็นได้บ่อยในปี 2006 และ กําลังจะเป็นที่นิยมในช่วงไม่กี่ปีจากนี้ โลโก้ชนิดนี้มักใช้เป็น สัญลักษณ์การสื่อสารระหว่างบริษัทที่มีต่อลูกค้า เช่น โลโก้ ของ LifeLogger ที่ใช้กล่องคําพูดที่เป็นลักษณะคล้ายฟองสบู่ และมีรอยยิ้มอยู่ภายในสื่อถึงการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับกลุ่ม เพื่อนฝูง โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
  • 32. 2) ก้อนเมฆ (Clouds) ทุก ๆ คนคงจําประสบการณ์ที่ตัวเองล้มตัวลงนอนบนพื้นหญ้า และเริ่มมองก้อนเมฆที่งดงามราวกับความฝัน หรืออาจ ครุ่นคิดและจินตนาการว่าก้อนเมฆเรียงตัวกันเป็นรูปหรือ เรื่องราวอะไร เราสามารถนํารูปทรงของก้อนเมฆมาใช้ในการ ออกแบบโลโก้ที่มีความเกี่ยวพันกับความฝัน, ความคิด สร้างสรรค์, จินตนาการ และความสนุกสนานร่าเริง โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
  • 33. 3) เงาสะท้อน (Reflections) เงาสะท้อนกําลังเป็นที่นิยมเป็นอย่างมากในงานออกแบบโลโก้ การใช้เงาสะท้อนอาจได้รับอิทธิพลมาจากเว็บไซต์ apple.com การใช้เงาสะท้อนถูกนํามาใช้แทนการใช้เงาดํา (drop shadow) แม้ว่าการใช้เงาสะท้อนกําลังเป็นที่นิยมในการออกแบบโลโก้ บนเว็บไซต์ แต่การใช้เงาสะท้อนอาจไม่เหมาะกับงานพิมพ์ โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
  • 34. 4) กล่องสี่เหลี่ยม (Rectangle) รูปทรงสี่เหลี่ยมสามารถตอบสนองลักษณะการออกแบบใน ปัจจุบันที่ต้องการความเรียบง่ายได้เป็นอย่างดี การใช้รูปทรง สี่เหลี่ยมและใช้เทคนิคเงาดําเพื่อสร้างมิติความลึก มักเป็นที่ นิยมในหมู่นักออกแบบที่ไม่มีประสบการณ์ แต่สําหรับนัก ออกแบบผู้มีความคิดสร้างสรรค์พวกเขาจะให้การพับ, การบิด งอรูปสี่เหลี่ยม เพื่อสร้างมิติให้กับโลโก้ของพวกเขา เช่นโลโก้ ของบริษัท burb ที่ออกแบบโลโก้ด้วยการพับสี่เหลี่ยมให้ กลายเป็นรูปหนังสือ สื่อถึงการเป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกับการ พิมพ์ได้เป็นอย่างดี โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
  • 35. 5) มุมโค้ง 3 มิติ (3d Puffies) นักออกแบบในยุคปัจจุบันนิยมออกแบบโลโก้ให้ดูมีมิติ (ความ ลึก) มากกว่าที่จะออกแบบให้แบนราบ แม้แต่ไอคอนบนหน้า จอคอมพิวเตอร์ทุกวันนี้ก็ถูกออกแบบให้โค้งมนและดูมีความ เป็น 3 มิติมากกว่าในอดีต ด้วยเหตุผลที่ว่าความมีมิตินั้นทําให้ ผู้ใช้งานมีความรู้สึกเหมือนกับว่าสามารถสัมผัสหรือจับต้องได้ โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
  • 36. 6) การกระพริบ (Hot Dogs ) สัญลักษณ์การกระพริบเหมือนการส่งสัญญาณถูกใช้ในโลก ของการออกแบบอย่างแพร่หลาย มันสามารถแสดง ความหมายได้หายอย่าง เช่นแสดงความหมายของการ เคลื่อนไหวของเสียง, แสดงความหมายของการคิดออกความ เข้าใจ, แสดงความหมายของการส่งสัญญาณการสื่อสาร โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
  • 37. 7) คลื่นส่งสัญญาณ (Transmission beam) สัญลักษณ์คลื่นส่งสัญญาณนั้นสามารถสื่อความหมายถึงความ เกี่ยวพันธ์กับเทคโนโลยี (โดยเฉพาะการสื่อสาร)ได้อย่าง รวดเร็วและชัดเจน บริษัทที่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์หรือ อินเตอร์เน็ตหลายแห่งใช้สัญลักษณ์นี้ในการออกแบบโลโก้ การ ออกแบบสัญลักษณ์คลื่นส่งสัญญาณโดยให้เริ่มต้นจากจุดและ กระจายเป็นเส้นโค้งที่มีขนาดใหญ่ขึ้นไปเรื่อย ๆ แสดงถึงการ สื่อสารจากคน ๆ เดียวไปยังฝูงชนได้เป็นอย่างดี มักถูกใช้ใน เว็บไซต์ประเภท blog ที่ให้ผู้ใช้สามารถเข้ามาเขียนเรื่องราว ของตนเองได้ โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
  • 38. 8) รูปคน (People) มนุษย์ย่อมมีความสนใจมนุษย์ด้วยกันเองดังนั้นสัญลักษณ์ที่ เป็นตัวแทนของมนุษย์ย่อมดึงดูดสายตาผู้พบเห็นได้เป็นอย่าง ดี โลโก้ของหลายบริษัทนํารูปของคนหลายคนมาจัดกลุ่มแสดง ถึงความสัมพันธ์อันดีระหว่างบริษัทกับลูกค้า และถ้านํารูป ของคนจํานวนมากมารวมกันย่อมสื่อถึงความยิ่งใหญ่ของ องค์กร แต่การนํารูปคนเพียงคนเดียวมานําเสนอเป็นโลโก้ก็สื่อ ความหมายถึงการที่บริษัทให้ความสําคัญของลูกค้า ลูกค้า สามารถจัดการกับสิ่งต่าง ๆ ตามที่เขาต้องการได้ โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
  • 39. 9) โปร่งใส (Transparency) ความโปร่งใสยังคงเป็นที่นิยมในการออกแบบโลโก้ การซ้อน รูปทรงที่โปร่งใสทับกันไปมาจะทําให้เกิดมิตาของรูปทรง ขึ้นมา การนํารูปทรงที่โปร่งใสมาวางทับกันยังสามารถสื่อถึง ความเกี่ยวข้องและความสัมพันธ์กันได้เป็นอย่างดี โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
  • 40. 10) เส้นรอบนอก (Outlines) การเพิ่มเส้นรอบนอกให้มาช่วยให้สร้างความมีมิติแก่โลโก้ได้ เป็นอย่างดี ที่สําคัญคือการออกแบบโดยใช้เส้นรอบนอกเพื่อ สร้างมิติให้กับโลโก้นั้นทําให้โลโก้มีลักษณะเรียบง่าย และแสดง ถึงความก้าวหน้าแสดงการขยายออกจากสูญกลาง โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
  • 41. 11) เครื่องหมายคําพูด,เครื่องหมายวรรคตอน (Punctuation) ในงานเขียน เครื่องหมายคําพูด, เครื่องหมาย วรรคตอน ถูกใช้เพื่อเน้นความสําคัญดังนั้นหากนํา เครื่องหมายนี้มาใช้ในงานออกแบบโลโก้ย่อมสื่อถึงการเน้นยํ้า การให้ความหมาย เป็นการสร้างจุดสนใจในงานออกแบบโลโก้ ได้เป็นอย่างดี โลโก้ 11 แบบสําหรับเว็บไซต์ยุคใหม่
  • 42. ในปี 1976 Ron Wayne ซึ่งเป็นวิศวกรที่ทํางานร่วมกับ สตีฟ จอปส์ที่ ได้เข้ามาเป็นผู้ร่วมก่อตั้งคนที่ 3 ของ Apple งานแรกๆ ของเขางานนึงคือออกแบบ Logo ให้บริษัทนี่เอง แนวคิดของ Wayne คือลูกแอปเปิ้ลที่ทําให้นิวตั้นค้นพบแรง โน้มถ่วงของโลก เป็นต้นกําเนิด idea และสมมุติฐานทาง วิทยาศาสตร์ใหม่ๆ Logo อันนี้ Wayne ดรออิ้งด้วยปากกาหมึก ดํา เป็นรูปเซอร์ไอแซค นิวตันนั่งอยู่ใต้ต้นแอบเปิล Apple Logo Design
  • 43. ในเดือน เมษายน 1977 Rob Janov ได้ออกแบบโลโก้ใหม่ ให้ Apple จานอฟเริ่มงานจากภาพเงาขาวดําของลูกแอปเปิ้ล แล้วก็ค่อยๆเพิ่มไอเดียเข้าไป "ผมเอาลูกแอปเปิ้ลมาทําเป็น ฟอร์มง่ายๆก่อน แล้วก็เพิ่มรอยกัด-bite -ซึ่งอาจจะหมายถึง Byte ก็ได้ใช่ไหม? (เขาเล่นคําพ้องเสียง bite เป็น byte) แล้ว การใส่รอยกัดไปข้างๆก็ทําให้มันดูเป็นแอปเปิ้ลมากขึ้นแทนที่ จะดูคล้ายเป็นเชอรี่หรือมะเขือเทศ" จานอฟอธิบายหลัง จากนั้นเขาก็ใส่แถบสีเข้าไปหกสี แรงบันดาลใจเรื่องแถบสีเอา มาจากเครื่อง Apple II ในตอนนั้นที่เป็นเครื่องสําหรับ consumer รุ่นแรกที่แสดงผลเป็นสีได้ logo แอปเปิ้ลสีรุ้งถูกใช้ มา 20 ปีเต็ม ตั้งแต่ปี 1977-1997 Apple Logo Design
  • 44. logo ล่าสุดที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน หลังจากที่ jobs ได้กลับมา บริหาร Apple อีกครั้ง ก็ได้ปรับปรุงการดําเนินงาน รูปแบบ ดีไซน์เครื่องและภาพพจน์ของบริษัทเสียใหม่ เลยเกิดโปรเจค ใหม่ๆอย่าง iMac, แคมเปญโฆษณาและคําขวัญ Think Different แล้วก็ logo แบบสีเดียวใสๆ เครื่องแมครุ่นแรกที่ใช้ logo สีเดียวแทนที่จะเป็นสีรุ้งแบบเดิมคือเครื่อง Powerbook G3 ที่ออกในวันที่ 6 พฤษภาคม 1998 Apple Logo Design
  • 45. โลโก้ของ IBM ในยุค 1947 -1956 ถูกออกแบบโดยใช้ ตัวอักษรแบบมีเชิง (serif) โดยใช้สีฟ้ า ต่อมาในปึ 1956 ได้มีการออกแบบโลโก้ใหม่ให้มีความทึบ ตันและดูหนายิ่งขึ้น ทําให้ดูแข็งแรงและอ่านง่ายขึ้น ในปี 1972 บริษัทได้ทําการปรับปรุงโลโก้อีกครั้งโดยใช้ เส้นสีฟ้ า (มีสองแบบคือมีเส้นจํานวน 8 เส้นและ 13 เส้น) ซึ่ง สื่อถึงความเร็วและพลศาสตร์ IBM 1947 - 1956 1956 - 1972 1972 - now Logo Design
  • 46. โลโก้ของ Microsoft ในปี 1976 ถูกออกแบบอย่างมีสไตล์ และเรียบง่าย โลโก้สื่อถึงพันธกิจของบริษัทที่นําเสนอสินค้า คุณภาพให้กับลูกค้าโดยใช้ตัวอักษรที่เรียบง่าย โลโก้ในปี 1985 ถูกออกแบบโดยให้ตัว O อยู่ตรงการ จึง ถูกเรียกว่า PC ส่วนโลโก้ในยุคปัจจุบันได้เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี 1985 โดยใช้ ตัวอักษรตัวเอียงแบบ Helvetica และสร้างรอยแยกระหว่างตัว O กับตัว S เป็นการแยกคําทําให้อ่านง่ายและยังแสดงถึง ความเร็วอีกด้วย Microsoft Logo Design