SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 20
รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว31104                                  กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วทยาศาสตร์
                                                                                                        ิ
โรงเรียนนารายณ์คาผงวิทยา                            ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555
สาระที่ 7 หน่ วยที่ 8                             เรื่อง การสารวจดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ เวลา 2.00 ชั่วโมง
มาตรฐาน ว 7.2 เข้า ใจความส าคัญ ของเทคโนโลยีอ วกาศที่ นามาใช้ใ นการส ารวจอวกาศและ
ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้และจิตวิทยา
ศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวตและสิ่ งแวดล้อม
                                                                                              ิ
วัน ............. ที.่ .....เดือน.....................พ.ศ. ........... ผู้เขียน/ผู้สอน ครู ศักดิ์อนันต์ อนันตสุ ข
……………………………………………………………………………………………………….
สาระสาคัญ
            เรื่ องราวของดวงจันทร์ ซ่ ึ งเป็ นบริ วารของโลกนั้น เกิ ดขึ้นมาได้อย่างไร และมี สภาพบน
พื้นผิวดวงจันทร์ เป็ นอย่างไรนั้น ในอดีตได้มีการศึกษากันบ้าง แต่เป็ นการศึกษาดวงจันทร์ ดวยตา                 ้
เปล่าและกล้องโทรทรรศน์มานานนับพันปี แต่ไม่ทราบรายละเอียดที่แท้จริ งมากนัก แต่ปัจจุบน                             ั
ด้วยความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยี ทาให้มีมนุษย์อวกาศขึ้นไปเหยียบพื้นผิวดวง
จันทร์ ส่ งยานอวกาศไปสารวจดาวเคราะห์ ทาให้เรารู้ จกดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ อื่นๆ มากขึ้ น
                                                                       ั

ตัวชี้วด
       ั
           3. สื บค้นและอธิ บายการส่ งและสารวจอวกาศโดยใช้ยานอวกาศและสถานีอวกาศ

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
       1. อธิบายถึงการสารวจดวงจันทร์ ดวยยานอวกาศเริ่ มแรก และการส่ งมนุษย์ข้ ึนไปสารวจ
                                         ้
ดวงจันทร์ได้
       2. อธิ บายการค้นพบ ที่เกี่ยวกับดวงจันทร์ และดาวเคราะห์แต่ละดวงได้

สาระการเรียนรู้
         - ระบบยานขนส่ งอวกาศถูกพัฒนาขึ้นมาใช้ส่งดาวเทียมและยานอวกาศ แทนการใช้จรวด
อย่างเดียวเนื่องจากสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้
         - ในการส่ งยานอวกาศไปสารวจอวกาศ จรวดที่พายานอวกาศ ต้องมี ความเร็ วมากกว่า
ความเร็ วหลุดพ้น จึงจะสามารถออกจากวงโคจรของโลกได้
         - ยานอวกาศและสถานีอวกาศมีภารกิจในการสารวจโลกและวัตถุทองฟ้ าอื่นๆ
                                                                ้
เนือหา
   ้
         1. การสารวจดวงจันทร์
         2. การสารวจดาวเคราะห์
                2.1 การสารวจดาวเคราะห์ดวยยานสารวจอวกาศ
                                       ้
                2.2 การสารวจดาวเคราะห์ดวยยานอวกาศ
                                         ้

การจัดกระบวนการเรียนรู้
1. ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
           1. นักเรี ยนดูภาพดาวเทียมไทยคมของไทยที่ส่งขึ้นไปสารวจอวกาศ
           2. ครู ทบทวนการส่ งดาวเทียมขึ้นสู่ อวกาศ ดาวเทียมดวงแรกของโลก ซึ่ งเป็ นดาวเทียมของ
สหภาพโซเวียตรัสเซี ย ชื่ อ “สปุตนิค 1” และดาวเทียมดวงแรกของสหรัฐอเมริ กาชื่ อ “แวนการ์ ด”
( การสารวจอวกาศของโลกเริ่ มเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2500 คื อ สปุตนิค 1 ดาวเที ยมดวงแรกของโลก
ของสหภาพโซเวียตรั สเซี ย วันที่ 17 มีนาคม 2501 ดาวเที ยมดวงแรกของสหรั ฐอเมริ กา ชื่ อ แวน
การ์ ด ขึนไปสารวจอวกาศ)
         ้
           3. ครู และนักเรี ยนอภิปรายร่ วมกันถึงการสารวจดวงจันทร์ และดาวเคราะห์เพื่อศึกษาการ
เกิ ดสภาพพื้นผิว ลักษณะองค์ประกอบต่างๆ ด้วยการส่ งยานอวกาศของ 2 ประเทศ คือสหภาพ
โซเวียตรัสเซีย และสหรัฐอเมริ กา

2. ขั้นสอน/กิจกรรม
         1. นักเรี ยนจับคู่สนทนาว่า ทาไมเราจึ งมองเห็ นดวงจันทร์ ด้านเดี ยว ทาการทดลองหา
คาตอบ โดยนักเรี ยนคนหนึ่ งสมมติตนเองเป็ นดวงจันทร์ อีกคนหนึ่ งเป็ นโลก ทั้งสองหันหน้าเข้า
หากันนักเรี ยนที่เป็ นดวงจันทร์ โคจรไปรอบโลก โดยให้ดวงจันทร์ หนหน้าเข้าหาโลกตลอดเวลาที่
                                                                        ั
โคจรรอบโลก (ดวงจันทร์ หมุนรอบตัวเองและโคจรไปรอบโลกใช้ เวลาเท่ ากัน คือ 1 เดือน)
         2. ครู สุ่มนักเรี ยนมา 3 คู่ เพื่อออกมาแสดงการสาธิ ตว่าทาไมเราจึงเห็นดวงจันทร์ ดานเดียว
                                                                                            ้
ทีละคู่ พร้อมทั้งให้อธิ บายบทบาทของตนเองว่าเป็ นอย่างไร มีลกษณะอย่างไรในระหว่างสาธิ ต
                                                                 ั
         3. ครู สุ่มนักเรี ยนที่เหลือในห้องให้คะแนนว่าคู่ใดสาธิ ตได้ดี และทาให้เข้าใจได้ง่ายโดยนับ
คะแนนจากการโหวต ครู ให้คาชมเชยทั้ง 3 คู่ที่กล้าแสดงออก
         4. ครู ให้นกเรี ยนคู่ท่ีชนะเลิศมาทาการสาธิ ตอีกครั้ง โดยให้ครู อธิ บายการสาธิ ตนั้นอย่าง
                       ั
ละเอี ย ดอี ก ครั้ งเพื่ อ ความเข้ า ใจยิ่ ง ขึ้ น และเปิ ดโอกาสให้ นั ก เรี ยนถามหากมี ข้ อ สงสั ย
         5. ครู อธิ บายการส่ งยานอวกาศ “ลูน่า” ของสหภาพโซเวียตรัสเซี ย ที่ไปสารวจดวงจันทร์
โคจรรอบดวงจันทร์ ถ่ายภาพและเก็บฝุ่ นหิ นบนดวงจันทร์ กลับมายังโลก และทดลองขับเคลื่อนรถ
หุ่นยนต์บนพื้นผิวดวงจันทร์
6. นักเรี ยนค้นหาคาตอบว่าประเทศสหรัฐอเมริ กาได้ดาเนิ นการสารวจดวงจันทร์ อย่างไร
บ้าง และนามาเปรี ยบเทียบในชั้นเรี ยน
               แนวตอบ ประเทศสหรัฐอเมริ กาได้ส่งยานอวกาศ “เรนเจอร์ ” “ลูน่าออร์ บิเตอร์ ” “เซอร์
เวเยอร์” ไปสารวจดวงจันทร์ และยานอวกาศ “อะพอลโล” นามนุษย์ไปดวงจันทร์ ลงบนพื้นผิวของ
ดวงจันทร์
          7. ครู และนักเรี ยนอภิปรายสรุ ปผลการสารวจดวงจันทร์
               แนวตอบ การสารวจดวงจันทร์ พบว่า ดวงจันทร์ มีโครงสร้ างเหมื อนโลก อายุ 4,600
ล้านปี เท่าโลก ส่ วนประกอบของสารเคมีต่างไปจากโลก ดวงจันทร์ ไม่ใช่ส่วนหนึ่ งของโลกที่หลุด
                                                        ่
ออกไป แต่เป็ นดาวเคราะห์ที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับโลก อยูในอานาจดึงดูดของโลก
          8. นักเรี ยนเข้ากลุ่มๆ ละ 4 – 5 คน จานวน 10 กลุ่ม แสดงบทบาทการสารวจดาวเคราะห์
กาหนดนักเรี ยน 5 กลุ่ม เป็ น ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัส และดาวเสาร์ นักเรี ยนทั้ง 5
กลุ่ม ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดของดาวที่กาหนดให้ไว้ จดจารายละเอียดของดาวดวงนั้นๆ นักเรี ยน
อีก 5 กลุ่ม เป็ นทีมงานของยานอวกาศ ได้แก่ ทีมไพโอเนี ยร์ ทีมมาริ นเนอร์ ทีมวอยเอจเยอร์ ทีม
เวเนรา และทีมมาร์ ทั้ง 5 ทีม ศึกษาค้นคว้า เมื่อศึกษาค้นคว้าดาวดวงใดแล้ว สรุ ปความรู้เรื่ อง การ
สารวจดาวเคราะห์
          ครู กาหนดตาแหน่ งของโลก ให้ท้ ง 5 ทีม อยู่ ณ ตาแหน่ งนั้น และให้กลุ่มที่เป็ นดาวดวง
                                             ั
ต่างๆ อยู่ ณ ตาแหน่ งที่ห่างจากโลกออกไปตามลาดับ แต่ละทีมจะส่ งสมาชิ กในกลุ่มเสมือนเป็ น
ยานอวกาศ ไปสารวจดาวเคราะห์ เมื่อไปถึงกลุ่มที่เป็ นดาวจะให้ขอมูลแก่ผที่ไปสารวจและกลับยัง
                                                                 ้      ู้
โลกรวบรวมข้อมูลที่ได้ ถ้าจาได้ไม่หมดก็ส่งสมาชิกคนอื่นๆ ไปสารวจอีกทาเช่นนี้ จนได้ขอมูลครบ
                                                                                       ้
          9. นักเรี ยนทั้ง 5 ทีม ส่ งตัวแทนรายงานข้อมูลผลการสารวจดาวเคราะห์แต่ละดวง
          10. นักเรี ยนกลุ่ มที มงานยานอวกาศ สรุ ปความรู้ เรื่ อง ผลการสารวจดาวเคราะห์ และ
นักเรี ย นกลุ่ ม ดาวเคราะห์ สรุ ปความรู้ เรื่ อง การส ารวจดาวเคราะห์ เมื่อนัก เรี ยนทาเสร็ จแล้ว
แลกเปลี่ยนกันตรวจ แก้ไข และหรื อเพิมเติม  ่

3. ขั้นสรุ ป
         1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ป การสารวจดวงจันทร์ และการสารวจดาวเคราะห์
         2. ครู แนะนานักเรี ยนให้ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่ อง การสารวจดาว
เคราะห์ จากหนังสื อ วารสาร เอกสาร ในห้องสมุด หรื อทางอินเทอร์ เน็ต

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
         1. หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ของสถาบันส่ งเสริ ม
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
2. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้
              3. สื่ อสิ่ งพิมพ์และเว็บไซต์ต่างๆ ทางอินเตอร์ เน็ตที่เกี่ยวข้อง

การวัดและประเมินผล
 การวัดผลประเมินผลด้าน                                  วิธีการวัด             เครื่ องมือวัด                                              เกณฑ์การผ่าน
1. ด้านความรู ้ความเข้าใจ                      1.วัดจากแบบทดสอบ          1.แบบทดสอบหลังเรี ยน                                        1. ทาแบบทดสอบถูก
                                                                         ชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก                                        มากกว่าหรื อ เท่ากับ 12
                                                                         จานวน 20 ข้อ                                                ข้อขึ้นไป
2. ด้านทักษะกระบวนการ                          สังเกตจากการปฏิบติกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมการ
                                                               ั                                                                     ได้คะแนนในระดับ 2
                                               ในชั้นเรี ยน              ทางาน                                                       ขึ้นไป

3. ด้านคุณลักษณะที่พึง                         การสังเกตพฤติกรรมความ                        แบบสังเกตพฤติกรรมความ ได้คะแนนในระดับ 2
ประสงค์                                        สนใจ และตั้งใจเรี ยน                         สนใจและตั้งใจเรี ยน   ขึ้นไป

กิจกรรมเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา

  ความเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระ                                      ความเห็นหัวหน้า                                ความเห็นรองผูอานวยการ
                                                                                                                             ้
    การเรี ยนรู้วทยาศาสตร์
                 ิ                                             กลุ่มบริ หารวิชาการ                               กลุ่มบริ หารวิชาการ
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ.......................................
(นางจิรารัตน์ เชื่อมกระโทก)                            (นางเพิ่มศิริ งามยิง)         ่            (นายประเสริ ฐ สันทอง)

ความเห็นของผู้บริ หารโรงเรี ยน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
                                                                    ลงชื่อ..........................................................
                                                                                    ( นายทันใจ ชูทรงเดช )
                                                                         ผูอานวยการโรงเรี ยนนารายณ์คาผงวิทยา
                                                                            ้
                                                                        .................../....................../.......................
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ

1. แรงโน้ มถ่ วงของโลกหมายถึงข้ อใด
           ก แรงดึงดูดของวัตถุที่มีต่อโลก
           ข แรงดึงดูดระหว่างโลกกับดวงจันทร์
           ค แรงดึงดูดระหว่างโลกที่กระทาต่อดวงอาทิตย์
           ง แรงดึงดูดของโลกที่กระทาต่อมวลของวัตถุ
2. เพราะเหตุใดในการส่ งจรวดไปในอวกาศ เมื่อจรวดแต่ ละท่ อนเผาไหม้ เชื้อเพลิงหมดแล้ ว
จึงต้ องถูกสลัดทิงไป ้
           ก ลดแรงเสี ยดทาน                      ค ลดมวลให้นอยลง
                                                              ้
           ข ลดขนาดให้ส้ ันลง                    ง ลดแรงโน้มถ่วงของโลก
3. ยานอวกาศสารวจดาวเคราะห์ ที่ ไม่มี นักบินควบคุม คือข้ อใด
           ก ยานลูนา                             ค ยานมาริ เนอร์
           ข ยานเรนเยอร์                         ง ยานคอสมอส
4. ประเทศใดทีประสบความสาเร็จมากทีสุด ในการส่ งยานอวกาศทีมีนักบินควบคุม
                   ่                       ่                    ่
           ก ญี่ปุ่น                  ข รัสเซีย  ค แคนาดา                ง สหรัฐอเมริ กา
5. จุดมุ่งหมายของการส่ งยานอวกาศไปสารวจดาวเคราะห์ ดวงอืนๆ คือข้ อใด
                                                            ่
           ก ต้องการหาอายุของโลก                                       ่
                                                 ค ต้องการหาแหล่งที่อยูให้ประชากร
           ข ต้องการทราบแหล่งกาเนิ ดโลก          ง ต้องการหาทรัพยากรธรรมชาติเพิมเติม
                                                                                 ่
6. สภาวะไร้ นาหนักมีผลต่ อมนุษย์ ในเรื่องใด
                ้
           ก ระบบย่อยอาหารทางานผิดปกติ
            ข ระบบทางเดินหายใจขัดข้องได้ง่าย
           ค กล้ามเนื้อยึดทาให้เคลื่อนไหวไม่สะดวก
           ง ความดันภายในดลหิ ตมาก เส้นเลือดแตกง่าย
7. การปองกันการเกิดสภาพไร้ นาหนักบนยานอวกาศทาได้ หรือไม่
         ้                       ้
           ก ได้ โดยการมัดตัวเองให้ติดกับยาน
           ข ได้ โดยการออกกาลังกายในยานอวกาศ
                                                   ่
           ค ไม่ได้ เพราะยานอวกาศมีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลา
                                    ่
           ง ไม่ได้ เพราะขณะที่อยูในยานอวกาศมีการตกอย่างอิสระ
8. ดาวเทียมดวงแรกทีถูกส่ งขึนไปโคจรในวงโคจรของโลกได้ สาเร็จคือข้ อใด
                        ่     ้
           ก สปุตนิก 1                           ค อะพอลโล 1
           ข เทลสตาร์ 1                          ง เอ็กซ์พลอเรอร์ 1
9. ดาวเทียมเทลสตาร์ ถูกส่ งขึนไปโคจรรอบโลก เพือประโยชน์ ในด้ านใด
                               ้                  ่
         ก เพื่อการสื่ อสารระหว่างสหรัฐอเมริ กากับรัสเซี ย
         ข เพื่อการคมนาคมระหว่างสหรัฐอเมริ กากับยุโรป
         ค เพื่อการคมนาคมระหว่างสหรัฐอเมริ กากับเอเชีย
         ง เพื่อใช้ในการสื่ อสารและส่ งรายการโทรทัศน์ของรัสเซี ย
10. ข้ อใดกล่าวถึงดาวเทียมค้ างฟา ไม่ ถูกต้ อง
                                  ้
         ก เป็ นดาวเทียมที่โคจรในระดับสู ง
          ข เป็ นดาวเทียมที่มีเวลาโคจรรอบโลกเท่ากับเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเอง
         ค เป็ นดาวเทียมที่พฒนาขึ้นเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับความไม่ต่อเนื่องในการส่ งสัญญาณวิทยุ
                             ั
         ง ดาวเทียมอินเทลแซลเป็ นดาวเทียมค้างฟ้ าดวงแรกของโลก
11. ดาวเทียมค้ างฟา ถูกสร้ างขึนเพือใช้ ประโยชน์ ในด้ านใด
                   ้             ้ ่
         ก สื่ อสาร                                 ค การศึกษาวิทยาศาสตร์
         ข อุตุนิยมวิทยา                            ง สารวจทรัพยากรของโลก
12. สถานีสื่อสารดาวเทียมภาคพืนดินของประเทศไทยอยู่ทใด
                                    ้                      ี่
         ก อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี                        ค อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
         ข อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี                      ง อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา
13. ข้ อใด ไม่ใช่ หน้ าที่ของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
         ก ตรวจวัดระดับของเมฆ                       ค ตรวจการแผ่รังสี ของดวงอาทิตย์
         ข ตรวจหาสารพิษในบรรยากาศ                   ง ติดตามการก่อตัวและการเคลื่อนตัวของพายุ
14. ปัจจุบันประเทศไทยใช้ บริการดาวเทียมสื่ อสาร เพือการติดต่ อสื่ อสารระหว่างประเทศ
                                                      ่
และภายในประเทศในเรื่องใดมากทีสุด      ่
         ก โทรเลข                     ข โทรสาร ค โทรศัพท์                  ง โทรพิมพ์
15. จุดประสงค์ ของโครงการสกายแลบ คืออะไร
         ก การศึกษาทางการแพทย์
         ข การศึกษาทางด้านดาราศาสตร์
         ค การศึกษาทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ
         ง การให้มนุษย์ข้ ึนไปค้นคว้าทดลองบนสถานีลอยฟ้ าให้นานที่สุดเท่าที่จะสามารถทาได้
16. ข้ อใดกล่าวถึงสถานีอวกาศเมียร์ ไม่ ถูกต้ อง
         ก ใช้ทาการทดลองวิทยาศาสตร์
         ข เป็ นสถานีอวกาศแบบแยกส่ วน
         ค เป็ นสถานอวกาศของสหรัฐอเมริ กา
         ง ใช้เป็ นสถานที่ศึกษาการใช้ชีวตให้วงอวกาศในระยะยาว
                                           ิ
17. สถานีอวกาศในอนาคต จะพัฒนาในด้ านใด
          ก การสร้างวัคซี นให้บริ สุทธิ์       ค การผลิตสารประกอบที่เบาแต่แข็งแรง
                            ่
          ข การสร้างที่อยูอาศัยของมนุษย์       ง การสร้างโรงงานอุตสาหกรรมในอนาคต
 18. ข้ อใดไม่ ใช่ ดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติของโลก
          ก. ดาวเทียมซีแซท                     ค. ดาวเทียมเอพีเอส 6
          ข. ดาวเทียมเอทีเอส                   ง. ดาวเทียมไทรอส
19. โครงการอพอลโล-ซัลยุต เป็ นโครงการอวกาศร่ วมกันระหว่ างประเทศใด
          ก. อังกฤษ-รัสเซีย                    ค. เยอรมนี -รัสเซีย
          ข. อเมริ กา-รัสเซีย                  ง. อเมริ กา-เยอรมนี
20. เพราะเหตุใดในการส่ งจรวดไปในอวกาศ เมื่อจรวดแต่ ละท่ อนเผาไหม้ เชื้อเพลิงหมดแล้ วจึงต้ อง
ถูกสลัดทิงไป
           ้
          ก. ลดแรงเสี ยดทาน                    ค. ลดขนาดให้ส้ ันลง
          ข. ลดมวลให้นอยลง้                    ง. ลดแรงโน้มถ่วงของโลก

*****************************************************************************
                  เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ

        1) ง.           2) ค.           3) ค.           4) ง.           5) ค.
        6) ง.           7) ข.           8) ก.           9) ข.           10) ง.
        11) ก.          12) ข.          13) ค.          14) ค.          15) ง.
        16) ค.          17) ง.          18) ง.          19) ข.          20) ข.

*****************************************************************************

More Related Content

What's hot

เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าkrupornpana55
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
Kobwit Piriyawat
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
nareerat inthukhahit
 

What's hot (20)

Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
เอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลกเอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลก
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
Sun
SunSun
Sun
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 

Similar to Astroplan20

การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
tanakit pintong
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
Sukumal Ekayodhin
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
Niwat Yod
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
Weerachat Martluplao
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์น้อง อด.
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
Apichart Wattanasiri
 
เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่
Tay Chaloeykrai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
Prachoom Rangkasikorn
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...Sirirat Faiubon
 
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407Palm Siripakorn
 

Similar to Astroplan20 (20)

การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
 
เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
 

More from SAKANAN ANANTASOOK

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
SAKANAN ANANTASOOK
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
SAKANAN ANANTASOOK
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
SAKANAN ANANTASOOK
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
SAKANAN ANANTASOOK
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
SAKANAN ANANTASOOK
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
SAKANAN ANANTASOOK
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
SAKANAN ANANTASOOK
 

More from SAKANAN ANANTASOOK (20)

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

Astroplan20

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 20 รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว31104 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วทยาศาสตร์ ิ โรงเรียนนารายณ์คาผงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 สาระที่ 7 หน่ วยที่ 8 เรื่อง การสารวจดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ เวลา 2.00 ชั่วโมง มาตรฐาน ว 7.2 เข้า ใจความส าคัญ ของเทคโนโลยีอ วกาศที่ นามาใช้ใ นการส ารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้และจิตวิทยา ศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวตและสิ่ งแวดล้อม ิ วัน ............. ที.่ .....เดือน.....................พ.ศ. ........... ผู้เขียน/ผู้สอน ครู ศักดิ์อนันต์ อนันตสุ ข ………………………………………………………………………………………………………. สาระสาคัญ เรื่ องราวของดวงจันทร์ ซ่ ึ งเป็ นบริ วารของโลกนั้น เกิ ดขึ้นมาได้อย่างไร และมี สภาพบน พื้นผิวดวงจันทร์ เป็ นอย่างไรนั้น ในอดีตได้มีการศึกษากันบ้าง แต่เป็ นการศึกษาดวงจันทร์ ดวยตา ้ เปล่าและกล้องโทรทรรศน์มานานนับพันปี แต่ไม่ทราบรายละเอียดที่แท้จริ งมากนัก แต่ปัจจุบน ั ด้วยความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยี ทาให้มีมนุษย์อวกาศขึ้นไปเหยียบพื้นผิวดวง จันทร์ ส่ งยานอวกาศไปสารวจดาวเคราะห์ ทาให้เรารู้ จกดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ อื่นๆ มากขึ้ น ั ตัวชี้วด ั 3. สื บค้นและอธิ บายการส่ งและสารวจอวกาศโดยใช้ยานอวกาศและสถานีอวกาศ จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 1. อธิบายถึงการสารวจดวงจันทร์ ดวยยานอวกาศเริ่ มแรก และการส่ งมนุษย์ข้ ึนไปสารวจ ้ ดวงจันทร์ได้ 2. อธิ บายการค้นพบ ที่เกี่ยวกับดวงจันทร์ และดาวเคราะห์แต่ละดวงได้ สาระการเรียนรู้ - ระบบยานขนส่ งอวกาศถูกพัฒนาขึ้นมาใช้ส่งดาวเทียมและยานอวกาศ แทนการใช้จรวด อย่างเดียวเนื่องจากสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ - ในการส่ งยานอวกาศไปสารวจอวกาศ จรวดที่พายานอวกาศ ต้องมี ความเร็ วมากกว่า ความเร็ วหลุดพ้น จึงจะสามารถออกจากวงโคจรของโลกได้ - ยานอวกาศและสถานีอวกาศมีภารกิจในการสารวจโลกและวัตถุทองฟ้ าอื่นๆ ้
  • 2. เนือหา ้ 1. การสารวจดวงจันทร์ 2. การสารวจดาวเคราะห์ 2.1 การสารวจดาวเคราะห์ดวยยานสารวจอวกาศ ้ 2.2 การสารวจดาวเคราะห์ดวยยานอวกาศ ้ การจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. นักเรี ยนดูภาพดาวเทียมไทยคมของไทยที่ส่งขึ้นไปสารวจอวกาศ 2. ครู ทบทวนการส่ งดาวเทียมขึ้นสู่ อวกาศ ดาวเทียมดวงแรกของโลก ซึ่ งเป็ นดาวเทียมของ สหภาพโซเวียตรัสเซี ย ชื่ อ “สปุตนิค 1” และดาวเทียมดวงแรกของสหรัฐอเมริ กาชื่ อ “แวนการ์ ด” ( การสารวจอวกาศของโลกเริ่ มเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2500 คื อ สปุตนิค 1 ดาวเที ยมดวงแรกของโลก ของสหภาพโซเวียตรั สเซี ย วันที่ 17 มีนาคม 2501 ดาวเที ยมดวงแรกของสหรั ฐอเมริ กา ชื่ อ แวน การ์ ด ขึนไปสารวจอวกาศ) ้ 3. ครู และนักเรี ยนอภิปรายร่ วมกันถึงการสารวจดวงจันทร์ และดาวเคราะห์เพื่อศึกษาการ เกิ ดสภาพพื้นผิว ลักษณะองค์ประกอบต่างๆ ด้วยการส่ งยานอวกาศของ 2 ประเทศ คือสหภาพ โซเวียตรัสเซีย และสหรัฐอเมริ กา 2. ขั้นสอน/กิจกรรม 1. นักเรี ยนจับคู่สนทนาว่า ทาไมเราจึ งมองเห็ นดวงจันทร์ ด้านเดี ยว ทาการทดลองหา คาตอบ โดยนักเรี ยนคนหนึ่ งสมมติตนเองเป็ นดวงจันทร์ อีกคนหนึ่ งเป็ นโลก ทั้งสองหันหน้าเข้า หากันนักเรี ยนที่เป็ นดวงจันทร์ โคจรไปรอบโลก โดยให้ดวงจันทร์ หนหน้าเข้าหาโลกตลอดเวลาที่ ั โคจรรอบโลก (ดวงจันทร์ หมุนรอบตัวเองและโคจรไปรอบโลกใช้ เวลาเท่ ากัน คือ 1 เดือน) 2. ครู สุ่มนักเรี ยนมา 3 คู่ เพื่อออกมาแสดงการสาธิ ตว่าทาไมเราจึงเห็นดวงจันทร์ ดานเดียว ้ ทีละคู่ พร้อมทั้งให้อธิ บายบทบาทของตนเองว่าเป็ นอย่างไร มีลกษณะอย่างไรในระหว่างสาธิ ต ั 3. ครู สุ่มนักเรี ยนที่เหลือในห้องให้คะแนนว่าคู่ใดสาธิ ตได้ดี และทาให้เข้าใจได้ง่ายโดยนับ คะแนนจากการโหวต ครู ให้คาชมเชยทั้ง 3 คู่ที่กล้าแสดงออก 4. ครู ให้นกเรี ยนคู่ท่ีชนะเลิศมาทาการสาธิ ตอีกครั้ง โดยให้ครู อธิ บายการสาธิ ตนั้นอย่าง ั ละเอี ย ดอี ก ครั้ งเพื่ อ ความเข้ า ใจยิ่ ง ขึ้ น และเปิ ดโอกาสให้ นั ก เรี ยนถามหากมี ข้ อ สงสั ย 5. ครู อธิ บายการส่ งยานอวกาศ “ลูน่า” ของสหภาพโซเวียตรัสเซี ย ที่ไปสารวจดวงจันทร์ โคจรรอบดวงจันทร์ ถ่ายภาพและเก็บฝุ่ นหิ นบนดวงจันทร์ กลับมายังโลก และทดลองขับเคลื่อนรถ หุ่นยนต์บนพื้นผิวดวงจันทร์
  • 3. 6. นักเรี ยนค้นหาคาตอบว่าประเทศสหรัฐอเมริ กาได้ดาเนิ นการสารวจดวงจันทร์ อย่างไร บ้าง และนามาเปรี ยบเทียบในชั้นเรี ยน แนวตอบ ประเทศสหรัฐอเมริ กาได้ส่งยานอวกาศ “เรนเจอร์ ” “ลูน่าออร์ บิเตอร์ ” “เซอร์ เวเยอร์” ไปสารวจดวงจันทร์ และยานอวกาศ “อะพอลโล” นามนุษย์ไปดวงจันทร์ ลงบนพื้นผิวของ ดวงจันทร์ 7. ครู และนักเรี ยนอภิปรายสรุ ปผลการสารวจดวงจันทร์ แนวตอบ การสารวจดวงจันทร์ พบว่า ดวงจันทร์ มีโครงสร้ างเหมื อนโลก อายุ 4,600 ล้านปี เท่าโลก ส่ วนประกอบของสารเคมีต่างไปจากโลก ดวงจันทร์ ไม่ใช่ส่วนหนึ่ งของโลกที่หลุด ่ ออกไป แต่เป็ นดาวเคราะห์ที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับโลก อยูในอานาจดึงดูดของโลก 8. นักเรี ยนเข้ากลุ่มๆ ละ 4 – 5 คน จานวน 10 กลุ่ม แสดงบทบาทการสารวจดาวเคราะห์ กาหนดนักเรี ยน 5 กลุ่ม เป็ น ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัส และดาวเสาร์ นักเรี ยนทั้ง 5 กลุ่ม ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดของดาวที่กาหนดให้ไว้ จดจารายละเอียดของดาวดวงนั้นๆ นักเรี ยน อีก 5 กลุ่ม เป็ นทีมงานของยานอวกาศ ได้แก่ ทีมไพโอเนี ยร์ ทีมมาริ นเนอร์ ทีมวอยเอจเยอร์ ทีม เวเนรา และทีมมาร์ ทั้ง 5 ทีม ศึกษาค้นคว้า เมื่อศึกษาค้นคว้าดาวดวงใดแล้ว สรุ ปความรู้เรื่ อง การ สารวจดาวเคราะห์ ครู กาหนดตาแหน่ งของโลก ให้ท้ ง 5 ทีม อยู่ ณ ตาแหน่ งนั้น และให้กลุ่มที่เป็ นดาวดวง ั ต่างๆ อยู่ ณ ตาแหน่ งที่ห่างจากโลกออกไปตามลาดับ แต่ละทีมจะส่ งสมาชิ กในกลุ่มเสมือนเป็ น ยานอวกาศ ไปสารวจดาวเคราะห์ เมื่อไปถึงกลุ่มที่เป็ นดาวจะให้ขอมูลแก่ผที่ไปสารวจและกลับยัง ้ ู้ โลกรวบรวมข้อมูลที่ได้ ถ้าจาได้ไม่หมดก็ส่งสมาชิกคนอื่นๆ ไปสารวจอีกทาเช่นนี้ จนได้ขอมูลครบ ้ 9. นักเรี ยนทั้ง 5 ทีม ส่ งตัวแทนรายงานข้อมูลผลการสารวจดาวเคราะห์แต่ละดวง 10. นักเรี ยนกลุ่ มที มงานยานอวกาศ สรุ ปความรู้ เรื่ อง ผลการสารวจดาวเคราะห์ และ นักเรี ย นกลุ่ ม ดาวเคราะห์ สรุ ปความรู้ เรื่ อง การส ารวจดาวเคราะห์ เมื่อนัก เรี ยนทาเสร็ จแล้ว แลกเปลี่ยนกันตรวจ แก้ไข และหรื อเพิมเติม ่ 3. ขั้นสรุ ป 1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ป การสารวจดวงจันทร์ และการสารวจดาวเคราะห์ 2. ครู แนะนานักเรี ยนให้ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่ อง การสารวจดาว เคราะห์ จากหนังสื อ วารสาร เอกสาร ในห้องสมุด หรื อทางอินเทอร์ เน็ต สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้ 1. หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ของสถาบันส่ งเสริ ม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
  • 4. 2. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้ 3. สื่ อสิ่ งพิมพ์และเว็บไซต์ต่างๆ ทางอินเตอร์ เน็ตที่เกี่ยวข้อง การวัดและประเมินผล การวัดผลประเมินผลด้าน วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์การผ่าน 1. ด้านความรู ้ความเข้าใจ 1.วัดจากแบบทดสอบ 1.แบบทดสอบหลังเรี ยน 1. ทาแบบทดสอบถูก ชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก มากกว่าหรื อ เท่ากับ 12 จานวน 20 ข้อ ข้อขึ้นไป 2. ด้านทักษะกระบวนการ สังเกตจากการปฏิบติกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ั ได้คะแนนในระดับ 2 ในชั้นเรี ยน ทางาน ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะที่พึง การสังเกตพฤติกรรมความ แบบสังเกตพฤติกรรมความ ได้คะแนนในระดับ 2 ประสงค์ สนใจ และตั้งใจเรี ยน สนใจและตั้งใจเรี ยน ขึ้นไป กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา ความเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระ ความเห็นหัวหน้า ความเห็นรองผูอานวยการ ้ การเรี ยนรู้วทยาศาสตร์ ิ กลุ่มบริ หารวิชาการ กลุ่มบริ หารวิชาการ ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... (นางจิรารัตน์ เชื่อมกระโทก) (นางเพิ่มศิริ งามยิง) ่ (นายประเสริ ฐ สันทอง) ความเห็นของผู้บริ หารโรงเรี ยน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ.......................................................... ( นายทันใจ ชูทรงเดช ) ผูอานวยการโรงเรี ยนนารายณ์คาผงวิทยา ้ .................../....................../.......................
  • 5. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ 1. แรงโน้ มถ่ วงของโลกหมายถึงข้ อใด ก แรงดึงดูดของวัตถุที่มีต่อโลก ข แรงดึงดูดระหว่างโลกกับดวงจันทร์ ค แรงดึงดูดระหว่างโลกที่กระทาต่อดวงอาทิตย์ ง แรงดึงดูดของโลกที่กระทาต่อมวลของวัตถุ 2. เพราะเหตุใดในการส่ งจรวดไปในอวกาศ เมื่อจรวดแต่ ละท่ อนเผาไหม้ เชื้อเพลิงหมดแล้ ว จึงต้ องถูกสลัดทิงไป ้ ก ลดแรงเสี ยดทาน ค ลดมวลให้นอยลง ้ ข ลดขนาดให้ส้ ันลง ง ลดแรงโน้มถ่วงของโลก 3. ยานอวกาศสารวจดาวเคราะห์ ที่ ไม่มี นักบินควบคุม คือข้ อใด ก ยานลูนา ค ยานมาริ เนอร์ ข ยานเรนเยอร์ ง ยานคอสมอส 4. ประเทศใดทีประสบความสาเร็จมากทีสุด ในการส่ งยานอวกาศทีมีนักบินควบคุม ่ ่ ่ ก ญี่ปุ่น ข รัสเซีย ค แคนาดา ง สหรัฐอเมริ กา 5. จุดมุ่งหมายของการส่ งยานอวกาศไปสารวจดาวเคราะห์ ดวงอืนๆ คือข้ อใด ่ ก ต้องการหาอายุของโลก ่ ค ต้องการหาแหล่งที่อยูให้ประชากร ข ต้องการทราบแหล่งกาเนิ ดโลก ง ต้องการหาทรัพยากรธรรมชาติเพิมเติม ่ 6. สภาวะไร้ นาหนักมีผลต่ อมนุษย์ ในเรื่องใด ้ ก ระบบย่อยอาหารทางานผิดปกติ ข ระบบทางเดินหายใจขัดข้องได้ง่าย ค กล้ามเนื้อยึดทาให้เคลื่อนไหวไม่สะดวก ง ความดันภายในดลหิ ตมาก เส้นเลือดแตกง่าย 7. การปองกันการเกิดสภาพไร้ นาหนักบนยานอวกาศทาได้ หรือไม่ ้ ้ ก ได้ โดยการมัดตัวเองให้ติดกับยาน ข ได้ โดยการออกกาลังกายในยานอวกาศ ่ ค ไม่ได้ เพราะยานอวกาศมีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลา ่ ง ไม่ได้ เพราะขณะที่อยูในยานอวกาศมีการตกอย่างอิสระ 8. ดาวเทียมดวงแรกทีถูกส่ งขึนไปโคจรในวงโคจรของโลกได้ สาเร็จคือข้ อใด ่ ้ ก สปุตนิก 1 ค อะพอลโล 1 ข เทลสตาร์ 1 ง เอ็กซ์พลอเรอร์ 1
  • 6. 9. ดาวเทียมเทลสตาร์ ถูกส่ งขึนไปโคจรรอบโลก เพือประโยชน์ ในด้ านใด ้ ่ ก เพื่อการสื่ อสารระหว่างสหรัฐอเมริ กากับรัสเซี ย ข เพื่อการคมนาคมระหว่างสหรัฐอเมริ กากับยุโรป ค เพื่อการคมนาคมระหว่างสหรัฐอเมริ กากับเอเชีย ง เพื่อใช้ในการสื่ อสารและส่ งรายการโทรทัศน์ของรัสเซี ย 10. ข้ อใดกล่าวถึงดาวเทียมค้ างฟา ไม่ ถูกต้ อง ้ ก เป็ นดาวเทียมที่โคจรในระดับสู ง ข เป็ นดาวเทียมที่มีเวลาโคจรรอบโลกเท่ากับเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเอง ค เป็ นดาวเทียมที่พฒนาขึ้นเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับความไม่ต่อเนื่องในการส่ งสัญญาณวิทยุ ั ง ดาวเทียมอินเทลแซลเป็ นดาวเทียมค้างฟ้ าดวงแรกของโลก 11. ดาวเทียมค้ างฟา ถูกสร้ างขึนเพือใช้ ประโยชน์ ในด้ านใด ้ ้ ่ ก สื่ อสาร ค การศึกษาวิทยาศาสตร์ ข อุตุนิยมวิทยา ง สารวจทรัพยากรของโลก 12. สถานีสื่อสารดาวเทียมภาคพืนดินของประเทศไทยอยู่ทใด ้ ี่ ก อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ค อ.บางละมุง จ.ชลบุรี ข อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี ง อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 13. ข้ อใด ไม่ใช่ หน้ าที่ของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ก ตรวจวัดระดับของเมฆ ค ตรวจการแผ่รังสี ของดวงอาทิตย์ ข ตรวจหาสารพิษในบรรยากาศ ง ติดตามการก่อตัวและการเคลื่อนตัวของพายุ 14. ปัจจุบันประเทศไทยใช้ บริการดาวเทียมสื่ อสาร เพือการติดต่ อสื่ อสารระหว่างประเทศ ่ และภายในประเทศในเรื่องใดมากทีสุด ่ ก โทรเลข ข โทรสาร ค โทรศัพท์ ง โทรพิมพ์ 15. จุดประสงค์ ของโครงการสกายแลบ คืออะไร ก การศึกษาทางการแพทย์ ข การศึกษาทางด้านดาราศาสตร์ ค การศึกษาทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ ง การให้มนุษย์ข้ ึนไปค้นคว้าทดลองบนสถานีลอยฟ้ าให้นานที่สุดเท่าที่จะสามารถทาได้ 16. ข้ อใดกล่าวถึงสถานีอวกาศเมียร์ ไม่ ถูกต้ อง ก ใช้ทาการทดลองวิทยาศาสตร์ ข เป็ นสถานีอวกาศแบบแยกส่ วน ค เป็ นสถานอวกาศของสหรัฐอเมริ กา ง ใช้เป็ นสถานที่ศึกษาการใช้ชีวตให้วงอวกาศในระยะยาว ิ
  • 7. 17. สถานีอวกาศในอนาคต จะพัฒนาในด้ านใด ก การสร้างวัคซี นให้บริ สุทธิ์ ค การผลิตสารประกอบที่เบาแต่แข็งแรง ่ ข การสร้างที่อยูอาศัยของมนุษย์ ง การสร้างโรงงานอุตสาหกรรมในอนาคต 18. ข้ อใดไม่ ใช่ ดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติของโลก ก. ดาวเทียมซีแซท ค. ดาวเทียมเอพีเอส 6 ข. ดาวเทียมเอทีเอส ง. ดาวเทียมไทรอส 19. โครงการอพอลโล-ซัลยุต เป็ นโครงการอวกาศร่ วมกันระหว่ างประเทศใด ก. อังกฤษ-รัสเซีย ค. เยอรมนี -รัสเซีย ข. อเมริ กา-รัสเซีย ง. อเมริ กา-เยอรมนี 20. เพราะเหตุใดในการส่ งจรวดไปในอวกาศ เมื่อจรวดแต่ ละท่ อนเผาไหม้ เชื้อเพลิงหมดแล้ วจึงต้ อง ถูกสลัดทิงไป ้ ก. ลดแรงเสี ยดทาน ค. ลดขนาดให้ส้ ันลง ข. ลดมวลให้นอยลง้ ง. ลดแรงโน้มถ่วงของโลก ***************************************************************************** เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ 1) ง. 2) ค. 3) ค. 4) ง. 5) ค. 6) ง. 7) ข. 8) ก. 9) ข. 10) ง. 11) ก. 12) ข. 13) ค. 14) ค. 15) ง. 16) ค. 17) ง. 18) ง. 19) ข. 20) ข. *****************************************************************************