SlideShare a Scribd company logo
กกาารบรรยยาายครรั้งั้งททีี่่ 88 
บทททีี่่88 ฉฉาาก สสีี แแลละะ แแสสงใในนกกาาร 
ผลลิติตรราายกกาารววิทิทยยุุโโททรททัศัศนน์์ 
หัวข้อพิเศษทางสอื่ดิจิตอล 
Special Topic in Digital Media 
รหัสวิชา CMA 448 ภาคการศึกษาที่ 1.2/2557 
อ. ราเชน นาคพงศ์ มือถือ 091 229 6644 
E-mail : richyrachen@gmail.com
กกาารจจััดฉฉาากโโททรททัศัศนน์์ 
• เป็นศิลปะที่มี....... 
จุดร่วมกับการตกแต่งภายใน 
แต่มีข้อแตกต่าง 
กับการตกแต่งภายใน 
เช่น 
ต้องคำานึงถึงมุมกล้อง 
ต้องคำานึงถึงความจำาเป็น 
ทพีิ่ธีกรต้องเคลื่อนที่ 
หรือต้องมีสิ่งของที่จำาเป็นประกอบฉาก
ศศิลิลปปะะกกาารจจัดัดฉฉาาก 
โโททรททัศัศนน์์ 
เป็นศิลปะทลี่ะเอียดอ่อน 
ผู้ออกแบบต้องคำานึงถึง 
พนื้ฐานของฉากแต่ละรายการ 
สีของเฟอร์นิเจอร์การตกแต่ง 
• ต้องรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์เครื่องมือ 
การผลิตรายการโทรทัศน์บ้าง 
รู้ขีดจำากัดของกล้องโทรทัศน์ 
ความสัมพันธ์ของแสง & ตัวพิธีกร
กาารออกแแบบบฉาาก 
โโททรททัศัศนน์ต์ต้อ้องดดำาำาเเนนินินอยยูู่่ 
ภภาายใใตต้้ 
1.จุดประสงค์ขั้นพื้นฐานการออกแบบ 
(THE PURFOSES OF SCENE DESIGN) 
2.องค์ประกอบของการออกแบบ 
(THE ELEMENT OF DESIGN) 
3.หลักสำาคัญในการออกแบบ 
(THE PRINCIPLES OF DESIGN) 
4.การดำาเนินงาน (WORKING PROCEDURES) 
5.การประกอบฉาก (ASSEMBLING SCENERY) 
6.การคำานึงถึงมุมกล้อง (CAMERA’S ANGLE)
11..จุดปรระะสงคค์ข์ขั้นั้นพพื้นื้นฐฐาานใในนกกาาร 
ออกแแบบบ 
((TTHHEE PPUURRFFOOSSEESS OOFF SSCCEENNEE DDEESSIIGGNN)) 
ผู้ออกแบบฉากต้องรู้จุดประสงค์ขั้นพื้น 
ฐาน 2 ประการ คือ 
1.1 เพื่อช่วยให้ผู้ชมเกิดความเข้าใจในเนื้อหาสาระ 
ของรายการ 
เสริมสร้างบรรยากาศของรายการให้เข้ากับ 
เนอื้หาสาระ 
เพมิ่รสชาติให้กับรายการ 
ช่วยให้ผู้ชมเข้าใจเนอื้หาสาระ 
สามารถปะติดปะต่อเรื่องได้ 
เกิดความสนใจตามดูรายการนั้นจนจบ 
1.2 เพื่อก่อให้เกิดคุณค่าของงานศิลป์
22..องคค์์ปรระะกอบของกกาาร 
ออกแแบบบ 
((TTHHEE EELLEEMMEENNTT OOFF DDEESSIIGGNN)) 
องค์ประกอบพื้นฐานของการ 
ออกแบบฉาก 
มักจะประกอบด้วย 
เส้น (LINE) รูปร่าง (SHAPE) 
ส่วนว่าง (SPACE) สี (COLOR) 
ลวดลาย (TEXTURE)
คววาามหมมาาย // หนน้า้าททีี่่ 
ของ........ฉฉาาก((SScceenneerryy)) 
หมายถึง 
สถานที่ที่เป็นสภาพแวดล้อม 
สำาหรับตัวละคร /การแสดง 
ออกแบบเพื่อเน้นการกระทำา / 
ความขัดแย้งของตัวละคร 
บอกให้ทราบถึงสถานที่ในละคร 
บอกเวลากลางวัน กลางคืน 
บอกยุคสมัยที่เกิดเหตุการณ์ขึ้น 
ต้องทำาให้แลเห็นสภาพแวดล้อมของตัวละครอย่างเด่นชัด 
ต้องทำาให้คนดูทราบได้ว่าด้านนอก (Exterior)หรือด้านใน 
(Interior) ของสถานที่ 
อยู่ในเมือง / นอกเมือง เป็นของจริง /จินตนาการ หรือ 
เป็นความฝัน
คคุุณสมบบััตติขิของฉฉาาก 
 เปิดเผยความสัมพันธ์ระหว่างคนสองคน 
หรือคนหนึ่งกับที่อยู่อาศัย 
 สามารถเผยตำาแหน่งหน้าทกี่ารงาน 
สถานทที่ำางาน อำานาจและสถานะในครอบครัว 
 ช่วยให้ผู้ชมสามารถเพ่งสมาธิไปที่ 
บุคลิกลักษณะ 
ตัวละคร องค์ประกอบทางสัญลักษณ์ต่างๆ 
 สามารถครอบนักแสดงให้อยใู่นกรอบทจีั่ด 
 เป็นการเน้นให้เด่นชัด 
 สามารถสร้างสรรค์บรรยากาศและอารมณ์ 
ก่อให้เกิดปฏิกิริยาโต้ตอบของผู้ชมต่อตัวละคร 
และบทละคร
คคุุณสมบบััตติขิของฉฉาาก 
 สร้างขึ้นจากความต้องการและความตั้งใจของผู้ 
เขียนบทละคร 
 สร้างจากการตีความหมายของผู้กำากับการแสดง 
 ต้องเอื้ออำานวยต่อนักแสดง / การแสดง ไม่ข่ม 
ตัวละครให้ด้อยลง 
 ไม่ข่มเสื้อผ้าที่นักแสดงสวมใส่อยู่ 
 ต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการวางตำาแหน่งตัวละคร 
 ไม่ควรหักเหความสนใจของผู้ชมไปจากการ 
แสดงของตัวละคร 
 ต้องช่วยเสริมเนอื้หาของเหตุการณ์ในละคร ไม่ 
ควรปิดบังเนื้อหา 
 ควรเรียบง่าย (Simplicity) ในการออกแบบ / 
ในโครงสร้าง / ในการเปลี่ยนฉาก และ
ปรระะเเภภทของฉฉาากรราายกกาาร 
ววิิทยยุุโโททรททัศัศนน์์ 
แบ่งเป็น 3 ลักษณะดังนี้ 
• แบ่งตามที่ตั้ง 
• แบ่งตามประเภทรายการ 
• แบ่งตามการสร้างสรรค์ 
ฉาก
ปรระะเเภภทของฉฉาาก 
1.แบ่งตามที่ตั้ง 
• Indoor Studio Outdoor Studio
ปรระะเเภภทของฉฉาาก 
2.แบ่งตามประเภทรายการ 
•ละคร 
•ข่าว 
•ทอล์คโชว์ เกมส์โชว์ 
•แข่งขันตอบปัญหา 
•ประเภทอื่นๆ
ปรระะเเภภทของฉฉาาก 
3.แบ่งตามการสรางสรรค์ฉาก 
• Chroma Key 
• Cyclorama 
•ฉากธรรมชาติ 
•ฉากเสมือนจริง Versual 
Sets
CChhrroommaa KKeeyy 
• หรือที่เรารู้จักกันในนาม Green/Blue 
Screen 
• คือการซ้อนภาพแบบ ใช้กุญแจสี 
• หลักการก็คือ ใช้ฉากหลังเป็นสีใดสีหนงึ่ 
เพื่อประโยชน์ในการเจาะเปลี่ยนฉากที่ไม่ 
สามารถนำามาเข้าเป็นฉากจริงได้ 
• โครมาคีย์จะใช้สีใด ๆ มาเป็นฉากหลัง 
ก็ได้ 
แล้วให้เครื่องมือทั้งที่เป็นฮาร์ดแวร์ และ 
ซอฟต์แวร์ นำาสีนั้นมาเป็นกุญแจเจาะให้ 
ทะลุออกแล้วนำาฉากหลังอื่น ๆ มาซ้อนเป็น
CChhrroommaa KKeeyy
CCyycclloorraammaa
ฉฉาากเเสสมมือือน ((VViirrttuuaall 
SSeett)) 
• ในห้องส่ง NHK Broadcast Center มีพื้นที่ 
ใช้งานประมาณ 30 x 50 เมตร เป็นฉาก 
เสมือนยี่ห้อ VIZRT ขนาดใช้งานกับกล้อง 
3 กล้อง ระบบ Sensor เป็นแบบ 
Mechanics Sensor ติดที่ขากล้องเป็นแบบ 
Pedestal ใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์- 
กราฟฟิก ใช้ Maya Software ออกแบบ 
ฉาก 3D (Three Dimension)สงิ่ที่สำาคัญใน 
การสร้างฉากเสมือน ก็คือ ความคิด 
สร้างสรรค์ของงานกราฟฟิก ควบคกูั่บ 
ระบบ Virtual Set ที่มีเสถียรภาพสูง ทำาให้ 
ได้ภาพที่ออกมาสมจริง และมีอรรถรสใน
ฉฉาากเเสสมมือือน ((VViirrttuuaall 
SSeett))
ฉฉาากหลลัังหรรือือแแบบคกรราาวดด์์ 
เป็นสิ่งจำาเป็นช่วยเสริมบรรยากาศ ทำาให้เกิดความ 
ลึก 
แบ่งออกเป็นประเภทต่างๆดังนี้ 
1. ภาพเขียน 
2. ภาพถ่าย 
3. การฉายภาพด้านหลังจอ ฉายภาพนงิ่ / 
ภาพยนตร์ทฉี่ากหลังของผู้แสดง ให้บรรยากาศ 
มากทสีุ่ด เพราะเป็นแบคกราวด์ทมีี่ความ 
เคลื่อนไหวได้ 
4. การสร้างฉากขึ้นจริงๆ 
5.ไซโคลราม่า ( Cyclorama ) เป็นฉากผนังเกลี้ยง 
ลบมุมด้วยความโค้ง ทำาให้กำาหนดความลึกได้ยาก 
แบคกราวด์ประเภทนี้มักจะใช้ร่วมกับแบคกราวด์
กกาารววาางฉฉาาก 
แบ่งออกได้เป็น 4 แบบคือ 
1. ฉากแบน 
กรณีที่มีผู้แสดงน้อย นั่งกับที่ ไม่เคลื่อนไหว 
เช่น รายการสัมภาษณ์ รายการข่าว 
หรือประกาศรายการสถานี 
2. ฉากรูปตัวแอล 
ในกรณีที่มีผู้แสดงน้อย แต่มีการเคลื่อนไหว 
3. ฉากรูปตัวยู 
โดยมากมักจะเป็นฉากใหญ่ที่มีการเคลื่อนไหวมาก 
4. ฉากปิด 
มีผนังทั้ง 4ด้าน ผนังบางด้านติดอยู่กับล้อเลื่อน 
เพื่อเปิดออกบางครั้งเพื่อความสะดวกในการถ่ายทำา
หลลักักของกกาารจจัดัดฉฉาาก 
ต้องให้เกิดความลึก 
ต้องวางวัสดุให้เกิดระยะที่แตกต่างกัน 
ไปจนถึงฉากหลัง 
ซึ่งสามารถทำาได้ดังนี้ 
1. การจัดให้มี โฟกราวด์ ผแู้สดง และแบค 
กราวด์ 
2. โดยการสร้างฉาก ให้เกิดการลวงตาว่า 
เป็นระยะไกล 
3. เพิ่มความละเอียดของ โฟกราวด์ และลด 
ความชัดของ 
ด์
ชนนิดิดของฉฉาากแแบบ่่งไไดด้้ 33 
ปรระะเเภภทคคืือ 
1. แบบธรรมดา หรือแบบพนื้ฐาน (Neutral) 
•เป็นแบบฉากทงี่่ายทสีุ่ดฉากหลังเป็นพื้นสีธรรมดา 
•กรณีฉากหลังเป็นพื้นสีดำา เรียกว่า “คามิโอ 
(Cameo)” ต้องระวังในเรื่องของการจัดแสง ไม่ 
ให้แสงทใี่ช้ส่องนักแสดงไปกระทบฉากหลัง 
•ไฟทนี่ำามาใช้จัดฉากนคี้วรเป็นไฟสปอต์ไลท์ 
อย่างเดียว เพราะสามารถควบคุมทิศทางและการก 
ระจายของแสงได้ดีทสีุ่ด 
•ส่วนฉากหลังเป็นพนื้สีอื่นๆเช่น สีแดง สีม่วง สี 
เขียว สีฟ้า ฯลฯ 
เราเรียกว่า “ลิมโบ้ (Limbo)” 
ไฟทนี่ำามาใช้ควรเป็นไฟประเภท ฟลัดไลท์ 
(Floodlights)
ฉฉาากแแบบบธรรมดดาาแแบบบพพื้นื้น 
ฐฐาาน ((NNeeuuttrraall))
22.. เเหหมมือือนจรริิง ((RReeaalliissttiicc)) 
เป็นการจัดฉากให้ดูสมจริง 
มากทสีุ่ด นำาอุปกรณ์ 
ประกอบฉากของจริง 
หรือที่ทำาขึ้นมาใช้แทน 
***** ควรคำานึงถึง 
ความเป็นจริงของสถานที่ๆ 
นำามาจัดฉากให้มากที่สุด
33.. ไไมม่เ่เหหมมือือนจรริงิง ((AAbbssttrraacctt)) 
เป็นการจัดฉากที่ไม่คำานึงถึงความสมจริง 
ลักษณะฉากเป็นนามธรรม 
หรือมีลักษณะ เหนือจริง (Surrealistic) 
หรือ เป็นแบบเพ้อฝัน (Fantasy) 
*****ควรคำานึงถึงรายละเอียด 
วัสดุอุปกรณ์ประกอบฉากมากเป็นพิเศษ 
คำานึงถึงวัตถุประสงค์ของรายการ 
งบประมาณและแนวคิดของผู้จัด 
เพื่อให้เกิดความสอดคล้องของฉากต่อเรื่องราวที่ 
นำาเสนอ
ววััสดดุุของฉฉาาก 
1. แฟลต (Flat) 
วัสดุอุปกรณ์ประกอบฉาก 
ที่เป็นแผ่นสี่เหลี่ยมแบนๆ 
ขนาด 4 คูณ10 ฟุตที่สามารถ 
นำามาประกอบกันเข้าเป็น 
ฝาผนังเป็นห้องได้ ทำาจาก 
ไม้อัด กระป๋อง กระดาษหรือ 
ผ้าใบ ส่วนมากจะใช้ไม้อัด 
เพราะทนทาน ไม่แพง 
•
22.. ไไซซโโคคลรราามมาา ((CCyycclloorraammaa)) 
วัสดุประกอบฉากที่มีลักษณะ 
เป็นผ้าหรือวัสดุที่ไม่มีรอยต่อ 
ขึงตึงจากเพดานถึงพื้นสตูดิโอ 
ขึงฉากเป็นรูปตัว U ควำ่า 
ปกติสีเทาหรือสีขาวหม่นๆ สี 
ใกล้เคียงพื้นของสตูดิโอ 
ด้านล่าง 
มีไฟกราวด์ โรว์ (Ground row) 
ส่องฉากให้กลมกลืนกับพื้นสตูดิโอ 
ช่วยให้รู้ถึงความลึกของฉาก 
มองภาพออกไปได้ไกลไม่มีที่สิ้นสุด 
สามารถนำาไฟสีมาส่องรูปทรงต่างๆได้อีกด้วย 
•
CCyycclloorraammaa
33.. ววััสดดุฉุฉาากสสำาำาเเรร็จ็จ(( SSeett 
PPiieecceess)) 
คือ การสร้างฉากทมีี่รายละเอียด 
ไม่ว่าจะเป็นฝาผนัง เสา ประตู 
หน้าต่าง หรือบันได ฯลฯ 
เพอื่ประหยัดเวลาและงบประมาณ 
หรือใช้วัสดุทเี่รียกว่า “ยกพนื้ (Riser)” 
เป็นวัสดุฉากที่ยกสูงขึ้นจากพื้นสตูดิโอ 
จะมีลักษณะ สี่เหลี่ยม วงกลม เป็นต้น
44.. ววััสดดุฉุฉาากปรระะเเภภทแแขขวน 
(( HHaannggiinngg UUnniitt)) 
คือ วัสดุประกอบฉากประเภทแขวน 
มาตกแต่งเพื่อความสวยงาม 
เช่น ม่าน มลูี่่ โคมไฟ ฉากกระดาษ 
หรือฉาก ผนังทแี่ขวนไว้เหนือสตูดิโอ 
ทำาให้ง่ายต่อการ 
ปรับเปลี่ยนฉาก 
แค่ดึงฉากลงมาทพี่นื้สตูดิโอ 
ก็ใช้เป็นฉากประกอบได้ 
ทำาให้ประหยัดเวลา 
และงบประมาณ
55.. ววััสดดุุปรระะกอบฉฉาาก ((PPrrooppeerrttiieess)) 
คือ วัสดุทุกชนิดทนี่ำามาประกอบภาย 
ในฉาก เช่น เฟอร์นิเจอร์ โต๊ะ เตียง 
ตะเกียง รูปภาพ หนังสือ ม่านหน้าต่าง 
จาน ชาม อาหาร แก้วนำ้า ฯลฯ 
วัสดุประกอบฉากแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 
5.1 Set Prop 
5.2 Hand Prop
55..11 SSeett PPrroopp 
• คือ วัสดุอะไรก็ตามที่นำามา 
ตกแต่งเพื่อเพมิ่รายละเอียด 
บรรยากาศ หรือทำาให้ฉาก 
นั้นสวยงามขึ้นอีกทั้งยัง 
สามารถใช้ในฉากนั้นได้ 
เช่น หนังสือ แจกัน 
โทรทัศน์ วิทยุ รูปภาพ โต๊ะ 
ชั้นวางของเป็นต้น
55..22 HHaanndd PPrroopp 
•คือ วัสดุประกอบ 
ฉากที่ให้นักแสดง 
ถือหรือจับในฉาก 
เช่น หนังสือ มีด ปืน 
อาหาร เครื่องดื่ม 
หนังสือพิมพ์ เป็นต้น
องคค์์ปรระะกอบใในนกกาารจจััด 
ฉฉาาก 
• การจัดวางองค์ประกอบ 
(Composition) 
• เส้นและพื้นผิว 
• ( Line and Texture) 
• สี (Color)
กกาารจจััดววาางองคค์์ปรระะกอบ 
ฉฉาาก ((CCoommppoossiittiioonn)) 
คือการจัดวางตำาแหน่งขององค์ประกอบฉาก 
ยึดหลักของความสมดุลและมีเอกภาพ 
เหมาะกับพนื้ที่ มุมและตำาแหน่งกล้อง 
ผู้ออกแบบฉากต้องทราบถึงแผนการ 
ถ่ายทำาของรายการ 
และ 
การวางตำาแหน่งกล้อง 
เพื่อวางแผนจัดองค์ประกอบของ 
ฉากให้สามารถใช้งานได้ดี 
เหมือนกันหมดทุกมุม
เเสส้น้นแแลละะพพื้นื้นผผิวิว ((LLiinnee aanndd 
TTeexxttuurree)) 
หมายถึง รูปร่างโดยรวมของฉาก 
รวมไปถึงมิติและการมอง 
เห็นได้ด้วยตา (Perspective) 
รูปร่างของฉากควรกลมกลืน 
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Unity) 
ช่วยสร้างบรรยากาศอารมณ์ของรายการได้ 
ซึ่งฉากที่มีการจัดเหมือนจริง 
ก็จะใช้เส้นที่มีรูปร่างและมีมุมมองธรรมดา 
เพอื่ให้เกิดความสมจริง เ 
ช่น ห้องก็จะเป็นรูปสี่เหลี่ยม ของทอี่ยู่ใกล้มักจะ 
ใหญ่กว่าของที่อยู่ไกลเป็นต้น
เเสส้น้นสสาามมาารถแแบบ่่งออกไไดด้้ 44 
ปรระะเเภภทคคืือ 
1. เส้นแนวนอน (Vertical Line) 
มีลักษณะเป็นเส้นตรงตามแนวนอน จะให้เกิดความ 
รู้สึกถึงความกว้าง และเรียบ 
2. เส้นแนวตั้ง (Horizontal Line) 
มีลักษณะเป็นเส้นตรงแนวดิ่งหรือแนวตั้ง จะให้เกิด 
ความรู้สึกถึงความสูงแลความลึก 
3. เส้นแนวเฉียง (Perspective Line) 
มีลักษณะเป็นเส้นตรงทำามุมเป็นมุมเฉียง จะให้เกิด 
ความรู้สึกถึงการเคลื่อนที่ การยำ้าเน้น และความลึก 
4. เส้นที่ไม่ใช่เส้นตรง (Cycle Line) 
หมายถึง เส้นที่มีลักษณะโค้ง ไม่เป็นเส้นตรง จะให้เกิด 
ความรู้สึกถึงความอ่อนไหว ความสับสน ความโลเล 
ความงุนงง และการเคลื่อนไหว 
•
พพื้นื้นผผิวิว 
• หมายถึง การสร้างลักษณะ 
ทางกายภาพของพื้นผิว เช่น 
ผิวเรียบ ผิวขรุขระ ผิวมันวาว 
เป็นต้น สามารถแบ่งได้ 2 วิธี 
คือ 
• 1. การสร้างพื้นผิวที่มีมิติขึ้นมา 
จริง 
• 2. การระบายสีหรือการวาด
33..หลลัักสสำาำาคคััญใในนกกาาร 
ออกแแบบบ 
((TTHHEE PPRRIINNCCIIPPLLEESS OOFF DDEESSIIGGNN)) 
การออกแบบที่ดีมักจะประกอบด้วย 
หลักสำาคัญ ดังนี้ 
1.(HARMONY) ความกลมกลืน 
2.(BALANCE) ความสมดุล 
3.(PROPORTION) สัดส่วน 
4.(EMPHASIS) การเน้น 
5.(RHYTHM) จังหวะ
องคค์์ปรระะกอบใในนกกาาร 
ออกแแบบบฉฉาาก 
• รูปแบบ Style 
• รูปแบบเสมือนจริง Realistic 
• รูปแบบธรรมชาติ Abstract 
• รูปแบบการจัดฉากแบบเปิด 
Open Set
44..กกาารดดำาำาเเนนินินงงาาน ((WWOORRKKIINNGG 
PPRROOCCEEDDUUEESS)) 
นักออกแบบจะต้องทำาก็คือ 
ต้องเข้าใจรูปแบบรายการ 
ศึกษารูปแบบรายการอย่างละเอียด 
เริ่มศึกษาจากลักษณะของ เนอื้หา 
ภาษา และวัฒนธรรม พอเข้าใจ 
รูปแบบของรายการแล้วก็ออกแบบ 
ฉากให้เข้ากับรูปแบบรายการ
ขขั้นั้นตอนแแลละะเเททคนนิคิคกกาาร 
สรร้้าางฉฉาาก 
การตกลงประเด็นหรือ 
แนวคิดของรายการ 
Conceptร่วมกัน 
การทำาแบบร่าง Sketch 
การเขียนแบบก่อสร้างฉาก 
แผนผัง ทัศนียภาพ ภาพด้าน 
ข้าง 
แบบก่อสร้างฉาก Set
55..กกาารปรระะกอบ 
ฉฉาาก ((AASSSSEEMMBBLLIINNGG SSCCEENNEERRYY)) 
แบ่งเป็นแบบใหญ่ๆได้ 2 แบบคือ 
1.แบบไม่ถาวร คือแบบที่ต่อแล้ว 
สามารถจะรื้อถอนได้อย่างรวดเร็ว 
หรือเปลี่ยนฉากได้ง่าย 
2.แบบถาวร คือแบบที่ใช้กับห้องส่ง 
ขนาดเล็ก ซึ่งไม่ต้องการ การเปลี่ยน 
ฉากบ่อย ติดตั้งแต่ละครั้งจะใช้เวลา 
นานโดยไม่ต้องรื้อและประกอบใหม่ 
แบบนี้มักต้องการความคงทนถาวร 
เช่น ฉากรายการข่าว เป็นต้น
66..กกาารคคำาำานนึงึงถถึึงมมุมุมกลล้้อง ((CCAAMMEERRAA 
AANNGGLLEE)) 
• ห้องส่งโทรทัศน์ส่วนใหญ่จะมีกล้องอย่าง 
น้อย 3 ตัว การจัดฉากจึงต้องคำานึงถึงมุมกล้อง 
ให้มาก เพอื่ไม่ให้ภาพทอี่อกมาทางเครื่อง 
รับ (MONITOR) ตกออกจากฉากที่ทำาไว้ 
• แต่บางครั้งก็ยังเกิดการตกฉากขึ้นอีก กรณีนี้ 
สามารถแก้ไขได้ โดยนำาแผ่นผนังมากนั้ไว้ต่อ 
จากแผ่นผนังเดิม และทาสีให้เหมือนผนังเดิม ก็ 
จะได้ให้ฉากที่หลุดไปนั้นเต็มเครื่องรับได้ 
• การแก้อีกวิธีหนงึ่ก็คือ การใช้ระยะภาพช่วย ซงึ่ 
สามารถควบคุมได้ทกี่ล้องทุกตัว หมายความว่า 
ถ้าใช้ระยะไกล (LONG SHOT) แล้ว ภาพทไี่ด้จะตก 
ฉาก ก็ให้ปรับภาพให้อยรู่ะยะใกล้เข้ามา (MEDIUM
สสีี ((CCOOLLOORR)) 
•สีเป็นส่วนที่สำาคัญส่วนหนึ่งใน 
ศิลปะทุกชนิดเพราะสร้าง 
ความแตกต่างของวัตถุ สิ่งของ 
สถานที่ ความใกล้ไกล ความ 
มืดความสว่าง ได้สมจริงกว่า 
เก่า 
• สีสามารถแบ่งเป็นประเภท 
ใหญ่ๆ ได้ 3 ประเภท คือ
ข้อควรรระะววัังใในนกกาารใใชช้้สสีี 
เเพพื่อื่อกกาารออกแแบบบ 
1. ไม่ควรใช้สีขาวจัด หรือดำาสนิท เพราะกล้องไม่ 
สามารถทำางานกับความสว่างที่สูงมากๆหรือตำ่ามากๆได้ 
2. ไม่ควรใช้สีอ่อนเกินไป เช่น ฟ้าอ่อน เหลืองอ่อน 
ชมพูอ่อน หรือการใช้สีทเี่ข้มเกินไปเช่น แดงเข้ม 
นำ้าเงินเข้ม หรือนำ้าตาลเข้ม เพราะสทีี่อ่อนเกินไปเมื่อ 
โดนแสงจะถกูดูดกลืนไปกับสีขาว ส่วนสีทเี่ข้มมากๆจะ 
ถูกดูดกลืนจากสีดำา 
3. ไม่ควรใช้สีสะท้อน เพราะทำาใหก้ารวัดแสงของ 
กล้องวัดแสงอัตโนมัติไปที่สีสะท้อนตรงนั้น 
4. ควรระวังเรื่องแสงสะท้อน เช่นถา้โต๊ะเป็นสีเขียว 
หรือสีขาว เมอื่โดนแสงอาจสะทอ้นโดนหน้านักแสดง 
หรือวัตถอุื่นๆในฉากให้เกิดการเปลี่ยนสไีด้ ดังนนั้จึง
แแสสง LLiigghhtt
คววาามสสำาำาคคััญใในนกกาารจจัดัด 
แแสสง 
1. เพื่อให้แสงที่เพียงพอและเหมาะสม 
2. เพื่อลบเงา 
3. เพื่อให้ได้สีที่ถูกต้องและสวยงาม 
4. เพื่อให้เกิดรูปทรงและมิติ 
โดยใช้เทคนิคการจัดแสงแบบ 3 เหลี่ยม 
5. เพื่อเป็นการบอกเวลาและสถานที่ 
โดยการใช้ความแตกต่างเรื่องความสว่างความมืดของ 
แสง 
6. เพื่อเป็นการสร้างบรรยากาศหรืออารมณ์ 
7. เพื่อให้เกิดความสนใจเฉพาะจุด ก็ได้
ศศัพัพทท์ท์ที่เี่เกกี่ยี่ยวกกัับแแสสงใในนกกาาร 
ผลลิติตรราายกกาารโโททรททัศัศนน์์ 
• 1. BASE LIGHT 
• คือ แสงทกี่ระจายให้ความสว่าง 
• แก่วัตถุและฉากที่ใช้ในการผลิต 
• รายการโทรทัศน์ โดยอัตราของ 
• ความเข้มของการส่องสว่างของไฟ 
• มีผลต่อภาพทไี่ด้เป็นอย่างมาก 
• เพราะถือว่าเป็นแสงพื้นฐาน 
• ของการผลิตรายการโทรทัศน์
22.. KKEEYY LLIIGGHHTT 
คือ ต้นกำาเนิดแสงของไฟหลักที่ 
ใช้ในการจัดแสงสว่าง เป็นไฟที่ 
ส่องตรงไปยังบริเวณทแี่สดง โดย 
เน้นส่วนที่สำาคัญที่สุดในฉากนั้น 
เพอื่ให้เห็นรูปร่าง ทิศทาง พนื้ผิว 
รายละเอียด ไฟหลักนกี้็เป็นส่วน 
ทที่ำาให้เกิดเงาขึ้น ดังนนั้ จึงต้อง 
อาศัยไฟอื่นๆมาช่วยลบเงา
33.. FFIILLLL LLIIGGHHTT // FFLLOOOODD 
LLIIGGHHTT 
• คือ ไฟกระจายทวั่ๆไป สำาหรับลดความเข้มของ 
เงา ทำาให้ได้เงาทนี่มุ่นวลและสมจริง ยงิ่ขึ้น
44.. BBAACCKK LLIIGGHHTT 
• คือ ไฟทสี่่องตรงมาจากด้านหลังของวัตถุเพอื่ที่ 
ทำาให้ภาพหรือวัตถุมีความลึก สามารถแยกวัตถุ 
กับฉากทอี่ยดู่้านหลังได้ โดยเฉพาะภาพทฉี่าก 
หลังกับวัตถุ หือบุคคลทถี่่ายมีสีใกล้เคียงกัน
55.. BBAACCKKGGRROOUUNNDD LLIIGGHHTT // SSEETT 
LLIIGGHHTT 
• เป็นไฟแสงสว่างที่ช่วยแยกตัวแสดง 
• ออกจากฉากหลัง 
• ซึ่งจะทำาให้เราเห็นความลึกของภาพ 
• และให้อารมณ์ความเข้าใจในฉากกับ 
• ผู้ชมตามท้องเรื่อง ปกติจะใช้ไฟส่อง 
• ฉากมากว่าผู้แสดงเพื่อให้อารมณ์ผู้แสดง 
• เด่นออกมา โดยไม่รวมถึงไฟแสงสว่าง 
• ทใี่ห้กับตัวแสดง และบริเวณทแี่สดง
66.. SSIIDDEE LLIIGGHHTT 
• คือ ไฟส่องสว่าง ซึ่งจะให้แสงทางด้านข้างของ 
ตัวแสดงปกติ หรือวัตถุเพอื่เพมิ่จุดเด่นและลดเงา 
บางครั้ง เราอาจใช้ไฟข้างแทนไฟเสริมได้
77.. KKIICCKKEERR LLIIGGHHTT 
• คือ เป็นไฟเฉียงมาจากด้านหลัง 
• ของวัตถุหรือผู้แสดงอาจเป็นด้านซ้าย 
• หรือขวาก็ได้ โดยส่องมากระทบทงั้ 
• ไหล่และศีรษะนักแสดงเพื่อแยก 
• ผู้แสดงออกจากฉากหลัง ปกติจะวาง 
• ไว้ในตำาแหน่งตรงข้ามกับไฟหลัก 
• (KEY LIGHT) แต่อยู่ตำ่ากว่าไฟหลัง
88.. HHAAIIRR LLIIGGHHTT 
• เป็นไฟสำาหรับส่องผมนักแสดง 
• เพื่อให้เห็นโครงร่างของศรีษะ 
• และผู้แสดงเด่นออกมาจากฉาก
99.. CCRROOSSSS LLIIGGHHTT 
คือ ไฟที่ส่องทางด้านข้าง 
จะใช้ไฟนี้ก็ต่อเมื่อไม่สามารถ 
ใช้ไฟหลักได้ เช่น การถ่ายทำา 
ที่ใช้ฉากหลัง เป็นสไลด์ หรือ 
ภาพยนตร์ฉายบนจอโปร่งแสง 
ซึ่งถ้าใช้ไฟหลักแสงจากไฟหลัก 
จะไปทำาให้ภาพที่จอด้านหลัง 
หายไป
วิธธีีกกาารแแลละะเเททคนนิคิคกกาารจจััด 
แแสสงทที่นี่นิยิยม 
• การจัดแบบสามเหลี่ยมพื้นฐาน 
(Basic Triangle Lighting) 
• หรือการจัดแบบสามจุด (Three-Point 
Lighting) 
• เป็นหลักการพื้นฐานของการถ่ายภาพทุก 
ประเภท 
เพื่อให้ได้ภาพที่มีความเป็น 3มิติ 
ผลของภาพที่ได้จะมี 
ความลึก มีความตนื้และมีรูปทรง
หลลัักกกาารจจัดัดแแสสงเเบบื้อื้องตต้้น 
• หลักการจัดแสงเบื้องต้นนั้น 
ประกอบด้วย 
1. แสงหลัก (Key light) 
2. แสงเสริม (Fill light) 
3. แสงหลัง (Back light) 
4. แสงฉาก (Backgrounds 
light)
มมุมุมองศศาาของโโคคม 
ไไฟฟ 
• มุมองศาของโคมไฟจะอยปู่ระมาณ 
45-60 องศา
กกาารจจัดัดแแสสงใในนรราายกกาาร 
โโททรททัศัศนน์์ 
• ต้องจัดตามรูปแบบรายการ 
ที่ผู้ผลิตรายการกำาหนดมา 
แต่จะต้องจัดหลังจากที่ฝ่าย 
ฉาก 
ได้จัดฉากเสร็จแล้ว เนื่องจาก 
เรา 
จะได้รู้ตำาแหน่งในการจัดไฟ
กกาารจจัดัดแแสสงใในนสตตูดูดิิโโออ 
• สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ 
1. แสงจ้า (Hard light) 
เป็นแสงทพี่งุ่ตรง 
ทำาให้เกิดเงาชัดเจน 
Barn door ช่วยให้เรา 
จัดแสงไปยังจุดที่ต้องการได้ 
• 2. แสงอ่อน (Soft light) เป็น แสงทมี่า 
• จากดวงไฟหลายๆดวง ทำาให้เกิดแสงพร่า 
• แต่จะไม่ทำาให้เกิดเงา 
• แสงอ่อนทใี่ช้ในโทรทัศน์คือ โคมสคูป(Scoops)
ปปััญหหาากกาารจจัดัดแแสสงใในนงงาาน 
โโททรททัศัศนน์์ 
1. เกี่ยวกับระบบเสียง เงาของไมโครโฟนแบบบูม 
จะต้องขจัด หรือไม่ให้เกิดขึ้นบนจอเป็นอันขาด 
ต้องทำางานร่วมกันใกล้ชิดกับผู้กำากับเสียง 
2. ทางอิเล็กโทรนิค ความเข้มของแสงจะต้องใช้ 
สว่างพอที่หลอดจับภาพของกล้องโทรทัศน์ 
ทำางานได้ 
3.เกี่ยวกับการจัดฉาก การสร้างฉากต้องคำานึงถึง 
เรื่องของแสงตลอดเวลา เช่นต้องไม่ใช้วัตถุที่ 
สะท้อนแสง หรือวัตถุทมีี่สีตัดกันมากเกินไป 
4. ด้านเนอื้ทขี่องห้องส่ง เช่นเนอื้ทใี่นห้องส่งมี 
ขนาดจำากัดและฉากจะต้องจัดทำาในวงแคบ 
เวลาจัดแสงจะต้องทำาให้เหมาะกับเรื่องดังกล่าว 
ด้วย
EEnndd 
Thank You

More Related Content

What's hot

เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ StoryboardKrongkaew kumpet
 
Concept VS Theme
Concept VS ThemeConcept VS Theme
Concept VS Theme
siriporn pongvinyoo
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
chaiwat vichianchai
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
Rachabodin Suwannakanthi
 
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeการสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
rungtip boontiengtam
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
Concept VS Theme
Concept VS ThemeConcept VS Theme
Concept VS Theme
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeการสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล (Information Technolog...
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 

Viewers also liked

ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
เอกอนันต์ ประทมตะ
 
Green screen presentation
Green screen presentationGreen screen presentation
Green screen presentation
paulfuller75
 
Green screen Technology
Green screen TechnologyGreen screen Technology
Green screen Technologyleahgreenbaum
 
Chroma Key Compositing
Chroma Key CompositingChroma Key Compositing
Chroma Key Compositing
Jophin Joy
 
Green Screen Technology
Green Screen TechnologyGreen Screen Technology
Green Screen Technology
İrfan Meriç
 
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
หลักการและทฤษฏีการสื่อสารหลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
หลักการและทฤษฏีการสื่อสารJirarat Tesarin
 
Green screen power point
Green screen power pointGreen screen power point
Green screen power point
billmantooth
 
Green screen
Green screenGreen screen
Green screen
eytyxia
 
Chroma key compositing
Chroma key compositingChroma key compositing
Chroma key compositing
reddy gowtami
 
หลักการ3P กับการผลิตสื่อ
หลักการ3P กับการผลิตสื่อหลักการ3P กับการผลิตสื่อ
หลักการ3P กับการผลิตสื่อAcacia Lizm Wayne
 

Viewers also liked (12)

TV Production 1
TV Production 1TV Production 1
TV Production 1
 
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
 
Green screen presentation
Green screen presentationGreen screen presentation
Green screen presentation
 
Green screen Technology
Green screen TechnologyGreen screen Technology
Green screen Technology
 
Chroma Key Compositing
Chroma Key CompositingChroma Key Compositing
Chroma Key Compositing
 
Green Screen Technology
Green Screen TechnologyGreen Screen Technology
Green Screen Technology
 
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
หลักการและทฤษฏีการสื่อสารหลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
 
Green screen power point
Green screen power pointGreen screen power point
Green screen power point
 
Green screen
Green screenGreen screen
Green screen
 
Chroma key compositing
Chroma key compositingChroma key compositing
Chroma key compositing
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
หลักการ3P กับการผลิตสื่อ
หลักการ3P กับการผลิตสื่อหลักการ3P กับการผลิตสื่อ
หลักการ3P กับการผลิตสื่อ
 

การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

  • 1. กกาารบรรยยาายครรั้งั้งททีี่่ 88 บทททีี่่88 ฉฉาาก สสีี แแลละะ แแสสงใในนกกาาร ผลลิติตรราายกกาารววิทิทยยุุโโททรททัศัศนน์์ หัวข้อพิเศษทางสอื่ดิจิตอล Special Topic in Digital Media รหัสวิชา CMA 448 ภาคการศึกษาที่ 1.2/2557 อ. ราเชน นาคพงศ์ มือถือ 091 229 6644 E-mail : richyrachen@gmail.com
  • 2.
  • 3. กกาารจจััดฉฉาากโโททรททัศัศนน์์ • เป็นศิลปะที่มี....... จุดร่วมกับการตกแต่งภายใน แต่มีข้อแตกต่าง กับการตกแต่งภายใน เช่น ต้องคำานึงถึงมุมกล้อง ต้องคำานึงถึงความจำาเป็น ทพีิ่ธีกรต้องเคลื่อนที่ หรือต้องมีสิ่งของที่จำาเป็นประกอบฉาก
  • 4. ศศิลิลปปะะกกาารจจัดัดฉฉาาก โโททรททัศัศนน์์ เป็นศิลปะทลี่ะเอียดอ่อน ผู้ออกแบบต้องคำานึงถึง พนื้ฐานของฉากแต่ละรายการ สีของเฟอร์นิเจอร์การตกแต่ง • ต้องรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์เครื่องมือ การผลิตรายการโทรทัศน์บ้าง รู้ขีดจำากัดของกล้องโทรทัศน์ ความสัมพันธ์ของแสง & ตัวพิธีกร
  • 5. กาารออกแแบบบฉาาก โโททรททัศัศนน์ต์ต้อ้องดดำาำาเเนนินินอยยูู่่ ภภาายใใตต้้ 1.จุดประสงค์ขั้นพื้นฐานการออกแบบ (THE PURFOSES OF SCENE DESIGN) 2.องค์ประกอบของการออกแบบ (THE ELEMENT OF DESIGN) 3.หลักสำาคัญในการออกแบบ (THE PRINCIPLES OF DESIGN) 4.การดำาเนินงาน (WORKING PROCEDURES) 5.การประกอบฉาก (ASSEMBLING SCENERY) 6.การคำานึงถึงมุมกล้อง (CAMERA’S ANGLE)
  • 6. 11..จุดปรระะสงคค์ข์ขั้นั้นพพื้นื้นฐฐาานใในนกกาาร ออกแแบบบ ((TTHHEE PPUURRFFOOSSEESS OOFF SSCCEENNEE DDEESSIIGGNN)) ผู้ออกแบบฉากต้องรู้จุดประสงค์ขั้นพื้น ฐาน 2 ประการ คือ 1.1 เพื่อช่วยให้ผู้ชมเกิดความเข้าใจในเนื้อหาสาระ ของรายการ เสริมสร้างบรรยากาศของรายการให้เข้ากับ เนอื้หาสาระ เพมิ่รสชาติให้กับรายการ ช่วยให้ผู้ชมเข้าใจเนอื้หาสาระ สามารถปะติดปะต่อเรื่องได้ เกิดความสนใจตามดูรายการนั้นจนจบ 1.2 เพื่อก่อให้เกิดคุณค่าของงานศิลป์
  • 7. 22..องคค์์ปรระะกอบของกกาาร ออกแแบบบ ((TTHHEE EELLEEMMEENNTT OOFF DDEESSIIGGNN)) องค์ประกอบพื้นฐานของการ ออกแบบฉาก มักจะประกอบด้วย เส้น (LINE) รูปร่าง (SHAPE) ส่วนว่าง (SPACE) สี (COLOR) ลวดลาย (TEXTURE)
  • 8. คววาามหมมาาย // หนน้า้าททีี่่ ของ........ฉฉาาก((SScceenneerryy)) หมายถึง สถานที่ที่เป็นสภาพแวดล้อม สำาหรับตัวละคร /การแสดง ออกแบบเพื่อเน้นการกระทำา / ความขัดแย้งของตัวละคร บอกให้ทราบถึงสถานที่ในละคร บอกเวลากลางวัน กลางคืน บอกยุคสมัยที่เกิดเหตุการณ์ขึ้น ต้องทำาให้แลเห็นสภาพแวดล้อมของตัวละครอย่างเด่นชัด ต้องทำาให้คนดูทราบได้ว่าด้านนอก (Exterior)หรือด้านใน (Interior) ของสถานที่ อยู่ในเมือง / นอกเมือง เป็นของจริง /จินตนาการ หรือ เป็นความฝัน
  • 9. คคุุณสมบบััตติขิของฉฉาาก  เปิดเผยความสัมพันธ์ระหว่างคนสองคน หรือคนหนึ่งกับที่อยู่อาศัย  สามารถเผยตำาแหน่งหน้าทกี่ารงาน สถานทที่ำางาน อำานาจและสถานะในครอบครัว  ช่วยให้ผู้ชมสามารถเพ่งสมาธิไปที่ บุคลิกลักษณะ ตัวละคร องค์ประกอบทางสัญลักษณ์ต่างๆ  สามารถครอบนักแสดงให้อยใู่นกรอบทจีั่ด  เป็นการเน้นให้เด่นชัด  สามารถสร้างสรรค์บรรยากาศและอารมณ์ ก่อให้เกิดปฏิกิริยาโต้ตอบของผู้ชมต่อตัวละคร และบทละคร
  • 10. คคุุณสมบบััตติขิของฉฉาาก  สร้างขึ้นจากความต้องการและความตั้งใจของผู้ เขียนบทละคร  สร้างจากการตีความหมายของผู้กำากับการแสดง  ต้องเอื้ออำานวยต่อนักแสดง / การแสดง ไม่ข่ม ตัวละครให้ด้อยลง  ไม่ข่มเสื้อผ้าที่นักแสดงสวมใส่อยู่  ต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการวางตำาแหน่งตัวละคร  ไม่ควรหักเหความสนใจของผู้ชมไปจากการ แสดงของตัวละคร  ต้องช่วยเสริมเนอื้หาของเหตุการณ์ในละคร ไม่ ควรปิดบังเนื้อหา  ควรเรียบง่าย (Simplicity) ในการออกแบบ / ในโครงสร้าง / ในการเปลี่ยนฉาก และ
  • 11. ปรระะเเภภทของฉฉาากรราายกกาาร ววิิทยยุุโโททรททัศัศนน์์ แบ่งเป็น 3 ลักษณะดังนี้ • แบ่งตามที่ตั้ง • แบ่งตามประเภทรายการ • แบ่งตามการสร้างสรรค์ ฉาก
  • 13. ปรระะเเภภทของฉฉาาก 2.แบ่งตามประเภทรายการ •ละคร •ข่าว •ทอล์คโชว์ เกมส์โชว์ •แข่งขันตอบปัญหา •ประเภทอื่นๆ
  • 14. ปรระะเเภภทของฉฉาาก 3.แบ่งตามการสรางสรรค์ฉาก • Chroma Key • Cyclorama •ฉากธรรมชาติ •ฉากเสมือนจริง Versual Sets
  • 15. CChhrroommaa KKeeyy • หรือที่เรารู้จักกันในนาม Green/Blue Screen • คือการซ้อนภาพแบบ ใช้กุญแจสี • หลักการก็คือ ใช้ฉากหลังเป็นสีใดสีหนงึ่ เพื่อประโยชน์ในการเจาะเปลี่ยนฉากที่ไม่ สามารถนำามาเข้าเป็นฉากจริงได้ • โครมาคีย์จะใช้สีใด ๆ มาเป็นฉากหลัง ก็ได้ แล้วให้เครื่องมือทั้งที่เป็นฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ นำาสีนั้นมาเป็นกุญแจเจาะให้ ทะลุออกแล้วนำาฉากหลังอื่น ๆ มาซ้อนเป็น
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 24. ฉฉาากเเสสมมือือน ((VViirrttuuaall SSeett)) • ในห้องส่ง NHK Broadcast Center มีพื้นที่ ใช้งานประมาณ 30 x 50 เมตร เป็นฉาก เสมือนยี่ห้อ VIZRT ขนาดใช้งานกับกล้อง 3 กล้อง ระบบ Sensor เป็นแบบ Mechanics Sensor ติดที่ขากล้องเป็นแบบ Pedestal ใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์- กราฟฟิก ใช้ Maya Software ออกแบบ ฉาก 3D (Three Dimension)สงิ่ที่สำาคัญใน การสร้างฉากเสมือน ก็คือ ความคิด สร้างสรรค์ของงานกราฟฟิก ควบคกูั่บ ระบบ Virtual Set ที่มีเสถียรภาพสูง ทำาให้ ได้ภาพที่ออกมาสมจริง และมีอรรถรสใน
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 29.
  • 30. ฉฉาากหลลัังหรรือือแแบบคกรราาวดด์์ เป็นสิ่งจำาเป็นช่วยเสริมบรรยากาศ ทำาให้เกิดความ ลึก แบ่งออกเป็นประเภทต่างๆดังนี้ 1. ภาพเขียน 2. ภาพถ่าย 3. การฉายภาพด้านหลังจอ ฉายภาพนงิ่ / ภาพยนตร์ทฉี่ากหลังของผู้แสดง ให้บรรยากาศ มากทสีุ่ด เพราะเป็นแบคกราวด์ทมีี่ความ เคลื่อนไหวได้ 4. การสร้างฉากขึ้นจริงๆ 5.ไซโคลราม่า ( Cyclorama ) เป็นฉากผนังเกลี้ยง ลบมุมด้วยความโค้ง ทำาให้กำาหนดความลึกได้ยาก แบคกราวด์ประเภทนี้มักจะใช้ร่วมกับแบคกราวด์
  • 31. กกาารววาางฉฉาาก แบ่งออกได้เป็น 4 แบบคือ 1. ฉากแบน กรณีที่มีผู้แสดงน้อย นั่งกับที่ ไม่เคลื่อนไหว เช่น รายการสัมภาษณ์ รายการข่าว หรือประกาศรายการสถานี 2. ฉากรูปตัวแอล ในกรณีที่มีผู้แสดงน้อย แต่มีการเคลื่อนไหว 3. ฉากรูปตัวยู โดยมากมักจะเป็นฉากใหญ่ที่มีการเคลื่อนไหวมาก 4. ฉากปิด มีผนังทั้ง 4ด้าน ผนังบางด้านติดอยู่กับล้อเลื่อน เพื่อเปิดออกบางครั้งเพื่อความสะดวกในการถ่ายทำา
  • 32. หลลักักของกกาารจจัดัดฉฉาาก ต้องให้เกิดความลึก ต้องวางวัสดุให้เกิดระยะที่แตกต่างกัน ไปจนถึงฉากหลัง ซึ่งสามารถทำาได้ดังนี้ 1. การจัดให้มี โฟกราวด์ ผแู้สดง และแบค กราวด์ 2. โดยการสร้างฉาก ให้เกิดการลวงตาว่า เป็นระยะไกล 3. เพิ่มความละเอียดของ โฟกราวด์ และลด ความชัดของ ด์
  • 33. ชนนิดิดของฉฉาากแแบบ่่งไไดด้้ 33 ปรระะเเภภทคคืือ 1. แบบธรรมดา หรือแบบพนื้ฐาน (Neutral) •เป็นแบบฉากทงี่่ายทสีุ่ดฉากหลังเป็นพื้นสีธรรมดา •กรณีฉากหลังเป็นพื้นสีดำา เรียกว่า “คามิโอ (Cameo)” ต้องระวังในเรื่องของการจัดแสง ไม่ ให้แสงทใี่ช้ส่องนักแสดงไปกระทบฉากหลัง •ไฟทนี่ำามาใช้จัดฉากนคี้วรเป็นไฟสปอต์ไลท์ อย่างเดียว เพราะสามารถควบคุมทิศทางและการก ระจายของแสงได้ดีทสีุ่ด •ส่วนฉากหลังเป็นพนื้สีอื่นๆเช่น สีแดง สีม่วง สี เขียว สีฟ้า ฯลฯ เราเรียกว่า “ลิมโบ้ (Limbo)” ไฟทนี่ำามาใช้ควรเป็นไฟประเภท ฟลัดไลท์ (Floodlights)
  • 35. 22.. เเหหมมือือนจรริิง ((RReeaalliissttiicc)) เป็นการจัดฉากให้ดูสมจริง มากทสีุ่ด นำาอุปกรณ์ ประกอบฉากของจริง หรือที่ทำาขึ้นมาใช้แทน ***** ควรคำานึงถึง ความเป็นจริงของสถานที่ๆ นำามาจัดฉากให้มากที่สุด
  • 36. 33.. ไไมม่เ่เหหมมือือนจรริงิง ((AAbbssttrraacctt)) เป็นการจัดฉากที่ไม่คำานึงถึงความสมจริง ลักษณะฉากเป็นนามธรรม หรือมีลักษณะ เหนือจริง (Surrealistic) หรือ เป็นแบบเพ้อฝัน (Fantasy) *****ควรคำานึงถึงรายละเอียด วัสดุอุปกรณ์ประกอบฉากมากเป็นพิเศษ คำานึงถึงวัตถุประสงค์ของรายการ งบประมาณและแนวคิดของผู้จัด เพื่อให้เกิดความสอดคล้องของฉากต่อเรื่องราวที่ นำาเสนอ
  • 37. ววััสดดุุของฉฉาาก 1. แฟลต (Flat) วัสดุอุปกรณ์ประกอบฉาก ที่เป็นแผ่นสี่เหลี่ยมแบนๆ ขนาด 4 คูณ10 ฟุตที่สามารถ นำามาประกอบกันเข้าเป็น ฝาผนังเป็นห้องได้ ทำาจาก ไม้อัด กระป๋อง กระดาษหรือ ผ้าใบ ส่วนมากจะใช้ไม้อัด เพราะทนทาน ไม่แพง •
  • 38. 22.. ไไซซโโคคลรราามมาา ((CCyycclloorraammaa)) วัสดุประกอบฉากที่มีลักษณะ เป็นผ้าหรือวัสดุที่ไม่มีรอยต่อ ขึงตึงจากเพดานถึงพื้นสตูดิโอ ขึงฉากเป็นรูปตัว U ควำ่า ปกติสีเทาหรือสีขาวหม่นๆ สี ใกล้เคียงพื้นของสตูดิโอ ด้านล่าง มีไฟกราวด์ โรว์ (Ground row) ส่องฉากให้กลมกลืนกับพื้นสตูดิโอ ช่วยให้รู้ถึงความลึกของฉาก มองภาพออกไปได้ไกลไม่มีที่สิ้นสุด สามารถนำาไฟสีมาส่องรูปทรงต่างๆได้อีกด้วย •
  • 40. 33.. ววััสดดุฉุฉาากสสำาำาเเรร็จ็จ(( SSeett PPiieecceess)) คือ การสร้างฉากทมีี่รายละเอียด ไม่ว่าจะเป็นฝาผนัง เสา ประตู หน้าต่าง หรือบันได ฯลฯ เพอื่ประหยัดเวลาและงบประมาณ หรือใช้วัสดุทเี่รียกว่า “ยกพนื้ (Riser)” เป็นวัสดุฉากที่ยกสูงขึ้นจากพื้นสตูดิโอ จะมีลักษณะ สี่เหลี่ยม วงกลม เป็นต้น
  • 41. 44.. ววััสดดุฉุฉาากปรระะเเภภทแแขขวน (( HHaannggiinngg UUnniitt)) คือ วัสดุประกอบฉากประเภทแขวน มาตกแต่งเพื่อความสวยงาม เช่น ม่าน มลูี่่ โคมไฟ ฉากกระดาษ หรือฉาก ผนังทแี่ขวนไว้เหนือสตูดิโอ ทำาให้ง่ายต่อการ ปรับเปลี่ยนฉาก แค่ดึงฉากลงมาทพี่นื้สตูดิโอ ก็ใช้เป็นฉากประกอบได้ ทำาให้ประหยัดเวลา และงบประมาณ
  • 42. 55.. ววััสดดุุปรระะกอบฉฉาาก ((PPrrooppeerrttiieess)) คือ วัสดุทุกชนิดทนี่ำามาประกอบภาย ในฉาก เช่น เฟอร์นิเจอร์ โต๊ะ เตียง ตะเกียง รูปภาพ หนังสือ ม่านหน้าต่าง จาน ชาม อาหาร แก้วนำ้า ฯลฯ วัสดุประกอบฉากแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 5.1 Set Prop 5.2 Hand Prop
  • 43. 55..11 SSeett PPrroopp • คือ วัสดุอะไรก็ตามที่นำามา ตกแต่งเพื่อเพมิ่รายละเอียด บรรยากาศ หรือทำาให้ฉาก นั้นสวยงามขึ้นอีกทั้งยัง สามารถใช้ในฉากนั้นได้ เช่น หนังสือ แจกัน โทรทัศน์ วิทยุ รูปภาพ โต๊ะ ชั้นวางของเป็นต้น
  • 44. 55..22 HHaanndd PPrroopp •คือ วัสดุประกอบ ฉากที่ให้นักแสดง ถือหรือจับในฉาก เช่น หนังสือ มีด ปืน อาหาร เครื่องดื่ม หนังสือพิมพ์ เป็นต้น
  • 45. องคค์์ปรระะกอบใในนกกาารจจััด ฉฉาาก • การจัดวางองค์ประกอบ (Composition) • เส้นและพื้นผิว • ( Line and Texture) • สี (Color)
  • 46. กกาารจจััดววาางองคค์์ปรระะกอบ ฉฉาาก ((CCoommppoossiittiioonn)) คือการจัดวางตำาแหน่งขององค์ประกอบฉาก ยึดหลักของความสมดุลและมีเอกภาพ เหมาะกับพนื้ที่ มุมและตำาแหน่งกล้อง ผู้ออกแบบฉากต้องทราบถึงแผนการ ถ่ายทำาของรายการ และ การวางตำาแหน่งกล้อง เพื่อวางแผนจัดองค์ประกอบของ ฉากให้สามารถใช้งานได้ดี เหมือนกันหมดทุกมุม
  • 47. เเสส้น้นแแลละะพพื้นื้นผผิวิว ((LLiinnee aanndd TTeexxttuurree)) หมายถึง รูปร่างโดยรวมของฉาก รวมไปถึงมิติและการมอง เห็นได้ด้วยตา (Perspective) รูปร่างของฉากควรกลมกลืน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Unity) ช่วยสร้างบรรยากาศอารมณ์ของรายการได้ ซึ่งฉากที่มีการจัดเหมือนจริง ก็จะใช้เส้นที่มีรูปร่างและมีมุมมองธรรมดา เพอื่ให้เกิดความสมจริง เ ช่น ห้องก็จะเป็นรูปสี่เหลี่ยม ของทอี่ยู่ใกล้มักจะ ใหญ่กว่าของที่อยู่ไกลเป็นต้น
  • 48.
  • 49. เเสส้น้นสสาามมาารถแแบบ่่งออกไไดด้้ 44 ปรระะเเภภทคคืือ 1. เส้นแนวนอน (Vertical Line) มีลักษณะเป็นเส้นตรงตามแนวนอน จะให้เกิดความ รู้สึกถึงความกว้าง และเรียบ 2. เส้นแนวตั้ง (Horizontal Line) มีลักษณะเป็นเส้นตรงแนวดิ่งหรือแนวตั้ง จะให้เกิด ความรู้สึกถึงความสูงแลความลึก 3. เส้นแนวเฉียง (Perspective Line) มีลักษณะเป็นเส้นตรงทำามุมเป็นมุมเฉียง จะให้เกิด ความรู้สึกถึงการเคลื่อนที่ การยำ้าเน้น และความลึก 4. เส้นที่ไม่ใช่เส้นตรง (Cycle Line) หมายถึง เส้นที่มีลักษณะโค้ง ไม่เป็นเส้นตรง จะให้เกิด ความรู้สึกถึงความอ่อนไหว ความสับสน ความโลเล ความงุนงง และการเคลื่อนไหว •
  • 50. พพื้นื้นผผิวิว • หมายถึง การสร้างลักษณะ ทางกายภาพของพื้นผิว เช่น ผิวเรียบ ผิวขรุขระ ผิวมันวาว เป็นต้น สามารถแบ่งได้ 2 วิธี คือ • 1. การสร้างพื้นผิวที่มีมิติขึ้นมา จริง • 2. การระบายสีหรือการวาด
  • 51. 33..หลลัักสสำาำาคคััญใในนกกาาร ออกแแบบบ ((TTHHEE PPRRIINNCCIIPPLLEESS OOFF DDEESSIIGGNN)) การออกแบบที่ดีมักจะประกอบด้วย หลักสำาคัญ ดังนี้ 1.(HARMONY) ความกลมกลืน 2.(BALANCE) ความสมดุล 3.(PROPORTION) สัดส่วน 4.(EMPHASIS) การเน้น 5.(RHYTHM) จังหวะ
  • 52. องคค์์ปรระะกอบใในนกกาาร ออกแแบบบฉฉาาก • รูปแบบ Style • รูปแบบเสมือนจริง Realistic • รูปแบบธรรมชาติ Abstract • รูปแบบการจัดฉากแบบเปิด Open Set
  • 53. 44..กกาารดดำาำาเเนนินินงงาาน ((WWOORRKKIINNGG PPRROOCCEEDDUUEESS)) นักออกแบบจะต้องทำาก็คือ ต้องเข้าใจรูปแบบรายการ ศึกษารูปแบบรายการอย่างละเอียด เริ่มศึกษาจากลักษณะของ เนอื้หา ภาษา และวัฒนธรรม พอเข้าใจ รูปแบบของรายการแล้วก็ออกแบบ ฉากให้เข้ากับรูปแบบรายการ
  • 54. ขขั้นั้นตอนแแลละะเเททคนนิคิคกกาาร สรร้้าางฉฉาาก การตกลงประเด็นหรือ แนวคิดของรายการ Conceptร่วมกัน การทำาแบบร่าง Sketch การเขียนแบบก่อสร้างฉาก แผนผัง ทัศนียภาพ ภาพด้าน ข้าง แบบก่อสร้างฉาก Set
  • 55. 55..กกาารปรระะกอบ ฉฉาาก ((AASSSSEEMMBBLLIINNGG SSCCEENNEERRYY)) แบ่งเป็นแบบใหญ่ๆได้ 2 แบบคือ 1.แบบไม่ถาวร คือแบบที่ต่อแล้ว สามารถจะรื้อถอนได้อย่างรวดเร็ว หรือเปลี่ยนฉากได้ง่าย 2.แบบถาวร คือแบบที่ใช้กับห้องส่ง ขนาดเล็ก ซึ่งไม่ต้องการ การเปลี่ยน ฉากบ่อย ติดตั้งแต่ละครั้งจะใช้เวลา นานโดยไม่ต้องรื้อและประกอบใหม่ แบบนี้มักต้องการความคงทนถาวร เช่น ฉากรายการข่าว เป็นต้น
  • 56. 66..กกาารคคำาำานนึงึงถถึึงมมุมุมกลล้้อง ((CCAAMMEERRAA AANNGGLLEE)) • ห้องส่งโทรทัศน์ส่วนใหญ่จะมีกล้องอย่าง น้อย 3 ตัว การจัดฉากจึงต้องคำานึงถึงมุมกล้อง ให้มาก เพอื่ไม่ให้ภาพทอี่อกมาทางเครื่อง รับ (MONITOR) ตกออกจากฉากที่ทำาไว้ • แต่บางครั้งก็ยังเกิดการตกฉากขึ้นอีก กรณีนี้ สามารถแก้ไขได้ โดยนำาแผ่นผนังมากนั้ไว้ต่อ จากแผ่นผนังเดิม และทาสีให้เหมือนผนังเดิม ก็ จะได้ให้ฉากที่หลุดไปนั้นเต็มเครื่องรับได้ • การแก้อีกวิธีหนงึ่ก็คือ การใช้ระยะภาพช่วย ซงึ่ สามารถควบคุมได้ทกี่ล้องทุกตัว หมายความว่า ถ้าใช้ระยะไกล (LONG SHOT) แล้ว ภาพทไี่ด้จะตก ฉาก ก็ให้ปรับภาพให้อยรู่ะยะใกล้เข้ามา (MEDIUM
  • 57. สสีี ((CCOOLLOORR)) •สีเป็นส่วนที่สำาคัญส่วนหนึ่งใน ศิลปะทุกชนิดเพราะสร้าง ความแตกต่างของวัตถุ สิ่งของ สถานที่ ความใกล้ไกล ความ มืดความสว่าง ได้สมจริงกว่า เก่า • สีสามารถแบ่งเป็นประเภท ใหญ่ๆ ได้ 3 ประเภท คือ
  • 58. ข้อควรรระะววัังใในนกกาารใใชช้้สสีี เเพพื่อื่อกกาารออกแแบบบ 1. ไม่ควรใช้สีขาวจัด หรือดำาสนิท เพราะกล้องไม่ สามารถทำางานกับความสว่างที่สูงมากๆหรือตำ่ามากๆได้ 2. ไม่ควรใช้สีอ่อนเกินไป เช่น ฟ้าอ่อน เหลืองอ่อน ชมพูอ่อน หรือการใช้สีทเี่ข้มเกินไปเช่น แดงเข้ม นำ้าเงินเข้ม หรือนำ้าตาลเข้ม เพราะสทีี่อ่อนเกินไปเมื่อ โดนแสงจะถกูดูดกลืนไปกับสีขาว ส่วนสีทเี่ข้มมากๆจะ ถูกดูดกลืนจากสีดำา 3. ไม่ควรใช้สีสะท้อน เพราะทำาใหก้ารวัดแสงของ กล้องวัดแสงอัตโนมัติไปที่สีสะท้อนตรงนั้น 4. ควรระวังเรื่องแสงสะท้อน เช่นถา้โต๊ะเป็นสีเขียว หรือสีขาว เมอื่โดนแสงอาจสะทอ้นโดนหน้านักแสดง หรือวัตถอุื่นๆในฉากให้เกิดการเปลี่ยนสไีด้ ดังนนั้จึง
  • 60.
  • 61. คววาามสสำาำาคคััญใในนกกาารจจัดัด แแสสง 1. เพื่อให้แสงที่เพียงพอและเหมาะสม 2. เพื่อลบเงา 3. เพื่อให้ได้สีที่ถูกต้องและสวยงาม 4. เพื่อให้เกิดรูปทรงและมิติ โดยใช้เทคนิคการจัดแสงแบบ 3 เหลี่ยม 5. เพื่อเป็นการบอกเวลาและสถานที่ โดยการใช้ความแตกต่างเรื่องความสว่างความมืดของ แสง 6. เพื่อเป็นการสร้างบรรยากาศหรืออารมณ์ 7. เพื่อให้เกิดความสนใจเฉพาะจุด ก็ได้
  • 62. ศศัพัพทท์ท์ที่เี่เกกี่ยี่ยวกกัับแแสสงใในนกกาาร ผลลิติตรราายกกาารโโททรททัศัศนน์์ • 1. BASE LIGHT • คือ แสงทกี่ระจายให้ความสว่าง • แก่วัตถุและฉากที่ใช้ในการผลิต • รายการโทรทัศน์ โดยอัตราของ • ความเข้มของการส่องสว่างของไฟ • มีผลต่อภาพทไี่ด้เป็นอย่างมาก • เพราะถือว่าเป็นแสงพื้นฐาน • ของการผลิตรายการโทรทัศน์
  • 63. 22.. KKEEYY LLIIGGHHTT คือ ต้นกำาเนิดแสงของไฟหลักที่ ใช้ในการจัดแสงสว่าง เป็นไฟที่ ส่องตรงไปยังบริเวณทแี่สดง โดย เน้นส่วนที่สำาคัญที่สุดในฉากนั้น เพอื่ให้เห็นรูปร่าง ทิศทาง พนื้ผิว รายละเอียด ไฟหลักนกี้็เป็นส่วน ทที่ำาให้เกิดเงาขึ้น ดังนนั้ จึงต้อง อาศัยไฟอื่นๆมาช่วยลบเงา
  • 64. 33.. FFIILLLL LLIIGGHHTT // FFLLOOOODD LLIIGGHHTT • คือ ไฟกระจายทวั่ๆไป สำาหรับลดความเข้มของ เงา ทำาให้ได้เงาทนี่มุ่นวลและสมจริง ยงิ่ขึ้น
  • 65. 44.. BBAACCKK LLIIGGHHTT • คือ ไฟทสี่่องตรงมาจากด้านหลังของวัตถุเพอื่ที่ ทำาให้ภาพหรือวัตถุมีความลึก สามารถแยกวัตถุ กับฉากทอี่ยดู่้านหลังได้ โดยเฉพาะภาพทฉี่าก หลังกับวัตถุ หือบุคคลทถี่่ายมีสีใกล้เคียงกัน
  • 66. 55.. BBAACCKKGGRROOUUNNDD LLIIGGHHTT // SSEETT LLIIGGHHTT • เป็นไฟแสงสว่างที่ช่วยแยกตัวแสดง • ออกจากฉากหลัง • ซึ่งจะทำาให้เราเห็นความลึกของภาพ • และให้อารมณ์ความเข้าใจในฉากกับ • ผู้ชมตามท้องเรื่อง ปกติจะใช้ไฟส่อง • ฉากมากว่าผู้แสดงเพื่อให้อารมณ์ผู้แสดง • เด่นออกมา โดยไม่รวมถึงไฟแสงสว่าง • ทใี่ห้กับตัวแสดง และบริเวณทแี่สดง
  • 67. 66.. SSIIDDEE LLIIGGHHTT • คือ ไฟส่องสว่าง ซึ่งจะให้แสงทางด้านข้างของ ตัวแสดงปกติ หรือวัตถุเพอื่เพมิ่จุดเด่นและลดเงา บางครั้ง เราอาจใช้ไฟข้างแทนไฟเสริมได้
  • 68. 77.. KKIICCKKEERR LLIIGGHHTT • คือ เป็นไฟเฉียงมาจากด้านหลัง • ของวัตถุหรือผู้แสดงอาจเป็นด้านซ้าย • หรือขวาก็ได้ โดยส่องมากระทบทงั้ • ไหล่และศีรษะนักแสดงเพื่อแยก • ผู้แสดงออกจากฉากหลัง ปกติจะวาง • ไว้ในตำาแหน่งตรงข้ามกับไฟหลัก • (KEY LIGHT) แต่อยู่ตำ่ากว่าไฟหลัง
  • 69. 88.. HHAAIIRR LLIIGGHHTT • เป็นไฟสำาหรับส่องผมนักแสดง • เพื่อให้เห็นโครงร่างของศรีษะ • และผู้แสดงเด่นออกมาจากฉาก
  • 70. 99.. CCRROOSSSS LLIIGGHHTT คือ ไฟที่ส่องทางด้านข้าง จะใช้ไฟนี้ก็ต่อเมื่อไม่สามารถ ใช้ไฟหลักได้ เช่น การถ่ายทำา ที่ใช้ฉากหลัง เป็นสไลด์ หรือ ภาพยนตร์ฉายบนจอโปร่งแสง ซึ่งถ้าใช้ไฟหลักแสงจากไฟหลัก จะไปทำาให้ภาพที่จอด้านหลัง หายไป
  • 71. วิธธีีกกาารแแลละะเเททคนนิคิคกกาารจจััด แแสสงทที่นี่นิยิยม • การจัดแบบสามเหลี่ยมพื้นฐาน (Basic Triangle Lighting) • หรือการจัดแบบสามจุด (Three-Point Lighting) • เป็นหลักการพื้นฐานของการถ่ายภาพทุก ประเภท เพื่อให้ได้ภาพที่มีความเป็น 3มิติ ผลของภาพที่ได้จะมี ความลึก มีความตนื้และมีรูปทรง
  • 72.
  • 73.
  • 74. หลลัักกกาารจจัดัดแแสสงเเบบื้อื้องตต้้น • หลักการจัดแสงเบื้องต้นนั้น ประกอบด้วย 1. แสงหลัก (Key light) 2. แสงเสริม (Fill light) 3. แสงหลัง (Back light) 4. แสงฉาก (Backgrounds light)
  • 75.
  • 76. มมุมุมองศศาาของโโคคม ไไฟฟ • มุมองศาของโคมไฟจะอยปู่ระมาณ 45-60 องศา
  • 77. กกาารจจัดัดแแสสงใในนรราายกกาาร โโททรททัศัศนน์์ • ต้องจัดตามรูปแบบรายการ ที่ผู้ผลิตรายการกำาหนดมา แต่จะต้องจัดหลังจากที่ฝ่าย ฉาก ได้จัดฉากเสร็จแล้ว เนื่องจาก เรา จะได้รู้ตำาแหน่งในการจัดไฟ
  • 78. กกาารจจัดัดแแสสงใในนสตตูดูดิิโโออ • สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ 1. แสงจ้า (Hard light) เป็นแสงทพี่งุ่ตรง ทำาให้เกิดเงาชัดเจน Barn door ช่วยให้เรา จัดแสงไปยังจุดที่ต้องการได้ • 2. แสงอ่อน (Soft light) เป็น แสงทมี่า • จากดวงไฟหลายๆดวง ทำาให้เกิดแสงพร่า • แต่จะไม่ทำาให้เกิดเงา • แสงอ่อนทใี่ช้ในโทรทัศน์คือ โคมสคูป(Scoops)
  • 79. ปปััญหหาากกาารจจัดัดแแสสงใในนงงาาน โโททรททัศัศนน์์ 1. เกี่ยวกับระบบเสียง เงาของไมโครโฟนแบบบูม จะต้องขจัด หรือไม่ให้เกิดขึ้นบนจอเป็นอันขาด ต้องทำางานร่วมกันใกล้ชิดกับผู้กำากับเสียง 2. ทางอิเล็กโทรนิค ความเข้มของแสงจะต้องใช้ สว่างพอที่หลอดจับภาพของกล้องโทรทัศน์ ทำางานได้ 3.เกี่ยวกับการจัดฉาก การสร้างฉากต้องคำานึงถึง เรื่องของแสงตลอดเวลา เช่นต้องไม่ใช้วัตถุที่ สะท้อนแสง หรือวัตถุทมีี่สีตัดกันมากเกินไป 4. ด้านเนอื้ทขี่องห้องส่ง เช่นเนอื้ทใี่นห้องส่งมี ขนาดจำากัดและฉากจะต้องจัดทำาในวงแคบ เวลาจัดแสงจะต้องทำาให้เหมาะกับเรื่องดังกล่าว ด้วย