SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
โครงสรางรายวิชาฟสิกสพนฐานและเพิ่มเติม
                                                 ื้
                 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับมัธยมศึกษาปที่ 4-6
                       หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุราชประสิทธิ์
 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง ครังที่ 1 พ.ศ. 2553)
                                                                          ้
                            ***************************

รายวิชาฟสิกสพื้นฐาน

         รหัสวิชา                ชื่อวิชา   จํานวน      จํานวน     ระดับชั้น ภาคเรียน หมาย
                                            ชั่วโมง    หนวยกิต     ที่เรียน    ที่    เหตุ
                                                                                      สายวิทย
         ว30101      ฟสิกสพื้นฐาน            80          2.0       ม.4        1     และศิลป



รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม

         รหัสวิชา                ชื่อวิชา   จํานวน      จํานวน     ระดับชั้น ภาคเรียน หมาย
                                            ชั่วโมง    หนวยกิต     ที่เรียน    ที่    เหตุ
         ว30201      ฟสิกส 1                 80          2.0       ม.4        2     สายวิทย

         ว30202      ฟสิกส 2                 80          2.0       ม.5        1     สายวิทย

         ว30203      ฟสิกส 3                 80          2.0       ม.5        2     สายวิทย

         ว30204      ฟสิกส 4                 80          2.0       ม.6        1     สายวิทย

         ว30205      ฟสิกส 5                 80          2.0       ม.6        2     สายวิทย
คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
ชื่อวิชา ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics)                                 เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
รหัสวิชา ว30101 (Sci.30101)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                    ศึกษา วิเคราะหความสัมพันธระหวางระยะทาง การกระจัด เวลา อัตราเร็ว อัตราเรง
การเคลื่อนที่แนวตรง โพรเจกไทล แบบวงกลม และแบบฮารมอนิกอยางงาย การเคลื่อนที่ของวัตถุใน
สนามโนมถวง การเคลื่อนที่ ของอนุภ าคที่มีประจุไฟฟาในสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก การใช
ประโยชนจากการเคลื่อนที่แบบตาง ๆ แรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคในนิวเคลียส คลื่นกล เสียงและ
สมบัติของเสียง เสียงและการไดยิน สเปกตรัมของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ปฏิกิริยานิวเคลียร กัมมันตรังสี
ไอโซโทปและการใชประโยชนในทางสรางสรรครวมถึงผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม โดยใช
กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล อภิปรายและการทดลองเพื่อใหเกิดความรู ความคิด
ความเข า ใจ สามารถสื่ อ สารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู มี ค วามสามารถในการตั ด สิ น ใจ นํ า ความรู ไ ปใช ใ น
ชีวตประจําวัน มีจตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมที่เหมาะสม
    ิ                ิ




ตัวชี้วัด
            ว4.1 ม4-6/1, ว4.1 ม4-6/2, ว4.1 ม4-6/3, ว4.1 ม4-6/4
            ว4.2 ม4-6/1, ว4.2 ม4-6/2, ว4.2 ม4-6/3
            ว5.1 ม4-6/1, ว5.1 ม4-6/2, ว5.1 ม4-6/3, ว5.1 ม4-6/4, ว5.1 ม4-6/5 ,ว5.1 ม4-6/6, ว5.1 ม4-6/7 ,
            ว5.1 ม4-6/1-8,ว5.1 ม4-6/9,

รวม         16 ตัวชี้วัด
คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
ชื่อวิชา ฟสิกส 1 (Physics I )                                         เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
รหัสวิชา ว30201 (Sci.30201)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
          ศึ ก ษา วิ เ คราะห ค วามหมายปริ ม าณทางฟ สิ ก ส หน ว ย การวั ด ปริ ม าณต า ง ๆเลขนั ย สํ า คั ญ
ความคลาดเคลื่อนในการวัด การเขียนกราฟ รวมทั้งทักษะในการรายงานการทดลอง ปริมาณเวกเตอร
และสเกลาร การหาเวกเตอรลัพธ ทดลองและสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ใน 1 มิติ การใชกฎการเคลื่อนที่
แนวตรง แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรงดึงดูดระหวางมวล แรงเสียดทาน ความสัมพันธ
ระหวางงานและพลังงาน พลังงานจลนและพลังงานศักย กฎการอนุรักษพลังงาน ความหมายของ
โมเมนตัม ความสัมพันธระหวางโมเมนตัมกับมวลและความเร็ว การชน การระเบิด กฎการอนุรักษ
โมเมนตัม การชนแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล
อภิ ป รายและการทดลองเพื่ อ ให เ กิ ด ความรู ความคิ ด ความเข า ใจ สามารถสื่ อ สารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู มี
ความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม
และคานิยมที่เหมาะสม
ผลการเรียนรู
1. อธิบายความหมายของปริมาณทางฟสิกส ปริมาณฐาน ปริมาณอนุพัทธและการวัดปริมาณดังกลาว
    ใหใชหนวยระหวางประเทศ(ระบบเอสไอ)
2. ทดลองและอธิ บ ายเกี่ ย วกั บ การวั ด ปริ ม าณต า งๆ ที่ ต อ งพิ จ ารณาความคลาดเคลื่ อ นในการวั ด
    นําเสนอผลการเขียนกราฟ รวมทั้งมีทักษะในการรายงานผลการทดลอง
3. อธิบายความหมายของปริมาณสเกลาร ปริมาณเวกเตอร วิธีการบวกปริมาณในแตละประเภท การ
    หาเวกเตอรลัพธโดยการเขียนรูปและการคํานวณ
4. ทดลองและวิเคราะหเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ใน 1 มิติ ที่มีความเรงคงตัว และอธิบายดวยสมการอยาง
    งาย
5. คํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของโดยใชสมการการเคลื่อนที่แนวตรง
6. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับกฎ การเคลื่อนที่ของนิวตัน พรอมประยุ กตนําความรูไ ป
    อธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุในชีวิตประจําวัน
7. สืบคนขอมูลและอธิบายแรงดึงดูดระหวางมวลของวัตถุทั้งหลายในเอกภพ
8. วิ เ คราะห ส ภาพการเคลื่ อ นที่ ข องวั ต ถุ แ ละผลของแรงที่ ก ระทํ า ต อ วั ต ถุ ที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ งกั บ
    ศูนยกลางมวลและศูนยถวงของวัตถุ
9. ทดลองและเขียนกราฟความสัมพันธของแรงเสียดทานกับสัมประสิทธิ์ความเสียดทานและแรงที่
    พื้นกระทําตอวัตถุ
10. ทดลอง วิเคราะหและคํานวณหาคางานที่เกิดขึ้นจากแรงที่กระทําตอวัตถุ พลังงานจลน พลังงานศักย
    โนมถวงและพลังงานศักยยืดหยุน
11. ทดลองและสรุปไดวาผลรวมของพลังงานจลนและพลังงานศักยของวัตถุในสนามโนมถวงมีคาคง
    ตัวและขยายไปถึงกฎการอนุรักษพลังงานทั่วไป ซึ่งรวมถึงพลังงานรูปอื่น
12. อธิบายความหมายของโมเมนตัม แสดงความสัมพันธระหวางโมเมนตัมกับมวลและความเร็ว
13. ศึกษาวิเคราะหและอภิปรายเกี่ยวกับกฎการอนุรักษโมเมนตัม การชนแบบยืดหยุนและไมยดหยุน                 ื

รวม      13 ผลการเรียนรู
คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1
ชื่อวิชา ฟสิกส 2 (Physics II )                                        เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
รหัสวิชา ว30202 (Sci.30202)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
           ศึกษา วิเคราะหความหมายของสมดุลของวัตถุ การเคลื่อนที่แบบหมุน โมเมนตความเฉื่อย โม
เมนตัมเชิงมุม ทอรก พลังงานจลนของการหมุน การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล การเคลื่อนที่แบบ
วงกลม การเคลื่ อ นที่ แ บบฮาร ม อนิ ก อย า งง า ย คลื่ น และสมบั ติ ข องคลื่ น การเกิ ด บี ต ส คลื่ น นิ่ ง
คลื่ น เสีย ง การสั่ น พ อ ง ความเข ม เสี ย ง ระดั บ ความเข ม เสีย ง คุ ณ ภาพเสี ย ง ปรากฏการ ด อปเปลอร
คลื่นกระแทก โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล อภิปรายและการทดลองเพื่อให
เกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู
ไปใชในชีวตประจําวัน มีจตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมที่เหมาะสม
              ิ                 ิ
ผลการเรียนรู
1. สํารวจและอธิ บายเกี่ยวกั บสมดุลของวั ตถุ ทั้งสมดุลตอการเคลื่อนที่ สมดุลตอการหมุน สมดุล
    สัมบูรณ การเกิดโมเมนตของแรงและหลักการใชสมดุลเพื่อแกปญหา
2. ทดลองวิเคราะหและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบหมุน การกระจัดเชิงมุม ความเร็วเชิงมุม
    ความเรง เชิ งมุม โมเมนต ค วามเฉื่ อย ทอรก โมเมนตั มเชิงมุม กฎการอนุ รัก ษโมเมนตัมเชิงมุ ม
    พลังงานจลนของการหมุน
3. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบโพรเจกไทลในสนามโนมถวง
    พรอมทั้งคํานวณหาปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
4. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบวงกลม แรงสูศูนยกลาง อัตราเร็วเชิงมุม
    พรอมทั้งคํานวณหาปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
5. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายพรอมทั้งคํานวณหา
    ปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
6. สํารวจ ตรวจสอบและอภิปรายเกี่ยวกับคลื่นกล คลื่นตามยาว และคลื่นตามขวาง
7. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับสมบัติของคลื่น ไดแก การสะทอน การหักเห การแทรกสอดและการ
    เลี้ยวเบน
8. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการเกิดคลื่นนิ่ง
9. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับคลื่นเสียง สมบัติของคลื่นเสียง พรอมทั้งคํานวณหาปริมาณตาง ๆ ที่
    เกี่ยวของ
10. อธิบายเกี่ยวกับเสียงสะทอนกลับ
11. อธิบายการเกิดบีตสของเสียง พรอมทั้งคํานวณเกี่ยวกับการเกิดบีตสของเสียงได
12. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณ ดอปเปลอรพรอมทั้งคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของ
13. อธิบายและคํานวณเกี่ยวกับคลื่นกระแทก
14. สืบคนขอมูลและอธิบายเกี่ยวกับความเขมเสียงและระดับความเขมเสียงพรอมทั้งคํานวณหาคาที่
    เกี่ยวของ
15. อธิบายเกี่ยวกับคุณภาพเสียงซึ่งขึ้นกับโอเวอรโทนที่ตางกัน
16. สืบคนขอมูลและอธิบายเกี่ยวกับการไดยินเสียงของมนุษย อัลตราโซนิก อินฟราโซนิก

รวม     16 ผลการเรียนรู
คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2
ชื่อวิชา ฟสิกส 3 (Physics III )                                       เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
รหัสวิชา ว30203 (Sci.30203)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
          ศึ ก ษา วิ เ คราะห แสงและสมบั ติ ข องแสง ทั ศ นอุ ป กรณ การกระจายแสง ความสว า ง
ความเขม สี ตาและการมองเห็น โพลาไรซของแสง กฎของบอยล ชารล และเกย-ลุสแซก กฎของแกส
ทฤษฎีจลนของแกส การถายโอนพลังงานความรอน กฎของอุณหพลศาสตร สมดุลความรอน สภาพ
ยืดหยุน ความเคน ความเครียด มอดูลัสของความยืดหยุน สมบัติของของไหล ความหนาแนน ความตึง
ผิว ความหนื ด หลั กของอาร คีมีดี ส กฎของปาสคาล สมการของแบรนูลลี โดยใชกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู การสืบค นข อมูล อภิ ปรายและการทดลองเพื่อ ใหเ กิดความรู ความคิด ความเข า ใจ
สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิต
วิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมที่เหมาะสม
ผลการเรียนรู
   1. ทดลอง อธิบายและคํานวณเกี่ยวกับการสะทอนของแสง
   2. ทดลองวิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับการหักเหของแสง
   3. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการหักเหของแสงซึ่งนําไปหาตําแหนงและขนาดของภาพที่เกิดจาก
       เลนสโดยการเขียนภาพและคํานวณ
   4. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติการแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของแสง
   5. ทดลอง อธิบายเกี่ยวกับแสงโพลาไรซและแสงไมโพลาไรซ
   6. สืบคนขอมูล วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับความเขมแสง การกระจายแสง ความสวางและการ
       มองเห็นของมนุษย
   7. สํารวจ ตรวจสอบเกี่ยวกับพลังงานความรอนและอุณหภูมิ ความจุความรอนจําเพาะ ความจุ
       ความรอนแฝงจําเพาะและผลของความรอนที่ทําใหสารเปลี่ยนอุณหภูมิหรือเปลี่ยนสถานะหรือ
       ขยายตัว
   8. สํารวจ ตรวจสอบและอภิปรายทฤษฎีจลนของแกส ซึ่งทําใหเขาใจสมบัติของแกส การเปลี่ยน
       สถานะของสารและการถายโอนความรอน
   9. ทดลองเกี่ยวกับการถายโอนความรอนและสมดุลความรอน
   10. สํารวจตรวจสอบและอภิปรายเกี่ยวกับกฎของบอยล ชารล เกย-ลุสแซก และกฎของแกสพรอม
       ทั้งคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของ
   11. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับกฎขอที่ 1 ของอุณหพลศาสตร
   12. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับเครื่องยนตความรอน หลักการของตูเย็น เครื่องปรับอากาศ
   13. ทดลองและสํารวจตรวจสอบสภาพยืดหยุนของของแข็ง ความเคนและความเครียดของวัตถุ คา
       มอดูลสของความยืดหยุน พรอมทั้งคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของ
              ั
   14. ศึ ก ษาสํ า รวจตรวจสอบและอภิ ป รายสมบั ติ ทั่ ว ไปของของไหล ได แ ก ความหนาแน น
       ความดัน ความตึงผิว ความหนืด แรงพยุงของของเหลวที่มีตอการจมการลอยของวัตถุ หลักการ
       ของอารคีมีดีส กฎของปาสคาล กฎของสโตก เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในของเหลวที่มี
       ความหนืด
   15. สํารวจตรวจสอบและอภิปรายสมการของแบรนูลลี

รวม    15 ผลการเรียนรู
คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 1
ชื่อวิชา ฟสิกส 4 (Physics IV )                                        เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
รหัสวิชา ว30204 (Sci.30204)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
          ศึกษา ทดลอง วิเคราะหแรงกระทําระหวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟา กฎของคูลอมบ สนามไฟฟา
ศักยไฟฟา ความตางศักยไฟฟา ความจุไฟฟา ตัวเก็บประจุ การตอตัวเก็บประจุแบบอนุกรมและขนาน
แหลงกําเนิดไฟฟา กระแสไฟฟา แรงเคลื่อนไฟฟา สภาพตานทานไฟฟา กฎของโอหม กฎของเคอร
ชอฟ กําลังไฟฟา สนามแมเหล็กและไฟฟาแมเหล็ก แรงกระทําตอประจุในสนามแมเหล็ก โมเมนตของ
แรงคูควบ แรงลอเรนซ มอเตอรกระแสตรง แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา กฎของฟาราเดย กฎของเลนซ
หมอแปลงไฟฟ า ไฟฟากระแสสลับ ความตางศั ก ย ไ ฟฟา กระแสสลั บ คายั งผล การตอวงจรไฟฟา
กระแสสลับ วงจรRLC วงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคน
ขอมูล อภิปรายและการทดลองเพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มี
ความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม
และคานิยมที่เหมาะสม
ผลการเรียนรู
   1. อธิบายแรงกระทําระหวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟา
   2. วิเคราะหและอธิบายศักยไฟฟาของประจุที่อยูในสนามไฟฟา
   3. วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับความตางศักยไฟฟาระหวางสองตําแหนง
   4. สํารวจตรวจสอบวิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับสนามไฟฟานอกตัวนําทรงกลมและภายในทรง
       กลมกลวงหรือตัน หรือสนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุ
   5. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับศักยไฟฟาภายในทรงกลมตัวนํา
   6. อธิบายเกี่ยวกับตัวเก็บประจุ ความจุไฟฟา การตอตัวเก็บประจุแบบอนุกรมและแบบขนาน
   7. สํารวจตรวจสอบและอธิบายเกี่ยวกับสนามไฟฟาและการเหนี่ยวนําไฟฟาซึ่งนําไปอธิบายการ
       ทํางานของอุปกรณตางๆ
   8. อธิบายการเกิดกระแสไฟฟาในตัวกลาง วิเคราะหหาสมการของกระแสไฟฟาในลวดตัวนํา
       โลหะ
   9. อธิบายแรงเคลื่อนไฟฟา พลังงานไฟฟาที่ประจุไฟฟาไดรับและใชในวงจรไฟฟา
   10. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับสภาพตานทานไฟฟา กฎของโอหมและกฎของเคอรชอฟ
   11. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับวงจรวีทสโตนบริดจ
   12. สํารวจ ตรวจสอบและวิเคราะหเกี่ยวกับแรงกระทําตออนุภาคที่มีประจุไฟฟาเคลื่อนที่เขาไปใน
       สนามแมเหล็กและแรงกระทําตอลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟาไหลผานและอยูในสนามแมเหล็ก
   13. ทดลองและอภิปรายเกี่ยวกับโมเมนตของแรง คูควบที่กระทําตอขดลวดที่มีกระแสไฟฟาไหล
       ผานและวางอยูในสนามแมเหล็ก และการนําหลักการนี้ไปสรางมอเตอร
   14. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา กฎของฟาราเดย กฎของเลนซ
   15. ทดลองและวิเคราะหเกี่ยวกับหลักการทํางานของหมอแปลงไฟฟา
   16. วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับไฟฟากระแสสลับและทฤษฎีของแมกซเวลล
   17. ทดลองวิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับไฟฟากระแสสลับเบื้องตนที่ประกอบดวยตัวตานทาน
       ขดลวดเหนี่ยวนํา ตัวเก็บประจุ
   18. สืบคน ทดลองและวิเคราะหวงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนเกี่ยวกับตรรกะ การควบคุม การขยาย
       สัญญาณ การกําเนิดสัญญาณ ซึ่งใชออกแบบสรางวงจรเพื่อนําไปใชงานและหลักการเบื้องตน
       ของอิเล็กทรอนิกสในคอมพิวเตอร

รวม    18 ผลการเรียนรู
คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2
ชื่อวิชา ฟสิกส 5 (Physics V )                                         เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
รหัสวิชา ว30205 (Sci.30205)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
          ศึ ก ษา ทดลอง วิ เ คราะห ก ารเกิ ด คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า องค ป ระกอบและสมบั ติ ข องคลื่ น
แมเหล็กไฟฟา แบบจําลองอะตอม โครงสรางอะตอม การวัดประจุไฟฟาและมวล ปรากฏการณโฟโตอิ
เลกตริก ปรากฏการณคอมปตัน การแผรังสีของวัตถุดํา การเกิดรังสีเอกซ หลักการทวิภาพของคลื่นและ
อนุภาค ทฤษฎีอะตอมของบอร เลเซอร กลศาสตรควอนตัมเบื้องตน การคนพบธาตุกัมมันรังสี การ
สลายของนิวเคลียส ไอโซโทป มวลพรอง พลังงานยึดเหนี่ยว ปฏิกิริยานิวเคลียรและพลังงานนิวเคลียร
ประโยชนและอันตรายของกัมมันตภาพรังสี โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล
อภิ ป รายและการทดลองเพื่ อ ให เ กิ ด ความรู ความคิ ด ความเข า ใจ สามารถสื่ อ สารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู มี
ความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม
และคานิยมที่เหมาะสม
ผลการเรียนรู
   1. สํารวจตรวจสอบอภิปรายเกี่ยวกับการเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟา
   2. อธิบายเกี่ยวกับองคประกอบของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
   3. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
   4. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับประโยชนและอันตรายของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
   5. สืบคนขอมูลและอธิบายเกี่ยวกับองคประกอบของสสาร การคนพบอิเล็กตรอน แบบจําลอง
       อะตอม โครงสรางอะตอม การวัดประจุและมวลของอิเลกตรอนจากการทดลองของทอมสัน
       และมิลลิแกน
   6. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณโฟโตอิเลกตริก
   7. สืบคนขอมูลและอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณคอมปตัน
   8. อธิบายเกี่ยวกับการเกิดรังสีเอกซ
   9. อภิปรายเกี่ยวกับทวิภาคของคลื่นและอนุภาค
   10. สํารวจตรวจสอบและอภิปรายเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมของไฮโดรเจนตามแนวคิดของบอร
   11. สํารวจตรวจสอบและวิเคราะหเกี่ยวกับการชนระหวางอิเลกตรอนกับอะตอมของ ไอปรอท
       และสเปกตรัมของแกสรอน
   12. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับโครงสรางอะตอมตามทฤษฎีกลศาสตรควอนตัม
   13. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี การคนพบสมบัติตาง ๆ การเปลี่ยนสภาพ
       ของนิวเคลียส และการสลายตัวของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี
   14. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับมวลพรอง
   15. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร ซึ่งเปนกระบวนการที่นิวเคลียสเกิดการ
       เปลี่ยนแปลง องคประกอบหรือระดับพลังงาน เชน การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี ปฏิกิริยา
       ฟชชัน และฟวชัน
   16. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียรที่ใชผลิตไอโซโทปกัมมันตรังสี และ
       พลังงานนิวเคลียส ซึ่งสามารถเรียนรูการนําปฏิกิริยานิวเคลียรมาใชประโยชนในสังคมปจจุบัน
       อยางกวางขวาง
   17. สืบคนขอมูลและอธิบายเกี่ยวกับประโยชนและโทษของกัมมันตรังสีและการปองกัน

รวม    17 ผลการเรียนรู
หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน
     กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
     ชื่อวิชา ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics)                                 เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
     รหัสวิชา ว30101 (Sci.30101)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
     --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                             มาตรฐานการ
                                                                                                                              เวลา น้ําหนัก
ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู เรียนรู /                                           สาระสําคัญ
                                                                                                                           (ชั่วโมง) คะแนน
                            ตัวชี้วัด/ผลการ
                                 เรียนรูที่
1 แรงและการ                  ว4.1 ม4-6/1 - ในสนามโนมถวงจะมีแรงกระทําตอวัตถุ ทําใหวัตถุมีน้ําหนัก เมื่อ                     12      15
    เคลือนที่
         ่                                       ปลอยวัตถุ วัตถุจะตกแบบเสรี สนามโนมถวงทําใหวัตถุตาง ๆ ไมหลุด
                                                 จากโลก เชน การโคจรของดาวเทียมรอบโลกและอาจใชแรงโนมถวง
       - สนามของแรง
                                                 ไปใชประโยชนเพื่อหาแนวดิ่งของชางกอสราง
       - การเคลื่อนทีของ
                      ่
                             ว4.1 ม4-6/2 - เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟาอยูในสนามไฟฟา จะมีแรงกระทําตอ
       วัตถุภายใตสนาม                           อนุภาคนั้นซึ่งอาจทําใหสภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป
       ของแรง                                    สามารถนําสมบัตินี้ไปประยุกตสรางเครื่องมือบางชนิด เชน เครื่อง
                                               กําจัดฝุน ออสซิลโลสโคป
                             ว4.1 ม4-6/3       - เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟาเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็กจะมีแรงกระทํา
                                               ตออนุภาคนั้น ซึ่งอาจทําใหสภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป
                                               สามารถนําสมบัตินี้ไปประยุกตสรางหลอดภาพโทรทัศน
                             ว4.1 ม4-6/4       - อนุภาคในนิวเคลียส เรียกวา นิวคลีออน นิวคลีออน ประกอบดวย
                                               โปรตอนและนิวตรอน นิวคลีออนในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันดวยแรง
                                               นิวเคลียร ซึ่งมีคามากกวาแรงผลักทางไฟฟาระหวางนิวคลีออน นิวคลี
                                               ออนจึงอยูรวมกันในนิวเคลียสได
หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ตอ)
      กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
      ชื่อวิชา ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics)                                 เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
      รหัสวิชา ว30101 (Sci.30101)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
      --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                    มาตรฐานการเรียนรู /                                                  เวลา      น้ําหนัก
ที่               ชื่อหนวยการเรียนรู                                                       สาระสําคัญ
                                                    ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่                                          (ชั่วโมง)   คะแนน
2     การเคลือนทีในแนวตรง
             ่ ่                                       ว 4.2 ม.4-6 /1            การเคลื่อนที่แนวตรงเปนการ               16          17
      - ระยะทาง การกระจัด                                                        เคลื่อนที่ในแนวใดแนวหนึ่ง เชน
                                                                                 แนวราบหรือแนวดิ่งที่มีการกระจัด
      - อัตราเร็ว ความเร็ว
                                                                                 ความเร็ว ความเรงอยูในแนว
      - ความเรง
                                                                                 เสนตรงเดียวกัน โดยความเรงของ
                                                                                 วัตถุหาไดจากความเร็วที่เปลี่ยนไป
                                                                                 ในหนึ่งหนวยเวลา
3     การเคลือนทีแบบต่ าง ๆ
              ่ ่                                      ว 4.2 ม.4-6 /2            -การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลเปน          16          18
      - การเคลื่อนทีแบบโพรเจกไทล
                    ่                                                            การเคลื่อนที่วิถีโคงที่มีความเร็วใน
                                                                                 แนวราบคงตัวและความเรงใน
      - การเคลื่อนทีแบบวงกลม
                      ่
                                                                                 แนวดิ่งคงตัว
      - การเคลื่อนทีแบบซิมเปลฮารมอนิก
                        ่
                                                                                 -การเคลื่อนที่แบบวงกลมเปนการ
      อยางงาย                                                                  เคลื่อนที่ที่มีความเร็วในแนวเสน
                                                                                 สัมผัสวงกลมและมีแรงในทิศทาง
                                                                                 เขาสูศูนยกลาง
                                                                                 -การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยาง
                                                                                 งายเปนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมา
                                                                                 ซ้ําทางเดิม เชน การแกวงของลูกตุม
                                                                                 อยางงาย โดยที่มุมสูงสุดที่เบนจาก
                                                                                 แนวดิ่งมีคาคงตัวตลอด
                                                       ว 4.2 ม.4-6 /3            -การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
                                                                                 สามารถนําไปใชประโยชน เชน การ
                                                                                 เลนเทนนิส บาสเกตบอล
                                                                                 -การเคลื่อนที่แบบวงกลมสามารถ
                                                                                 นําไปใชประโยชน เชน การวิ่งทาง
                                                                                 โคงของรถยนตใหปลอดภัย
                                                                                 -การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยาง
                                                                                 งายสามารถนําไปใชประโยชนใน
                                                                                 การสรางนาฬิกาแบบลูกตุม
หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ตอ)
    กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
    ชื่อวิชา ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics)                                 เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
    รหัสวิชา ว30101 (Sci.30101)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
    --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                      มาตรฐานการ
                                                                                                                      เวลา น้ําหนัก
ที่           ชื่อหนวยการเรียนรู                  เรียนรู / ตัวชี้วด/ั              สาระสําคัญ
                                                                                                                   (ชั่วโมง) คะแนน
                                                     ผลการเรียนรูที่  
4 คลืน  ่                                           ว 5.1 ม.4-6 /1 -คลื่นกลมีสมบัติการสะทอน การ                       10      12
     - คลื่นกล                                                             หักเห การแทรกสอดและการ
                                                                           เลี้ยวเบน
     - สมบัติของคลื่น
                                                                   -อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่น
                                                                   มีความสัมพันธกันดังนี้
                                                                   อัตราเร็ว = ความถี่ x ความยาวคลื่น
5     เสี ยงและการได้ ยน
                       ิ                           ว 5.1 ม.4-6/2-3 -คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของ                  10         13
       - คลื่นเสียง                                                แหลงกําเนิดเสียง
                                                                   -บีตสของเสียงเกิดจากแหลงกําเนิด
       - บีตส
                                                                   สองแหลงที่มีความถี่ตางกันเล็กนอย
       - ความเขมเสียง
                                                                   มารวมกัน ทําใหไดยินเสียงดัง คอย
       - มลพิษทางเสียง                                             เปนจังหวะ
                                                                   -ความเขมเสียง คือ พลังงานเสียงที่
                                                                   ตกตั้งฉากบนหนึ่งหนวยพื้นที่ใน
                                                                   หนึ่งหนวยเวลา
                                                                   -ระดับความเขมเสียงจะบอกความ
                                                                   ดังคอยของเสียงที่ไดยิน
                                                                   -เครื่องดนตรีแตละชนิดที่ใชตัวโนต
                                                                   เดียวกัน จะใหรูปคลื่นที่แตกตางกัน
                                                                   เรียกวา มีคุณภาพเสียงตางกัน
                                                                   - มลพิษทางเสียงที่มีผลตอสุขภาพ
                                                                   ของมนุษย ถาฟงเสียงที่มีระดับ
                                                                   ความเขมเสียงสูงกวามาตรฐานเปน
                                                                   เวลานาน อาจกอใหเกิดอันตรายตอ
                                                                   การไดยินและสภาพจิตใจได การ
                                                                   ปองกันโดยการหลีกเลี่ยงหรือใช
                                                                   เครื่องครอบหูหรือลดการสั่งของ
                                                                   แหลงกําเนิดเสียง เชน เครื่องจักร
หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ตอ)
    กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
    ชื่อวิชา ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics)                                 เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
    รหัสวิชา ว30101 (Sci.30101)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
    --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                      มาตรฐานการ
                                                                                                                      เวลา น้ําหนัก
ที่           ชื่อหนวยการเรียนรู                  เรียนรู / ตัวชี้วด/ั              สาระสําคัญ
                                                                                                                   (ชั่วโมง) คะแนน
                                                     ผลการเรียนรูที่  
6 คลืนแม่ เหล็กไฟฟา
         ่                ้                           ว 5.1 ม.4-6/4 - คลื่นแมเหล็กไฟฟาประกอบดวย                      8      12
     - คลื่นแมเหล็กไฟฟา                                                  สนามแมเหล็กและสนามไฟฟาที่
                                                                           เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
     - สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา
                                                                           - สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟามี
     - การใชประโยชน
                                                                   ความถี่ตอเนื่องกัน โดยคลื่น
                                                                   แมเหล็กไฟฟาชวงความถี่ตาง ๆ มี
                                                                   ลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งสามารถ
                                                                   นําไปใชประโยชนไดแตกตางกัน
                                                                   เชน การรับสงวิทยุ โทรทัศน การ
                                                                   ปองกันอันตรายจากคลื่น
                                                                   แมเหล็กไฟฟา เชนไมอยูใกลเตา
                                                                   ไมโครเวฟขณะเตาทํางาน
7 ปฏิกริยานิวเคลียร์
        ิ                                          ว 5.1 ม.4-6/5-9 - ปฏิกิริยานิวเคลียรเปนปฏิกิริยาที่         8          13
  - ปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชัน                                      ทําใหนิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลง
                                                                   ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของธาตุที่มีเลข
  - ปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชัน
                                                                   มวลมากแตกตัว เรียกวา ฟชชัน
  - กัมมันตภาพรังสี
                                                                   ปฏิกิริยาที่เกิดจากการหลอมรวม
  - การใชประโยชน                                                 นิวเคลียสของธาตุที่มีเลขมวลนอย
                                                                   เรียกวา ฟวชัน ความสัมพันธ
                                                                   ระหวางมวลและพลังงานเปนไป
                                                                   ตามสมการ E = mc2
                                                                   - ปฏิกิริยานิวเคลียรทําใหเกิดผล
                                                                   กระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
                                                                   โรงไฟฟานิวเคลียรเปนโรงไฟฟา
                                                                   พลังงานความรอนประเภทหนึ่งซึ่ง
                                                                   ไดพลังงานความรอนจากพลังงาน
                                                                   นิวเคลียร
หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ตอ)
    กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
    ชื่อวิชา ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics)                                 เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
    รหัสวิชา ว30101 (Sci.30101)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
    --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                      มาตรฐานการ
                                                                                                                      เวลา น้ําหนัก
ที่           ชื่อหนวยการเรียนรู                  เรียนรู / ตัวชี้วด/ั              สาระสําคัญ
                                                                                                                   (ชั่วโมง) คะแนน
                                                     ผลการเรียนรูที่  
                                                                       - รังสีจากธาตุกัมมันตรังสีมี 3 ชนิด
                                                                       คือแอลฟา บีตาและแกมมา ซึ่งมี
                                                                       อํานาจทะลุผานตางกัน
                                                                       -กัมมันตภาพรังสีเกิดจากการสลาย
                                                                       ของไอโซโทปของธาตุที่ไมเสถียร
                                                                       สามารถตรวจจับไดโดยเครื่อง
                                                                       ตรวจวัดรังสีในธรรมชาติมีรังสีแต
                                                                       สวนใหญอยูในระดับต่ํามาก
                                                                       -รังสีมีประโยชนในดาน
                                                                       อุตสาหกรรมการเกษตร การแพทย
                                                                       โบราณคดี รังสีในระดับสูงมี
                                                                       อันตรายตอสิ่งมีชีวิต
หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม
      กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
      ชื่อวิชา ฟสิกส 1 (Physics I)                                          เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
      รหัสวิชา ว30201 (Sci.30201)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
      --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                    มาตรฐานการเรียนรู /                                                  เวลา      น้ําหนัก
ที่               ชื่อหนวยการเรียนรู                                                       สาระสําคัญ
                                                    ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่                                          (ชั่วโมง)   คะแนน
1     หน่ วย และปริมาณทางฟิ สิ กส์                      ว8.1 ม4-6/1              - ปริมาณทางฟสิกสเปนปริมาณทาง          10          10
      -                                                 ว8.1 ม4-6/4              กายภาพแบงเปนปริมาณฐานและ
                                                                                 ปริมาณอนุพัทธ ในการวัดปริมาณ
                                                        ว8.1 ม4-6/8
                                                                                 ดังกลาวใหใชหนวยระหวาง
                                                        ว8.1 ม4-6/9
                                                                                 ประเทศ(ระบบเอสไอ)
                                                                                 - ในการวัดปริมาณตาง ๆตอง
                                                                                 คํานึงถึงหลักการของเลขนัยสําคัญ
                                                                                 ความคลาดเคลื่อนในการวัด และ
                                                                                 นําเสนอผลการทดลองในรูปแบบ
                                                                                 กราฟโดยใชทักษะในการรายงาน
                                                                                 ผลการทดลอง
                                                                                 - ปริมาณสเกลารสามารถบวกลบได
                                                                                 ตามหลักพีชคณิตแตปริมาณ
                                                                                 เวกเตอรตองบวกลบตามหลักการ
                                                                                 ของเวกเตอร ซึ่งสามารถหาไดจาก
                                                                                 การเขียนรูปและการคํานวณ
                                                                                 -
2 แรง                                                   ว4.1 ม4-6/1              - แรงดึงดูดระหวางมวลของวัตถุ            15          20
                                                                                 ทั้งหลายในเอกภพ ซึ่งเรียกวา แรง
                                                                                 โนมถวงโดยขนาดของแรงดึงดูดนี้
                                                                                 จะขึ้นอยูกับขนาดของมวลทั้งสอง
                                                                                 และระยะหางระหวางมวลคูนั้น
                                                                                 - การทดลองเกี่ยวกับแรงเสียดทาน
                                                                                 ซึ่งขึ้นอยูกับสัมประสิทธิ์ความเสียด
                                                                                 ทานและแรงที่พ้ืนกระทําตอวัตถุ
หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม (ตอ)
      กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
      ชื่อวิชา ฟสิกส 1 (Physics I)                                          เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
      รหัสวิชา ว30201 (Sci.30201)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
      --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                    มาตรฐานการเรียนรู /                                                   เวลา      น้ําหนัก
ที่               ชื่อหนวยการเรียนรู                                                        สาระสําคัญ
                                                    ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่                                           (ชั่วโมง)   คะแนน
3 การเคลือนที่ 1 มิติ
         ่                                              ว4.2 ม4-6/1              - การทดลองและวิเคราะหเกี่ยวกับ           15          20
                                                                                 การเคลื่อนที่ใน 1 มิติที่มีความเรงคง
                                                                                 ตัวซึ่งอธิบายดวยสมการอยางงาย
                                                                                 - การสํารวจตรวจสอบเกี่ยวกับ
                                                                                 สภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุและผล
                                                                                 ของแรงที่กระทําตอวัตถุที่มีความ
                                                                                 เกี่ยวของกับศูนยกลางมวลโดย
                                                                                 ศูนยกลางมวลและศูนยถวงจะอยูที่
                                                                                 เดียวกันในสนามโนมถวงสม่ําเสมอ
                                                                                 เทานั้น
                                                                                 - การทดลองและอธิบายเกี่ยวกับกฎ
                                                                                 การเคลื่อนที่ของนิวตัน พรอม
                                                                                 ประยุกตนําความรูไปอธิบายการ
                                                                                 เคลื่อนที่ของวัตถุในชีวิตประจําวัน

4 งาน พลังงาน                                                ว 5.1               - งานมีคาขึ้นกับแรง การกระจัดและ         20          25
                                                                                 มุมระหวางแรงกับการกระจัด โดย
                                                                                 งานคือการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ซึ่ง
                                                                                 พลังงานนี้มทั้งพลังงานศักย
                                                                                              ี
                                                                                 โนมถวง พลังงานศักยยืดหยุน
                                                                                 พลังงานจลน
                                                                                 - ในสนามอนุรักษ เชนสนามโนม
                                                                                 ถวง ผลรวมของพลังงานจลนและ
                                                                                 พลังงานศักยของวัตถุมีคาคงตัว
                                                                                 เปนไปตามกฎการอนุรักษพลังงาน
                                                                                 กลและขยายไปถึงกฎการอนุรักษ
                                                                                 พลังงานทั่วไปรวมถึงพลังงานรูป
                                                                                 อื่น
หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม (ตอ)
      กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
      ชื่อวิชา ฟสิกส 1 (Physics I)                                          เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
      รหัสวิชา ว30201 (Sci.30201)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
      --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                    มาตรฐานการเรียนรู /                                                 เวลา      น้ําหนัก
ที่               ชื่อหนวยการเรียนรู                                                       สาระสําคัญ
                                                    ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่                                         (ชั่วโมง)   คะแนน
5 การชน โมเมนตัม                                             ว 5.1               - โมเมนตัมมีความสัมพันธกับมวล          20          25
  - โมเมนตัม                                                                     และความเร็วดังนี้
                                                                                 โมเมนตัม = มวล x ความเร็ว
  - กฏการอนุรกษโมเมนตัม
             ั
                                                                                 -ในการชนหรือการระเบิด ผลรวม
  - การชนแบบยืดหยุน                                                             ของโมเมนตัมกอนชนหรือกอน
  - การชนแบบไมยืดหยุน
                                                                                ระเบิดจะเทากับผลรวมของ
                                                                                 โมเมนตัมหลังชนหรือหลังระเบิด
                                                                                 ซึ่งเปนไปตามกฎการอนุรักษ
                                                                                 โมเมนตัม
                                                                                 -ในการชนแบบยืดหยุน พลังงาน
                                                                                 รวมของระบบมีคาคงที่ สวนกรณีที่
                                                                                 พลังงานรวมมีคาไมคงที่เรียกวา การ
                                                                                 ชนแบบไมยืดหยุน
หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม
      กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1
      ชื่อวิชา ฟสิกส 2 (Physics II)                                         เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
      รหัสวิชา ว30202 (Sci.30202)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
      --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                    มาตรฐานการเรียนรู /                                                  เวลา      น้ําหนัก
ที่               ชื่อหนวยการเรียนรู                                                       สาระสําคัญ
                                                    ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่                                          (ชั่วโมง)   คะแนน
1  สมดุล                                                     ว 4.2               - สมดุลของวัตถุจะเกิดขึ้นเมื่อ           12          15
   - สมดุลตอการเคลื่อนที่                                                       ผลรวมของแรงลัพธเปนศูนยและ
                                                                                 ผลรวมของทอรกเปนศูนย
   - สมดุลตอการหมุน
2 การเคลือนทีแบบหมุน
         ่ ่                                                 ว 4.2               - การเคลื่อนที่แบบหมุนซึ่งมี             20          20
                                                                                 ความเรงเชิงมุม ขื้นอยูกับทอรกและ
                                                                                 โมเมนตความเฉื่อย ในกรณีไมมี
                                                                                 ทอรกกระทํา โมเมนตัมเชิงมุมจะคง
                                                                                 ตัว พลังงานจลนของการหมุนขึ้นอยู
                                                                                 กับโมเมนตความเฉื่อยและความเร็ว
                                                                                 เชิงมุม
3 การเคลือนทีแบบต่ างๆ
          ่ ่                                          ว 4.2 ม.4-6/2             - การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลเปน         20          25
   - การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล                        ว 4.2 ม.4-6/3             การเคลื่อนที่วิถีโคงที่มีความเรงใน
                                                                                 แนวราบคงตัวและความเรงใน
  - การเคลื่อนทีแบบวงกลม
                ่
                                                                                 แนวดิ่งคงตัว
  - การเคลื่อนทีแบบฮารมอนิกอยางงาย
                  ่                                                              - การเคลื่อนที่แบบวงกลมเปนการ
                                                                                 เคลื่อนที่ที่มีความเร็วในแนวเสน
                                                                                 สัมผัสและมีแรงในทิศทางเขาสู
                                                                                 ศูนยกลาง
                                                                                 - การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยาง
                                                                                 งายเปนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมา
                                                                                 ซ้ําทางเดิม เชน การแกวงของลูกตุม
                                                                                 อยางงาย
หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม (ตอ)
      กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1
      ชื่อวิชา ฟสิกส 2 (Physics II)                                         เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต
      รหัสวิชา ว30202 (Sci.30202)                                             4 ชั่วโมง/สัปดาห
      --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                    มาตรฐานการเรียนรู /                                                 เวลา      น้ําหนัก
ที่               ชื่อหนวยการเรียนรู                                                       สาระสําคัญ
                                                    ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่                                         (ชั่วโมง)   คะแนน
4 คลืน
     ่                                                 ว 5.1 ม.4-6/1             - คลื่นเกิดจากการถายโอนพลังงาน         16          20
                                                                                 กลผานตัวกลางโดยถาตัวกลางมีการ
                                                                                 เคลื่อนที่ขนานกับทิศทางการ
                                                                                 เคลื่อนที่ของคลื่น เรียกวา คลื่น
                                                                                 ตามยาว แตถาตัวกลางมีการเคลื่อน
                                                                                 ที่ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของ
                                                                                 คลื่น เรียกวา คลื่นตามขวาง ซึ่ง
                                                                                 อัตราเร็วของคลื่นขึ้นอยูกับความ
                                                                                 ยาวคลื่นและความถี่
                                                                                 - สมบัติของคลื่น ไดแก การสะทอน
                                                                                 การหักเห การแทรกสอดและการ
                                                                                 เลี้ยวเบน
                                                                                 - คลื่นนิ่งเกิดจากการแทรกสอดของ
                                                                                 คลื่นสองขบวนที่มีความยาวคลื่น
                                                                                 เทากัน แอมพลิจูดเทากัน เคลื่อนที่
                                                                                 สวนทางกัน
5 เสี ยงและการได้ ยน
                   ิ                                   ว 5.1 ม.4-6/2             -คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ       12          20
                                                       ว 5.1 ม.4-6/3             ทําใหอนุภาคของตัวกลางที่สัมผัส
                                                                                 กับวัตถุนั้นมีการสั่นและถายโอน
                                                                                 พลังงานของการสั่นใหอนุภาคของ
                                                                                 ตัวกลางที่อยูกันอยางตอเนื่อง
                                                                                 -สมบัติของคลื่นเสียง ไดแก การ
                                                                                 สะทอน หักเห แทรกสอดและ
                                                                                 เลี้ยวเบน
                                                                                 - เสียงสะทอนกลับเปน
                                                                                 ปรากฎการณที่หูผูฟงไดยินเสียงจาก
                                                                                 แหลงกําเนิดและเสียงนั้นสะทอน
                                                                                 กลับมายังผูฟงในเวลาที่ตางกันมาก
                                                                                 พอที่หูผูฟงแยกได
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53

More Related Content

What's hot

แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่เกษรา จุ้งลก
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03jirupi
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05jirupi
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงานWijitta DevilTeacher
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01jirupi
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01krukrajeab
 
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.krupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 

Similar to Physics Curriculum 53

โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาparinya poungchan
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54vittaya411
 
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55ไชยยา มะณี
 
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)chuvub
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานKobwit Piriyawat
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานKobwit Piriyawat
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมkrupawit
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาPrae Samart
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
แนะนำรายวิชา 04-103
แนะนำรายวิชา 04-103แนะนำรายวิชา 04-103
แนะนำรายวิชา 04-103Naret Su
 

Similar to Physics Curriculum 53 (20)

มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
 
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
 
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
 
2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
แนะนำรายวิชา 04-103
แนะนำรายวิชา 04-103แนะนำรายวิชา 04-103
แนะนำรายวิชา 04-103
 
13038713421595
1303871342159513038713421595
13038713421595
 

More from Taweesak Poochai

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63Taweesak Poochai
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกTaweesak Poochai
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดTaweesak Poochai
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑Taweesak Poochai
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพTaweesak Poochai
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายTaweesak Poochai
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีTaweesak Poochai
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์Taweesak Poochai
 

More from Taweesak Poochai (20)

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
 
nano safety short
nano safety shortnano safety short
nano safety short
 
Nano safety-e-book
Nano safety-e-bookNano safety-e-book
Nano safety-e-book
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
 
Sound
SoundSound
Sound
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
Nuclear
NuclearNuclear
Nuclear
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
JfePresent
JfePresentJfePresent
JfePresent
 
JFEs
JFEsJFEs
JFEs
 
GYI3rpt1
GYI3rpt1GYI3rpt1
GYI3rpt1
 

Physics Curriculum 53

  • 1. โครงสรางรายวิชาฟสิกสพนฐานและเพิ่มเติม ื้ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับมัธยมศึกษาปที่ 4-6 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุราชประสิทธิ์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง ครังที่ 1 พ.ศ. 2553) ้ *************************** รายวิชาฟสิกสพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวน จํานวน ระดับชั้น ภาคเรียน หมาย ชั่วโมง หนวยกิต ที่เรียน ที่ เหตุ สายวิทย ว30101 ฟสิกสพื้นฐาน 80 2.0 ม.4 1 และศิลป รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวน จํานวน ระดับชั้น ภาคเรียน หมาย ชั่วโมง หนวยกิต ที่เรียน ที่ เหตุ ว30201 ฟสิกส 1 80 2.0 ม.4 2 สายวิทย ว30202 ฟสิกส 2 80 2.0 ม.5 1 สายวิทย ว30203 ฟสิกส 3 80 2.0 ม.5 2 สายวิทย ว30204 ฟสิกส 4 80 2.0 ม.6 1 สายวิทย ว30205 ฟสิกส 5 80 2.0 ม.6 2 สายวิทย
  • 2. คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ชื่อวิชา ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30101 (Sci.30101) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะหความสัมพันธระหวางระยะทาง การกระจัด เวลา อัตราเร็ว อัตราเรง การเคลื่อนที่แนวตรง โพรเจกไทล แบบวงกลม และแบบฮารมอนิกอยางงาย การเคลื่อนที่ของวัตถุใน สนามโนมถวง การเคลื่อนที่ ของอนุภ าคที่มีประจุไฟฟาในสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก การใช ประโยชนจากการเคลื่อนที่แบบตาง ๆ แรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคในนิวเคลียส คลื่นกล เสียงและ สมบัติของเสียง เสียงและการไดยิน สเปกตรัมของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ปฏิกิริยานิวเคลียร กัมมันตรังสี ไอโซโทปและการใชประโยชนในทางสรางสรรครวมถึงผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม โดยใช กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล อภิปรายและการทดลองเพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเข า ใจ สามารถสื่ อ สารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู มี ค วามสามารถในการตั ด สิ น ใจ นํ า ความรู ไ ปใช ใ น ชีวตประจําวัน มีจตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมที่เหมาะสม ิ ิ ตัวชี้วัด ว4.1 ม4-6/1, ว4.1 ม4-6/2, ว4.1 ม4-6/3, ว4.1 ม4-6/4 ว4.2 ม4-6/1, ว4.2 ม4-6/2, ว4.2 ม4-6/3 ว5.1 ม4-6/1, ว5.1 ม4-6/2, ว5.1 ม4-6/3, ว5.1 ม4-6/4, ว5.1 ม4-6/5 ,ว5.1 ม4-6/6, ว5.1 ม4-6/7 , ว5.1 ม4-6/1-8,ว5.1 ม4-6/9, รวม 16 ตัวชี้วัด
  • 3. คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ชื่อวิชา ฟสิกส 1 (Physics I ) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30201 (Sci.30201) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึ ก ษา วิ เ คราะห ค วามหมายปริ ม าณทางฟ สิ ก ส หน ว ย การวั ด ปริ ม าณต า ง ๆเลขนั ย สํ า คั ญ ความคลาดเคลื่อนในการวัด การเขียนกราฟ รวมทั้งทักษะในการรายงานการทดลอง ปริมาณเวกเตอร และสเกลาร การหาเวกเตอรลัพธ ทดลองและสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ใน 1 มิติ การใชกฎการเคลื่อนที่ แนวตรง แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรงดึงดูดระหวางมวล แรงเสียดทาน ความสัมพันธ ระหวางงานและพลังงาน พลังงานจลนและพลังงานศักย กฎการอนุรักษพลังงาน ความหมายของ โมเมนตัม ความสัมพันธระหวางโมเมนตัมกับมวลและความเร็ว การชน การระเบิด กฎการอนุรักษ โมเมนตัม การชนแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล อภิ ป รายและการทดลองเพื่ อ ให เ กิ ด ความรู ความคิ ด ความเข า ใจ สามารถสื่ อ สารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู มี ความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม
  • 4. ผลการเรียนรู 1. อธิบายความหมายของปริมาณทางฟสิกส ปริมาณฐาน ปริมาณอนุพัทธและการวัดปริมาณดังกลาว ใหใชหนวยระหวางประเทศ(ระบบเอสไอ) 2. ทดลองและอธิ บ ายเกี่ ย วกั บ การวั ด ปริ ม าณต า งๆ ที่ ต อ งพิ จ ารณาความคลาดเคลื่ อ นในการวั ด นําเสนอผลการเขียนกราฟ รวมทั้งมีทักษะในการรายงานผลการทดลอง 3. อธิบายความหมายของปริมาณสเกลาร ปริมาณเวกเตอร วิธีการบวกปริมาณในแตละประเภท การ หาเวกเตอรลัพธโดยการเขียนรูปและการคํานวณ 4. ทดลองและวิเคราะหเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ใน 1 มิติ ที่มีความเรงคงตัว และอธิบายดวยสมการอยาง งาย 5. คํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของโดยใชสมการการเคลื่อนที่แนวตรง 6. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับกฎ การเคลื่อนที่ของนิวตัน พรอมประยุ กตนําความรูไ ป อธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุในชีวิตประจําวัน 7. สืบคนขอมูลและอธิบายแรงดึงดูดระหวางมวลของวัตถุทั้งหลายในเอกภพ 8. วิ เ คราะห ส ภาพการเคลื่ อ นที่ ข องวั ต ถุ แ ละผลของแรงที่ ก ระทํ า ต อ วั ต ถุ ที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ งกั บ ศูนยกลางมวลและศูนยถวงของวัตถุ 9. ทดลองและเขียนกราฟความสัมพันธของแรงเสียดทานกับสัมประสิทธิ์ความเสียดทานและแรงที่ พื้นกระทําตอวัตถุ 10. ทดลอง วิเคราะหและคํานวณหาคางานที่เกิดขึ้นจากแรงที่กระทําตอวัตถุ พลังงานจลน พลังงานศักย โนมถวงและพลังงานศักยยืดหยุน 11. ทดลองและสรุปไดวาผลรวมของพลังงานจลนและพลังงานศักยของวัตถุในสนามโนมถวงมีคาคง ตัวและขยายไปถึงกฎการอนุรักษพลังงานทั่วไป ซึ่งรวมถึงพลังงานรูปอื่น 12. อธิบายความหมายของโมเมนตัม แสดงความสัมพันธระหวางโมเมนตัมกับมวลและความเร็ว 13. ศึกษาวิเคราะหและอภิปรายเกี่ยวกับกฎการอนุรักษโมเมนตัม การชนแบบยืดหยุนและไมยดหยุน ื รวม 13 ผลการเรียนรู
  • 5. คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ชื่อวิชา ฟสิกส 2 (Physics II ) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30202 (Sci.30202) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะหความหมายของสมดุลของวัตถุ การเคลื่อนที่แบบหมุน โมเมนตความเฉื่อย โม เมนตัมเชิงมุม ทอรก พลังงานจลนของการหมุน การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล การเคลื่อนที่แบบ วงกลม การเคลื่ อ นที่ แ บบฮาร ม อนิ ก อย า งง า ย คลื่ น และสมบั ติ ข องคลื่ น การเกิ ด บี ต ส คลื่ น นิ่ ง คลื่ น เสีย ง การสั่ น พ อ ง ความเข ม เสี ย ง ระดั บ ความเข ม เสีย ง คุ ณ ภาพเสี ย ง ปรากฏการ ด อปเปลอร คลื่นกระแทก โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล อภิปรายและการทดลองเพื่อให เกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู ไปใชในชีวตประจําวัน มีจตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมที่เหมาะสม ิ ิ
  • 6. ผลการเรียนรู 1. สํารวจและอธิ บายเกี่ยวกั บสมดุลของวั ตถุ ทั้งสมดุลตอการเคลื่อนที่ สมดุลตอการหมุน สมดุล สัมบูรณ การเกิดโมเมนตของแรงและหลักการใชสมดุลเพื่อแกปญหา 2. ทดลองวิเคราะหและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบหมุน การกระจัดเชิงมุม ความเร็วเชิงมุม ความเรง เชิ งมุม โมเมนต ค วามเฉื่ อย ทอรก โมเมนตั มเชิงมุม กฎการอนุ รัก ษโมเมนตัมเชิงมุ ม พลังงานจลนของการหมุน 3. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบโพรเจกไทลในสนามโนมถวง พรอมทั้งคํานวณหาปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 4. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบวงกลม แรงสูศูนยกลาง อัตราเร็วเชิงมุม พรอมทั้งคํานวณหาปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 5. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายพรอมทั้งคํานวณหา ปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 6. สํารวจ ตรวจสอบและอภิปรายเกี่ยวกับคลื่นกล คลื่นตามยาว และคลื่นตามขวาง 7. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับสมบัติของคลื่น ไดแก การสะทอน การหักเห การแทรกสอดและการ เลี้ยวเบน 8. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการเกิดคลื่นนิ่ง 9. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับคลื่นเสียง สมบัติของคลื่นเสียง พรอมทั้งคํานวณหาปริมาณตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ 10. อธิบายเกี่ยวกับเสียงสะทอนกลับ 11. อธิบายการเกิดบีตสของเสียง พรอมทั้งคํานวณเกี่ยวกับการเกิดบีตสของเสียงได 12. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณ ดอปเปลอรพรอมทั้งคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของ 13. อธิบายและคํานวณเกี่ยวกับคลื่นกระแทก 14. สืบคนขอมูลและอธิบายเกี่ยวกับความเขมเสียงและระดับความเขมเสียงพรอมทั้งคํานวณหาคาที่ เกี่ยวของ 15. อธิบายเกี่ยวกับคุณภาพเสียงซึ่งขึ้นกับโอเวอรโทนที่ตางกัน 16. สืบคนขอมูลและอธิบายเกี่ยวกับการไดยินเสียงของมนุษย อัลตราโซนิก อินฟราโซนิก รวม 16 ผลการเรียนรู
  • 7. คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ชื่อวิชา ฟสิกส 3 (Physics III ) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30203 (Sci.30203) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึ ก ษา วิ เ คราะห แสงและสมบั ติ ข องแสง ทั ศ นอุ ป กรณ การกระจายแสง ความสว า ง ความเขม สี ตาและการมองเห็น โพลาไรซของแสง กฎของบอยล ชารล และเกย-ลุสแซก กฎของแกส ทฤษฎีจลนของแกส การถายโอนพลังงานความรอน กฎของอุณหพลศาสตร สมดุลความรอน สภาพ ยืดหยุน ความเคน ความเครียด มอดูลัสของความยืดหยุน สมบัติของของไหล ความหนาแนน ความตึง ผิว ความหนื ด หลั กของอาร คีมีดี ส กฎของปาสคาล สมการของแบรนูลลี โดยใชกระบวนการสืบ เสาะหาความรู การสืบค นข อมูล อภิ ปรายและการทดลองเพื่อ ใหเ กิดความรู ความคิด ความเข า ใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิต วิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมที่เหมาะสม
  • 8. ผลการเรียนรู 1. ทดลอง อธิบายและคํานวณเกี่ยวกับการสะทอนของแสง 2. ทดลองวิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับการหักเหของแสง 3. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการหักเหของแสงซึ่งนําไปหาตําแหนงและขนาดของภาพที่เกิดจาก เลนสโดยการเขียนภาพและคํานวณ 4. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติการแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของแสง 5. ทดลอง อธิบายเกี่ยวกับแสงโพลาไรซและแสงไมโพลาไรซ 6. สืบคนขอมูล วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับความเขมแสง การกระจายแสง ความสวางและการ มองเห็นของมนุษย 7. สํารวจ ตรวจสอบเกี่ยวกับพลังงานความรอนและอุณหภูมิ ความจุความรอนจําเพาะ ความจุ ความรอนแฝงจําเพาะและผลของความรอนที่ทําใหสารเปลี่ยนอุณหภูมิหรือเปลี่ยนสถานะหรือ ขยายตัว 8. สํารวจ ตรวจสอบและอภิปรายทฤษฎีจลนของแกส ซึ่งทําใหเขาใจสมบัติของแกส การเปลี่ยน สถานะของสารและการถายโอนความรอน 9. ทดลองเกี่ยวกับการถายโอนความรอนและสมดุลความรอน 10. สํารวจตรวจสอบและอภิปรายเกี่ยวกับกฎของบอยล ชารล เกย-ลุสแซก และกฎของแกสพรอม ทั้งคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของ 11. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับกฎขอที่ 1 ของอุณหพลศาสตร 12. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับเครื่องยนตความรอน หลักการของตูเย็น เครื่องปรับอากาศ 13. ทดลองและสํารวจตรวจสอบสภาพยืดหยุนของของแข็ง ความเคนและความเครียดของวัตถุ คา มอดูลสของความยืดหยุน พรอมทั้งคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของ ั 14. ศึ ก ษาสํ า รวจตรวจสอบและอภิ ป รายสมบั ติ ทั่ ว ไปของของไหล ได แ ก ความหนาแน น ความดัน ความตึงผิว ความหนืด แรงพยุงของของเหลวที่มีตอการจมการลอยของวัตถุ หลักการ ของอารคีมีดีส กฎของปาสคาล กฎของสโตก เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในของเหลวที่มี ความหนืด 15. สํารวจตรวจสอบและอภิปรายสมการของแบรนูลลี รวม 15 ผลการเรียนรู
  • 9. คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ชื่อวิชา ฟสิกส 4 (Physics IV ) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30204 (Sci.30204) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา ทดลอง วิเคราะหแรงกระทําระหวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟา กฎของคูลอมบ สนามไฟฟา ศักยไฟฟา ความตางศักยไฟฟา ความจุไฟฟา ตัวเก็บประจุ การตอตัวเก็บประจุแบบอนุกรมและขนาน แหลงกําเนิดไฟฟา กระแสไฟฟา แรงเคลื่อนไฟฟา สภาพตานทานไฟฟา กฎของโอหม กฎของเคอร ชอฟ กําลังไฟฟา สนามแมเหล็กและไฟฟาแมเหล็ก แรงกระทําตอประจุในสนามแมเหล็ก โมเมนตของ แรงคูควบ แรงลอเรนซ มอเตอรกระแสตรง แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา กฎของฟาราเดย กฎของเลนซ หมอแปลงไฟฟ า ไฟฟากระแสสลับ ความตางศั ก ย ไ ฟฟา กระแสสลั บ คายั งผล การตอวงจรไฟฟา กระแสสลับ วงจรRLC วงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคน ขอมูล อภิปรายและการทดลองเพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มี ความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม
  • 10. ผลการเรียนรู 1. อธิบายแรงกระทําระหวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟา 2. วิเคราะหและอธิบายศักยไฟฟาของประจุที่อยูในสนามไฟฟา 3. วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับความตางศักยไฟฟาระหวางสองตําแหนง 4. สํารวจตรวจสอบวิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับสนามไฟฟานอกตัวนําทรงกลมและภายในทรง กลมกลวงหรือตัน หรือสนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุ 5. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับศักยไฟฟาภายในทรงกลมตัวนํา 6. อธิบายเกี่ยวกับตัวเก็บประจุ ความจุไฟฟา การตอตัวเก็บประจุแบบอนุกรมและแบบขนาน 7. สํารวจตรวจสอบและอธิบายเกี่ยวกับสนามไฟฟาและการเหนี่ยวนําไฟฟาซึ่งนําไปอธิบายการ ทํางานของอุปกรณตางๆ 8. อธิบายการเกิดกระแสไฟฟาในตัวกลาง วิเคราะหหาสมการของกระแสไฟฟาในลวดตัวนํา โลหะ 9. อธิบายแรงเคลื่อนไฟฟา พลังงานไฟฟาที่ประจุไฟฟาไดรับและใชในวงจรไฟฟา 10. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับสภาพตานทานไฟฟา กฎของโอหมและกฎของเคอรชอฟ 11. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับวงจรวีทสโตนบริดจ 12. สํารวจ ตรวจสอบและวิเคราะหเกี่ยวกับแรงกระทําตออนุภาคที่มีประจุไฟฟาเคลื่อนที่เขาไปใน สนามแมเหล็กและแรงกระทําตอลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟาไหลผานและอยูในสนามแมเหล็ก 13. ทดลองและอภิปรายเกี่ยวกับโมเมนตของแรง คูควบที่กระทําตอขดลวดที่มีกระแสไฟฟาไหล ผานและวางอยูในสนามแมเหล็ก และการนําหลักการนี้ไปสรางมอเตอร 14. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา กฎของฟาราเดย กฎของเลนซ 15. ทดลองและวิเคราะหเกี่ยวกับหลักการทํางานของหมอแปลงไฟฟา 16. วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับไฟฟากระแสสลับและทฤษฎีของแมกซเวลล 17. ทดลองวิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับไฟฟากระแสสลับเบื้องตนที่ประกอบดวยตัวตานทาน ขดลวดเหนี่ยวนํา ตัวเก็บประจุ 18. สืบคน ทดลองและวิเคราะหวงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนเกี่ยวกับตรรกะ การควบคุม การขยาย สัญญาณ การกําเนิดสัญญาณ ซึ่งใชออกแบบสรางวงจรเพื่อนําไปใชงานและหลักการเบื้องตน ของอิเล็กทรอนิกสในคอมพิวเตอร รวม 18 ผลการเรียนรู
  • 11. คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ชื่อวิชา ฟสิกส 5 (Physics V ) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30205 (Sci.30205) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึ ก ษา ทดลอง วิ เ คราะห ก ารเกิ ด คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า องค ป ระกอบและสมบั ติ ข องคลื่ น แมเหล็กไฟฟา แบบจําลองอะตอม โครงสรางอะตอม การวัดประจุไฟฟาและมวล ปรากฏการณโฟโตอิ เลกตริก ปรากฏการณคอมปตัน การแผรังสีของวัตถุดํา การเกิดรังสีเอกซ หลักการทวิภาพของคลื่นและ อนุภาค ทฤษฎีอะตอมของบอร เลเซอร กลศาสตรควอนตัมเบื้องตน การคนพบธาตุกัมมันรังสี การ สลายของนิวเคลียส ไอโซโทป มวลพรอง พลังงานยึดเหนี่ยว ปฏิกิริยานิวเคลียรและพลังงานนิวเคลียร ประโยชนและอันตรายของกัมมันตภาพรังสี โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล อภิ ป รายและการทดลองเพื่ อ ให เ กิ ด ความรู ความคิ ด ความเข า ใจ สามารถสื่ อ สารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู มี ความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม
  • 12. ผลการเรียนรู 1. สํารวจตรวจสอบอภิปรายเกี่ยวกับการเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟา 2. อธิบายเกี่ยวกับองคประกอบของคลื่นแมเหล็กไฟฟา 3. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติของคลื่นแมเหล็กไฟฟา 4. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับประโยชนและอันตรายของคลื่นแมเหล็กไฟฟา 5. สืบคนขอมูลและอธิบายเกี่ยวกับองคประกอบของสสาร การคนพบอิเล็กตรอน แบบจําลอง อะตอม โครงสรางอะตอม การวัดประจุและมวลของอิเลกตรอนจากการทดลองของทอมสัน และมิลลิแกน 6. ทดลอง วิเคราะหและอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณโฟโตอิเลกตริก 7. สืบคนขอมูลและอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณคอมปตัน 8. อธิบายเกี่ยวกับการเกิดรังสีเอกซ 9. อภิปรายเกี่ยวกับทวิภาคของคลื่นและอนุภาค 10. สํารวจตรวจสอบและอภิปรายเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมของไฮโดรเจนตามแนวคิดของบอร 11. สํารวจตรวจสอบและวิเคราะหเกี่ยวกับการชนระหวางอิเลกตรอนกับอะตอมของ ไอปรอท และสเปกตรัมของแกสรอน 12. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับโครงสรางอะตอมตามทฤษฎีกลศาสตรควอนตัม 13. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี การคนพบสมบัติตาง ๆ การเปลี่ยนสภาพ ของนิวเคลียส และการสลายตัวของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี 14. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับมวลพรอง 15. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร ซึ่งเปนกระบวนการที่นิวเคลียสเกิดการ เปลี่ยนแปลง องคประกอบหรือระดับพลังงาน เชน การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี ปฏิกิริยา ฟชชัน และฟวชัน 16. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียรที่ใชผลิตไอโซโทปกัมมันตรังสี และ พลังงานนิวเคลียส ซึ่งสามารถเรียนรูการนําปฏิกิริยานิวเคลียรมาใชประโยชนในสังคมปจจุบัน อยางกวางขวาง 17. สืบคนขอมูลและอธิบายเกี่ยวกับประโยชนและโทษของกัมมันตรังสีและการปองกัน รวม 17 ผลการเรียนรู
  • 13. หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ชื่อวิชา ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30101 (Sci.30101) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการ เวลา น้ําหนัก ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู เรียนรู / สาระสําคัญ (ชั่วโมง) คะแนน ตัวชี้วัด/ผลการ เรียนรูที่ 1 แรงและการ ว4.1 ม4-6/1 - ในสนามโนมถวงจะมีแรงกระทําตอวัตถุ ทําใหวัตถุมีน้ําหนัก เมื่อ 12 15 เคลือนที่ ่ ปลอยวัตถุ วัตถุจะตกแบบเสรี สนามโนมถวงทําใหวัตถุตาง ๆ ไมหลุด จากโลก เชน การโคจรของดาวเทียมรอบโลกและอาจใชแรงโนมถวง - สนามของแรง ไปใชประโยชนเพื่อหาแนวดิ่งของชางกอสราง - การเคลื่อนทีของ ่ ว4.1 ม4-6/2 - เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟาอยูในสนามไฟฟา จะมีแรงกระทําตอ วัตถุภายใตสนาม อนุภาคนั้นซึ่งอาจทําใหสภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป ของแรง สามารถนําสมบัตินี้ไปประยุกตสรางเครื่องมือบางชนิด เชน เครื่อง กําจัดฝุน ออสซิลโลสโคป ว4.1 ม4-6/3 - เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟาเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็กจะมีแรงกระทํา ตออนุภาคนั้น ซึ่งอาจทําใหสภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป สามารถนําสมบัตินี้ไปประยุกตสรางหลอดภาพโทรทัศน ว4.1 ม4-6/4 - อนุภาคในนิวเคลียส เรียกวา นิวคลีออน นิวคลีออน ประกอบดวย โปรตอนและนิวตรอน นิวคลีออนในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันดวยแรง นิวเคลียร ซึ่งมีคามากกวาแรงผลักทางไฟฟาระหวางนิวคลีออน นิวคลี ออนจึงอยูรวมกันในนิวเคลียสได
  • 14. หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ตอ) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ชื่อวิชา ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30101 (Sci.30101) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู / เวลา น้ําหนัก ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู สาระสําคัญ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่ (ชั่วโมง) คะแนน 2 การเคลือนทีในแนวตรง ่ ่ ว 4.2 ม.4-6 /1 การเคลื่อนที่แนวตรงเปนการ 16 17 - ระยะทาง การกระจัด เคลื่อนที่ในแนวใดแนวหนึ่ง เชน แนวราบหรือแนวดิ่งที่มีการกระจัด - อัตราเร็ว ความเร็ว ความเร็ว ความเรงอยูในแนว - ความเรง เสนตรงเดียวกัน โดยความเรงของ วัตถุหาไดจากความเร็วที่เปลี่ยนไป ในหนึ่งหนวยเวลา 3 การเคลือนทีแบบต่ าง ๆ ่ ่ ว 4.2 ม.4-6 /2 -การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลเปน 16 18 - การเคลื่อนทีแบบโพรเจกไทล ่ การเคลื่อนที่วิถีโคงที่มีความเร็วใน แนวราบคงตัวและความเรงใน - การเคลื่อนทีแบบวงกลม ่ แนวดิ่งคงตัว - การเคลื่อนทีแบบซิมเปลฮารมอนิก ่ -การเคลื่อนที่แบบวงกลมเปนการ อยางงาย เคลื่อนที่ที่มีความเร็วในแนวเสน สัมผัสวงกลมและมีแรงในทิศทาง เขาสูศูนยกลาง -การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยาง งายเปนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมา ซ้ําทางเดิม เชน การแกวงของลูกตุม อยางงาย โดยที่มุมสูงสุดที่เบนจาก แนวดิ่งมีคาคงตัวตลอด ว 4.2 ม.4-6 /3 -การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล สามารถนําไปใชประโยชน เชน การ เลนเทนนิส บาสเกตบอล -การเคลื่อนที่แบบวงกลมสามารถ นําไปใชประโยชน เชน การวิ่งทาง โคงของรถยนตใหปลอดภัย -การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยาง งายสามารถนําไปใชประโยชนใน การสรางนาฬิกาแบบลูกตุม
  • 15. หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ตอ) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ชื่อวิชา ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30101 (Sci.30101) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการ เวลา น้ําหนัก ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู เรียนรู / ตัวชี้วด/ั สาระสําคัญ (ชั่วโมง) คะแนน ผลการเรียนรูที่  4 คลืน ่ ว 5.1 ม.4-6 /1 -คลื่นกลมีสมบัติการสะทอน การ 10 12 - คลื่นกล หักเห การแทรกสอดและการ เลี้ยวเบน - สมบัติของคลื่น -อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่น มีความสัมพันธกันดังนี้ อัตราเร็ว = ความถี่ x ความยาวคลื่น 5 เสี ยงและการได้ ยน ิ ว 5.1 ม.4-6/2-3 -คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของ 10 13 - คลื่นเสียง แหลงกําเนิดเสียง -บีตสของเสียงเกิดจากแหลงกําเนิด - บีตส สองแหลงที่มีความถี่ตางกันเล็กนอย - ความเขมเสียง มารวมกัน ทําใหไดยินเสียงดัง คอย - มลพิษทางเสียง เปนจังหวะ -ความเขมเสียง คือ พลังงานเสียงที่ ตกตั้งฉากบนหนึ่งหนวยพื้นที่ใน หนึ่งหนวยเวลา -ระดับความเขมเสียงจะบอกความ ดังคอยของเสียงที่ไดยิน -เครื่องดนตรีแตละชนิดที่ใชตัวโนต เดียวกัน จะใหรูปคลื่นที่แตกตางกัน เรียกวา มีคุณภาพเสียงตางกัน - มลพิษทางเสียงที่มีผลตอสุขภาพ ของมนุษย ถาฟงเสียงที่มีระดับ ความเขมเสียงสูงกวามาตรฐานเปน เวลานาน อาจกอใหเกิดอันตรายตอ การไดยินและสภาพจิตใจได การ ปองกันโดยการหลีกเลี่ยงหรือใช เครื่องครอบหูหรือลดการสั่งของ แหลงกําเนิดเสียง เชน เครื่องจักร
  • 16. หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ตอ) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ชื่อวิชา ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30101 (Sci.30101) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการ เวลา น้ําหนัก ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู เรียนรู / ตัวชี้วด/ั สาระสําคัญ (ชั่วโมง) คะแนน ผลการเรียนรูที่  6 คลืนแม่ เหล็กไฟฟา ่ ้ ว 5.1 ม.4-6/4 - คลื่นแมเหล็กไฟฟาประกอบดวย 8 12 - คลื่นแมเหล็กไฟฟา สนามแมเหล็กและสนามไฟฟาที่ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา - สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา - สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟามี - การใชประโยชน ความถี่ตอเนื่องกัน โดยคลื่น แมเหล็กไฟฟาชวงความถี่ตาง ๆ มี ลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งสามารถ นําไปใชประโยชนไดแตกตางกัน เชน การรับสงวิทยุ โทรทัศน การ ปองกันอันตรายจากคลื่น แมเหล็กไฟฟา เชนไมอยูใกลเตา ไมโครเวฟขณะเตาทํางาน 7 ปฏิกริยานิวเคลียร์ ิ ว 5.1 ม.4-6/5-9 - ปฏิกิริยานิวเคลียรเปนปฏิกิริยาที่ 8 13 - ปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชัน ทําใหนิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของธาตุที่มีเลข - ปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชัน มวลมากแตกตัว เรียกวา ฟชชัน - กัมมันตภาพรังสี ปฏิกิริยาที่เกิดจากการหลอมรวม - การใชประโยชน นิวเคลียสของธาตุที่มีเลขมวลนอย เรียกวา ฟวชัน ความสัมพันธ ระหวางมวลและพลังงานเปนไป ตามสมการ E = mc2 - ปฏิกิริยานิวเคลียรทําใหเกิดผล กระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม โรงไฟฟานิวเคลียรเปนโรงไฟฟา พลังงานความรอนประเภทหนึ่งซึ่ง ไดพลังงานความรอนจากพลังงาน นิวเคลียร
  • 17. หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ตอ) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ชื่อวิชา ฟสิกสพื้นฐาน (Basic Physics) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30101 (Sci.30101) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการ เวลา น้ําหนัก ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู เรียนรู / ตัวชี้วด/ั สาระสําคัญ (ชั่วโมง) คะแนน ผลการเรียนรูที่  - รังสีจากธาตุกัมมันตรังสีมี 3 ชนิด คือแอลฟา บีตาและแกมมา ซึ่งมี อํานาจทะลุผานตางกัน -กัมมันตภาพรังสีเกิดจากการสลาย ของไอโซโทปของธาตุที่ไมเสถียร สามารถตรวจจับไดโดยเครื่อง ตรวจวัดรังสีในธรรมชาติมีรังสีแต สวนใหญอยูในระดับต่ํามาก -รังสีมีประโยชนในดาน อุตสาหกรรมการเกษตร การแพทย โบราณคดี รังสีในระดับสูงมี อันตรายตอสิ่งมีชีวิต
  • 18. หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ชื่อวิชา ฟสิกส 1 (Physics I) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30201 (Sci.30201) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู / เวลา น้ําหนัก ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู สาระสําคัญ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่ (ชั่วโมง) คะแนน 1 หน่ วย และปริมาณทางฟิ สิ กส์ ว8.1 ม4-6/1 - ปริมาณทางฟสิกสเปนปริมาณทาง 10 10 - ว8.1 ม4-6/4 กายภาพแบงเปนปริมาณฐานและ ปริมาณอนุพัทธ ในการวัดปริมาณ ว8.1 ม4-6/8 ดังกลาวใหใชหนวยระหวาง ว8.1 ม4-6/9 ประเทศ(ระบบเอสไอ) - ในการวัดปริมาณตาง ๆตอง คํานึงถึงหลักการของเลขนัยสําคัญ ความคลาดเคลื่อนในการวัด และ นําเสนอผลการทดลองในรูปแบบ กราฟโดยใชทักษะในการรายงาน ผลการทดลอง - ปริมาณสเกลารสามารถบวกลบได ตามหลักพีชคณิตแตปริมาณ เวกเตอรตองบวกลบตามหลักการ ของเวกเตอร ซึ่งสามารถหาไดจาก การเขียนรูปและการคํานวณ - 2 แรง ว4.1 ม4-6/1 - แรงดึงดูดระหวางมวลของวัตถุ 15 20 ทั้งหลายในเอกภพ ซึ่งเรียกวา แรง โนมถวงโดยขนาดของแรงดึงดูดนี้ จะขึ้นอยูกับขนาดของมวลทั้งสอง และระยะหางระหวางมวลคูนั้น - การทดลองเกี่ยวกับแรงเสียดทาน ซึ่งขึ้นอยูกับสัมประสิทธิ์ความเสียด ทานและแรงที่พ้ืนกระทําตอวัตถุ
  • 19. หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม (ตอ) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ชื่อวิชา ฟสิกส 1 (Physics I) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30201 (Sci.30201) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู / เวลา น้ําหนัก ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู สาระสําคัญ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่ (ชั่วโมง) คะแนน 3 การเคลือนที่ 1 มิติ ่ ว4.2 ม4-6/1 - การทดลองและวิเคราะหเกี่ยวกับ 15 20 การเคลื่อนที่ใน 1 มิติที่มีความเรงคง ตัวซึ่งอธิบายดวยสมการอยางงาย - การสํารวจตรวจสอบเกี่ยวกับ สภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุและผล ของแรงที่กระทําตอวัตถุที่มีความ เกี่ยวของกับศูนยกลางมวลโดย ศูนยกลางมวลและศูนยถวงจะอยูที่ เดียวกันในสนามโนมถวงสม่ําเสมอ เทานั้น - การทดลองและอธิบายเกี่ยวกับกฎ การเคลื่อนที่ของนิวตัน พรอม ประยุกตนําความรูไปอธิบายการ เคลื่อนที่ของวัตถุในชีวิตประจําวัน 4 งาน พลังงาน ว 5.1 - งานมีคาขึ้นกับแรง การกระจัดและ 20 25 มุมระหวางแรงกับการกระจัด โดย งานคือการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ซึ่ง พลังงานนี้มทั้งพลังงานศักย ี โนมถวง พลังงานศักยยืดหยุน พลังงานจลน - ในสนามอนุรักษ เชนสนามโนม ถวง ผลรวมของพลังงานจลนและ พลังงานศักยของวัตถุมีคาคงตัว เปนไปตามกฎการอนุรักษพลังงาน กลและขยายไปถึงกฎการอนุรักษ พลังงานทั่วไปรวมถึงพลังงานรูป อื่น
  • 20. หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม (ตอ) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ชื่อวิชา ฟสิกส 1 (Physics I) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30201 (Sci.30201) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู / เวลา น้ําหนัก ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู สาระสําคัญ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่ (ชั่วโมง) คะแนน 5 การชน โมเมนตัม ว 5.1 - โมเมนตัมมีความสัมพันธกับมวล 20 25 - โมเมนตัม และความเร็วดังนี้ โมเมนตัม = มวล x ความเร็ว - กฏการอนุรกษโมเมนตัม ั -ในการชนหรือการระเบิด ผลรวม - การชนแบบยืดหยุน ของโมเมนตัมกอนชนหรือกอน - การชนแบบไมยืดหยุน  ระเบิดจะเทากับผลรวมของ โมเมนตัมหลังชนหรือหลังระเบิด ซึ่งเปนไปตามกฎการอนุรักษ โมเมนตัม -ในการชนแบบยืดหยุน พลังงาน รวมของระบบมีคาคงที่ สวนกรณีที่ พลังงานรวมมีคาไมคงที่เรียกวา การ ชนแบบไมยืดหยุน
  • 21. หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ชื่อวิชา ฟสิกส 2 (Physics II) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30202 (Sci.30202) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู / เวลา น้ําหนัก ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู สาระสําคัญ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่ (ชั่วโมง) คะแนน 1 สมดุล ว 4.2 - สมดุลของวัตถุจะเกิดขึ้นเมื่อ 12 15 - สมดุลตอการเคลื่อนที่ ผลรวมของแรงลัพธเปนศูนยและ ผลรวมของทอรกเปนศูนย - สมดุลตอการหมุน 2 การเคลือนทีแบบหมุน ่ ่ ว 4.2 - การเคลื่อนที่แบบหมุนซึ่งมี 20 20 ความเรงเชิงมุม ขื้นอยูกับทอรกและ โมเมนตความเฉื่อย ในกรณีไมมี ทอรกกระทํา โมเมนตัมเชิงมุมจะคง ตัว พลังงานจลนของการหมุนขึ้นอยู กับโมเมนตความเฉื่อยและความเร็ว เชิงมุม 3 การเคลือนทีแบบต่ างๆ ่ ่ ว 4.2 ม.4-6/2 - การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลเปน 20 25 - การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล ว 4.2 ม.4-6/3 การเคลื่อนที่วิถีโคงที่มีความเรงใน แนวราบคงตัวและความเรงใน - การเคลื่อนทีแบบวงกลม ่ แนวดิ่งคงตัว - การเคลื่อนทีแบบฮารมอนิกอยางงาย ่ - การเคลื่อนที่แบบวงกลมเปนการ เคลื่อนที่ที่มีความเร็วในแนวเสน สัมผัสและมีแรงในทิศทางเขาสู ศูนยกลาง - การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยาง งายเปนการเคลื่อนที่กลับไปกลับมา ซ้ําทางเดิม เชน การแกวงของลูกตุม อยางงาย
  • 22. หนวยการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเพิ่มเติม (ตอ) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ชื่อวิชา ฟสิกส 2 (Physics II) เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน 2.0 หนวยกิต รหัสวิชา ว30202 (Sci.30202) 4 ชั่วโมง/สัปดาห -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู / เวลา น้ําหนัก ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู สาระสําคัญ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่ (ชั่วโมง) คะแนน 4 คลืน ่ ว 5.1 ม.4-6/1 - คลื่นเกิดจากการถายโอนพลังงาน 16 20 กลผานตัวกลางโดยถาตัวกลางมีการ เคลื่อนที่ขนานกับทิศทางการ เคลื่อนที่ของคลื่น เรียกวา คลื่น ตามยาว แตถาตัวกลางมีการเคลื่อน ที่ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของ คลื่น เรียกวา คลื่นตามขวาง ซึ่ง อัตราเร็วของคลื่นขึ้นอยูกับความ ยาวคลื่นและความถี่ - สมบัติของคลื่น ไดแก การสะทอน การหักเห การแทรกสอดและการ เลี้ยวเบน - คลื่นนิ่งเกิดจากการแทรกสอดของ คลื่นสองขบวนที่มีความยาวคลื่น เทากัน แอมพลิจูดเทากัน เคลื่อนที่ สวนทางกัน 5 เสี ยงและการได้ ยน ิ ว 5.1 ม.4-6/2 -คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ 12 20 ว 5.1 ม.4-6/3 ทําใหอนุภาคของตัวกลางที่สัมผัส กับวัตถุนั้นมีการสั่นและถายโอน พลังงานของการสั่นใหอนุภาคของ ตัวกลางที่อยูกันอยางตอเนื่อง -สมบัติของคลื่นเสียง ไดแก การ สะทอน หักเห แทรกสอดและ เลี้ยวเบน - เสียงสะทอนกลับเปน ปรากฎการณที่หูผูฟงไดยินเสียงจาก แหลงกําเนิดและเสียงนั้นสะทอน กลับมายังผูฟงในเวลาที่ตางกันมาก พอที่หูผูฟงแยกได