SlideShare a Scribd company logo
คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จัดพิมพ์โดย ทุนสนับสนุนการจัดโครงการประชุมปฏิบัติการสร้างสื่อและคู่มือการปฏิบัติตน
ของครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเครือข่ายครู สควค. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ประจำ�ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
“หนังสือเป็นสิ่งสำ�คัญสำ�หรับการพัฒนาทั้งกาย ทั้งอาชีพ ทั้งความรู้
วิ ช าการ ทั้ ง การค้ น คว้ า และในที่ สุ ด ในความพอใจในทางจิ ต ใจของมนุ ษ ย์
ขันสูงทีสด จนกระทังถ้าคนใดอยากมีความรูในด้านจิตวิทยาหรือในด้านปรัชญา
้
ุ่
่
้
จนกระทังอาจอยากทีจะเรียนทางธรรมะหรือศาสนา จนกระทังเป็นคนทีสามารถ
่
่
่
่
ไปสู่ความสุขที่แท้จริงคือ ความนิ่งในจิตใจ เป็นผู้รอบรู้แท้ๆ ก็ย่อมต้องอาศัย
หนังสือ
	
เพราะหนังสือเป็นการสะสมความรูและทุกสิงทุกอย่างทีมนุษย์ได้สร้างมา
้
่
่
ทำ�มา คิดมาแต่โบราณกาลจนทุกวันนี้ หนังสือจึงเป็นสิ่งที่สำ�คัญ เป็นคล้ายๆ
ธนาคารความรู้และเป็นออมสิน เป็นสิ่งที่จะทำ�ให้มนุษย์ก้าวหน้าได้โดยแท้”
พระบรมราโชวาท
พระราชทานแก่คณะสมาชิกห้องสมุดทั่วประเทศ
ในโอกาสที่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท
ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๔
“งานของครู นั้ น เป็ น งานพิ เ ศษ
ที่ จ ะหวั ง ผลตอบแทนเป็ น ความรํ่ า รวย
ยศศักดิ์หรืออำ�นาจความเป็นใหญ่เหมือน
งานอื่นๆ ได้โดยยาก ผลตอบแทนที่สำ�คัญ
ย่อมเป็นผลทางใจคือ ความปิติชุ่มชื่นใจ
ที่ ไ ด้ ฝึ ก สอนคนให้ ไ ด้ ดี มี ค วามเจริ ญ
กับได้ผูกพันจิตใจคนเป็นพันเป็นหมื่นไว้ได้
อย่างแน่นแฟ้น
	
ทังนีเ้ พราะครูแต่ละคนนัน ต่างได้
้
้
แผ่ เ มตตาสั่ ง สอนศิ ษ ย์ ม ากมายหลายรุ่ น
ให้มทงความรูและความดี ทำ�ให้เขาเหล่านัน
ี ้ั
้
้
สามารถดำ�เนินชีวิตและประกอบกิจการ
งานได้ทุกระดับทุกสาขา ให้เป็นประโยชน์
ทั้งแก่ตนเองและส่วนรวม”
พระราโชวาทสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกุฎราชกุมาร
ในโอกาสที่คณะครูอาวุโสเข้าเฝ้าฯ
รับพระราชทานเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ
และเงินช่วยเหลือ ณ ศาลาดุสิดาลัย
วันเสาร์ที่ ๑๕ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๕๒

	
“การที่จะทำ�ให้เป้าหมายทั้งเชิง
ปริมาณและคุณภาพดังกล่าวสำ�เร็จลุล่วง
ไปได้ ย่อมต้องอาศัยครูเป็นปัจจัยสำ�คัญ
แม้ในปัจจุบันเทคโนโลยีจะก้าวหน้า ข้อมูล
ข่าวสารไร้พรมแดน แต่กไม่สามารถทดแทน
็
ครู ไ ด้ เพราะการศึ ก ษามิ ใช่ เ ป็ น เพี ย ง
การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเท่านั้น สิ่งสำ�คัญ
กว่าคือ การฝึกคิดการบ่มนิสัยให้แต่ละคน
สามารถพึ่งพาตนเองและมีนํ้าใจเอื้อเฟื้อ
เผื่ อ แผ่ ต่ อ คนอื่ น ส่ ว นนี้ ต้ อ งใช้ ค นสอน
เท่ า นั้ น ยิ่ ง เทคโนโลยี ก้ า วไกลเพี ย งใด
ก็ยิ่งต้องการครูที่มีความสามารถมากขึ้น
เพี ย งนั้ น ครู ต้ อ งพั ฒ นาตนเองให้ รู้
เท่าทันโลก จึงจะสามารถอบรมบ่มนิสัย
คนในยุคใหม่ได้”
พระราชดำ�รัสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
ณ หอประชุมคุรุสภา กระทรวงศึกษาธิการ
ในโอกาสเสด็จพระราชดำ�เนิน
ไปทรงเปิดงานวันครูโลก ๒๐๐๔
วันอังคารที่ ๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗
เพลง แม่พิมพ์ของชาติ

เพลง พระคุณที่สาม

ผู้แต่ง : ครูสุเทพ โชคสกุล

ผู้แต่ง : ครูอร่าม ขาวสะอาด

เนื้อเพลง :
แสงเรืองๆ ที่ส่องประเทืองอยู่ทั่วเมืองไทย
คือแม่พิมพ์อันน้อยใหญ่
โอ้ครูไทยในแดนแหลมทอง
เหนื่อยยากอย่างไร ไม่เคยบ่นไปให้ใครเขามอง
ครูนั้นยังลำ�พอง ในเกียรติของตนเสมอมา

เนื้อเพลง :
ครูบาอาจารย์ที่ท่านประทานความรู้มาให้
อบรมจิตใจให้รู้ผิดชอบชั่วดี
ก่อนจะนอนสวดมนต์อ้อนวอนทุกที
ขอกุศลบุญบารมีส่งเสริมครูนี้ให้ร่มเย็น

ที่ทำ�งานช่างสุดกันดารในป่าดงไพร
ถึงจะไกลก็เหมือนใกล้ เร่งรุดไปให้ทันเวลา
กลับบ้านไม่ทัน บางวันต้องไปอาศัยหลวงตา
ครอบครัวคอยท่า ไม่รู้ว่าไปอยู่ไหน
ถึงโรงเรียนก็เจียนจะสายจวนได้เวลา
เห็นศิษย์รออยู่พร้อมหน้า
ต้องรีบมาทำ�การสอน
ไม่มีเวลาที่จะได้มาหยุดพอพักผ่อน
โรงเรียนในดงป่าดอน ให้โหยอ่อนสะท้อนอุรา
ชื่อของครูฟังดูก็รู้ชวนชื่นใจ งานที่ทำ�ก็ยิ่งใหญ่
สร้างชาติไทยให้วัฒนา
ฐานะของครูใครๆ ก็รู้ว่าด้อยหนักหนา
ยังสู้ทนอุตส่าห์สั่งสอนศิษย์มาเป็นหลายปี
นี่แหละครูที่ให้ความรู้อยู่รอบเมืองไทย
หวังสิ่งเดียวคือขอให้เด็กของไทยในผืนธานี
ได้มีความรู้เพื่อช่วยเชิดชูไทยให้ผ่องศรี
ครูกภมใจทีสมความเหนือยยากตรากตรำ�มา...
็ูิ ่
่

ครูมีบุญคุณจึงต้องเทิดทูนเอาไว้เหนือเกล้า
ท่านสั่งสอนเราอบรมให้เราไม่เว้น
ท่านอุทิศไม่คิดถึงความยากเย็น
สอนจนรู้จัดเจน เฝ้าแนะเฝ้าเน้นมิได้อำ�พราง
* พระคุณที่สามงดงามแจ่มใส
แต่ว่าใครหนอใครเปรียบเปรยครูไว้
ว่าเป็นเรือจ้าง
นอกจากความจริงยิ่งคิดยิ่งเห็นว่าผิดทาง
มีใครไหนบ้างแนะนำ�แนวทางอย่างครู
บุญเคยทำ�มาตั้งแต่ปางใด เรายกให้ท่าน
ตั้งใจกราบกราน ระลึกคุณท่านกตัญญู
โรคและภัยอย่ามาแผ้วพานคุณครู
ขอกุศลผลบุญคํ้าชูให้ครูมีสุขชั่วนิรันดร
(ซํ้า *)
ให้ครูมีสุข...ชั่วนิรันดร
คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

บทบรรณาธิการ

	 เมื่ อ ครั้ ง การจั ด โครงการพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยครู
สควค. ในปี ๒๕๕๒ เราคิดกันว่า จะทำ�กองทุน จึงทำ�เสื้อ
“ครู สควค. รักครอบครัว” ขึ้นมาจำ�หน่าย ได้กำ�ไรมา
เล็กน้อย ๑,๕๐๐ บาทเป็นทุนก้อนแรกของกองทุนของ
พวกเรา ต่อมาปี ๒๕๕๓ เราเดินหน้าเรื่อง “กองทุนครู
สควค. ครูผสร้างสังคมแห่งการเรียนรู”อย่างจริงจัง โดย
ู้
้
มีเป้าหมายเพื่อตั้งมูลนิธิครู สควค. ในอนาคต ซึ่งมีเพื่อน
ที่เห็นดีเห็นงามและสนับสนุนเราด้วยจำ�นวนไม่มากนัก
แต่พวกเราคิดว่า “เรารอได้” เพราะอาจจะอ่อนการ
ประชาสัมพันธ์และเราต้องการแสวงหาความร่วมมือ
	 หนังสือฉบับนี้ ตั้งใจทำ�ออกมาพิเศษสำ�หรับเพื่อน
ครู สควค. ภาคอีสาน โดยอยู่บนพื้นฐานที่ว่า ในฐานะ
ครูคนหนึ่งนั้น ควรจะทราบว่าตนเองจะต้องปฏิบัติตน
อย่างไร ทั้งในฐานะที่เป็นครู เป็นชาวพุทธและเป็นมนุษย์
คนหนึ่ง ซึ่งเชื่อว่าหากได้ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว
ความเป็นมงคลแก่ชีวิตของตนเองและความก้าวหน้า
ในวิชาชีพย่อมเกิดขึ้นอย่างแน่นอน
	 หากมี ข้ อ เสนอแนะประการใด ขอน้ อ มรั บ ไว้
ด้วยความขอบคุณ

สารบัญ

หน้า
๖

- 	แบบแผนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 	
	 ตามจรรยาบรรณวิชาชีพทางการศึกษา
- 	มาตรฐานครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 	 ๑๔
	 และเทคโนโลยี
-	 ครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้	 ๑๖
-	 คุณลักษณะของครู สควค.ที่พึงประสงค์	 ๑๗
-	 ครูเพื่อความอยู่รอดของผู้อื่น 	
๑๘
-	 ทิศ ๖ หลักแห่งการปฏิบัติต่อกันที่ดีงาม 	 ๒๑
-	 มงคลชีวิต ๓๘ ประการ 	
๒๔
-	 ข้าวตอกดอกไม้บนพานไหว้ครู 	
๒๗
-	 บทสวดมนต์และไหว้ครู 	
๒๘
-	 บทสวดมนต์และระลึกถึง 	
๒๘
	 พระคุณบุรพาจารย์
-	 ปฏิทินชีวิต พลังใจประจำ�วัน 	
๒๙
-	 คำ�ขวัญประจำ�จังหวัด 	
๓๐
	 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
-	 บทสวดมนต์/คาถา แก้วสารพัดนึก 	
๓๒
ที่ปรึกษา
อ.พรพรรณ ไวทยางกูร, อ.ดวงสมร คล่องสารา,
อ.อรวรรณ อิ น ทวิ ช ญ, อ.ปราณี สร้ อ ยสั้ น ,
อ.พวงเพ็ญ บุญญภัทโร, อ.โสภณ แย้มทองคำ�,
อ.มิตรชัย คำ�งอก, อ.สุประดิษฐ สะอาด, ผอ.ธนชัย
สุทธิยานุช, รอง ผอ.พล สีดี, รอง ผอ.ประเสริฐ
สันทอง, นายไพรัช อนันตสุข

คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
เจ้าของ ชมรมครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (ครู สควค.)
	
สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
	
จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสครบรอบ ๕ ปี การก่อตั้งชมรมครู สควค. วันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
	
และสนับสนุนการดำ�เนินกิจกรรมของกองทุนครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ดาวน์โหลดฉบับออนไลน์ที่เว็บไซต์ www.krusmart.com โทร ๐๘๙๐๒๘๖๓๒๗ (anantasook@gmail.com)
บรรณาธิการ ศักดิ์อนันต์ อนันตสุข ผู้ช่วยบรรณาธิการ รัสนา อนันตสุข กองบรรณาธิการ ว่องไว ธุอินทร์,
ณัฐพล แสงทวี, บุญเลี้ยง จอดนอก, ชำ�นาญ เพริดพราว, วงค์ณภา แก้วไกรษร, จตุรภัทร ประทุม, ทองคำ� อำ�ไพ
พิมพ์ที่ บริษัท รุ่งธนเกียรติออฟเซ็ท จำ�กัด พิมพ์ครั้งแรก พฤษภาคม ๒๕๕๔ จำ�นวน ๕๐๐ เล่ม

5
6 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

แบบแผนพฤติกรรมที่พึงประสงค์
ตามจรรยาบรรณวิชาชีพทางการศึกษา
จรรยาบรรณต่อตนเอง
	 ๑. 	ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวนยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ
้
ิ ั
และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
วิชาชีพครู
	 ๑. 	ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างที่ดี
	 ๒. 	ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำ�เนินชีวิตตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
	 ๓. 	ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้สำ�เร็จอย่างมีคุณภาพตามเป้าหมายที่กำ�หนด
	 ๔. 	ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และสะสมผลงานอย่างสมํ่าเสมอ
	 ๕. 	ค้นคว้า แสวงหา และนำ�เทคนิคด้านวิชาชีพทีพฒนาและก้าวหน้าเป็นทียอมรับมาใช้แก่ศษย์
่ ั
่
ิ
และผู้รับบริการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่พึงประสงค์
วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
	 ๑. 	ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างที่ดี
	 ๒. 	ศึกษา ค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในการพัฒนาวิชาชีพอยู่เสมอ
	 ๓. 	ส่งเสริมและพัฒนาครูในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้
	 ๔. 	สร้างผลงานที่แสดงถึงการพัฒนาความรู้และความคิดในวิชาชีพจนเป็นที่ยอมรับ
	 ๕. 	ส่งเสริมการปฏิบัติงานโดยมีแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมและใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี
ที่เหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน และก้าวทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา
	 ๑.	 ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างที่ดี
	 ๒. 	ศึกษา ค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในการพัฒนาวิชาชีพอยู่เสมอ
	 ๓. 	ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพ
	 ๔. 	นำ�แนวทางหรือรูปแบบใหม่มาใช้ในการปฏิบัติงานจนเกิดประโยชน์ต่องานในหน้าที่และ
องค์กร
	 ๕. 	สามารถใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน
	 ๖. 	สร้างผลงานที่แสดงถึงการค้นพบและพัฒนาความรู้ความคิดในวิชาชีพ
	 ๗. 	เป็ น ผู้ นำ � ในการจั ด ทำ � แผนปฏิ บั ติ ก ารให้ เ หมาะสมกั บ สภาพปั จ จุ บั น และก้ า วทั น
การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

7

วิชาชีพศึกษานิเทศก์
	 ๑. 	ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างที่ดี
	 ๒. 	ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้สำ�เร็จอย่างมีคุณภาพตามเป้าหมายที่กำ�หนด
	 ๓. 	ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และสะสมผลงานอย่างสมํ่าเสมอ
	 ๔. 	สร้างผลงานที่แสดงถึงการพัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ
	 ๕. 	ค้นหาวิธีการทำ�งาน การพัฒนาวิชาชีพ และ สามารถนำ�มาประยุกต์ให้เกิดผลดีต่อผู้รับการ
นิเทศ
	 ๖. 	นิเทศโดยยึดผู้รับการนิเทศเป็นสำ�คัญด้วยกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันอย่างสมํ่าเสมอ
	 ๗. 	พัฒนาวิสยทัศน์โดยผสมผสานนวัตกรรม เทคโนโลยี และแนวคิด เพือใช้ในการพัฒนาวิชาชีพ
ั
่
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
	 ๒.	ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและ
เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
วิชาชีพครู
	 ๑. 	แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ
	 ๒. 	รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
	 ๓. 	ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพให้สาธารณชนรับรู้
	 ๔. 	อุทิศตนเพื่อความก้าวหน้าของวิชาชีพ
	 ๕. 	ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตตามกฎระเบียบและแบบแผนของทาง
ราชการ
	 ๖. 	เลือกใช้หลักวิชาที่ถูกต้อง สร้างสรรค์เทคนิค วิธีการใหม่ๆ เพื่อพัฒนาวิชาชีพ
	 ๗. 	ใช้องค์ความรู้หลากหลายในการปฏิบัติหน้าที่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกในองค์กร
	 ๘. 	เข้าร่วมกิจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์
8 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
	 ๑. 	แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ
	 ๒.	 รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
	 ๓. 	ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพให้สาธารณชนรับรู้
	 ๔. 	ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตตามกฎระเบียบและแบบแผนของทาง
ราชการ
	 ๕. 	ปฏิบตหน้าทีดวยความมุงมัน ตังใจ และใช้ความรูความสามารถในการพัฒนาครูและบุคลากร
ัิ
่้
่ ่ ้
้
	 ๖. 	สนับสนุนการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาครู การเรียน การสอน และการบริหารสถาน
ศึกษา
	 ๗. 	ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัยและนำ�เสนอผลงานที่เกี่ยวข้อง
กับวิชาชีพ
	 ๘. 	เข้าร่วม ส่งเสริม และประชาสัมพันธ์กจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์
ิ
วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา
	 ๑. 	แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ
	 ๒. 	รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
	 ๓. 	ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพให้สาธารณชนรับรู้
	 ๔. 	ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตตามกฎระเบียบและแบบแผนของทาง
ราชการ
	 ๕. 	ปฏิบตหน้าทีดวยความมุงมัน ตังใจ และใช้ความรูความสามารถในการพัฒนาครูและบุคลากร
ัิ
่้
่ ่ ้
้
	 ๖. 	ให้ความร่วมมือจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนางานที่ตนปฏิบัติหรืองานที่รับผิดชอบ
โดยไม่เรียกร้องผลประโยชน์ตอบแทนที่ควรได้รับ
	 ๗. 	สนับสนุน ส่งเสริมการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย และนำ�เสนอผลงานที่เกี่ยวข้อง
กับวิชาชีพ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวิชาชีพ
	 ๘. 	สร้างสรรค์เทคนิค วิธีการใหม่ทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพ
	 ๙. 	เข้าร่วม ส่งเสริม และประชาสัมพันธ์กิจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กร
คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

9

วิชาชีพศึกษานิเทศก์
	 ๑. 	แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ
	 ๒. 	รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
	 ๓. 	ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพให้สาธารณชนรับรู้
	 ๔. 	ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตตามกฎระเบียบและแบบแผนของทาง
ราชการ
	 ๕. 	เลือกใช้หลักการ วิธีการที่ถูกต้อง ได้ผลดี ทันสมัย และสอดคล้องกับผู้รับการนิเทศ
	 ๖. 	อุทิศตนเพื่อประโยชน์ของผู้รับการนิเทศและความก้าวหน้าของวิชาชีพ
	 ๗. 	สร้างสรรค์เทคนิค วิธการใหม่ๆ ทางการศึกษาเพือพัฒนาวิชาชีพ เป็นสมาชิกทีดขององค์กร
ี
่
่ี
วิชาชีพ
	 ๘. 	แลกเปลียนเรียนรูกบสมาชิกในองค์กรหรือวิชาชีพอย่างต่อเนือง ใช้ศาสตร์องค์ความรูในการ
่
้ั
่
้
ปฏิบัติงาน
	 ๙. 	เข้าร่วม ส่งเสริม และประชาสัมพันธ์กจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์
ิ
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
	 ๓. 	ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำ�ลังใจ
แก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่ โดยเสมอหน้า
	 ๔. 	ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้อง
ดีงามแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่ อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
	 ๕. 	ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย
วาจา และจิตใจ
	 ๖. 	ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทำ�ตนเป็นปฏิปักษ์ ต่อความเจริญทางกาย
สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ และผู้รับบริการ
	 ๗. 	ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการ ด้วยความจริงใจ และเสมอภาค โดยไม่
เรียกรับ หรือยอมรับผลประโยชน์ จากการใช้ตำ�แหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
10 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
วิชาชีพครู
	 ๑. 	ให้คำ�ปรึกษาหรือช่วยเหลือศิษย์และผู้รับบริการด้วยความเมตตากรุณาอย่างเต็มกำ�ลัง
ความสามารถและเสมอภาค
	 ๒. 	สนับสนุนการดำ�เนินงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชนและผู้ด้อยโอกาส
	 ๓.	 ตังใจ เสียสละ และอุทศตนในการปฏิบตหน้าที่ เพือให้ศษย์และผูรบบริการได้รบการพัฒนา
้
ิ
ัิ
่ ิ
้ั
ั
ตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจของแต่ละบุคคล
	 ๔.	 ส่งเสริมให้ศิษย์และผู้รับบริการสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากสื่ออุปกรณ์ และ
แหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย
	 ๕. 	ให้ศษย์และผูรบบริการ มีสวนร่วมวางแผนการเรียนรูและเลือกวิธการปฏิบตทเี่ หมาะสมกับตนเอง
ิ
้ั
่
้
ี
ัิ
	 ๖. 	เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และผู้รับบริการด้วยการรับฟังความคิดเห็น ยกย่อง
ชมเชย และให้กำ�ลังใจอย่างกัลยาณมิตร
วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
	 ๑. 	ปฏิบัติงานหรือให้บริการอย่างมีคุณภาพ โดยคำ�นึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้รับบริการ
	 ๒. 	ส่งเสริมให้มีการดำ�เนินงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชน และผู้ด้อยโอกาส
	 ๓. 	บริหารงานโดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
	 ๔.	 รับฟังความคิดเห็นที่มีเหตุผลของศิษย์และผู้รับบริการ
	 ๕. 	ให้ครูและบุคลากร มีสวนร่วมวางแผนการปฏิบตงานและเลือกวิธการทีเหมาะสมกับตนเอง
่
ัิ
ี ่
	 ๖. 	เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และผู้รับบริการด้วยการรับฟังความคิดเห็น ยกย่อง
ชมเชย และให้กำ�ลังใจอย่างกัลยาณมิตร
	 ๗. 	ให้ศิษย์และผู้รับบริการได้มีส่วนร่วมในการเสนอแนวคิดหรือวิธีการที่เป็นประโยชน์ต่อการ
พัฒนาวิชาชีพ
วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา
	 ๑. 	ปฏิบัติงานหรือให้บริการอย่างมีคุณภาพ โดยคำ�นึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้รับบริการ
	 ๒. 	ส่งเสริมให้มีการดำ�เนินงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชนและผู้ด้อยโอกาส
	 ๓. 	บริหารงานโดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
	 ๔. 	รับฟังความคิดเห็นที่มีเหตุผลของผู้รับบริการ
	 ๕. 	ปฏิบัติหน้าที่อย่างมุ่งมั่น ตั้งใจเพื่อให้ผู้รับบริการพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
	 ๖. 	ให้ผู้รับบริการได้ร่วมวางแผนการปฏิบัติงานและเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมกับตนเอง
	 ๗. 	เป็นกัลยาณมิตรกับผู้รับบริการ
คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

11

วิชาชีพศึกษานิเทศก์
	 ๑.	 สนับสนุน ส่งเสริมผู้รับการนิเทศ ให้ประสบความสำ�เร็จตามความถนัดความสนใจ และ
ศักยภาพของแต่ละคน
	 ๒. 	ส่งเสริมให้มีการดำ�เนินงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชนและผู้ด้อยโอกาส
	 ๓. 	มีข้อมูล แนวทางที่ปฏิบัติที่หลากหลายให้ผู้รับการนิเทศนำ�ไปใช้เป็นตัวอย่าง
	 ๔. 	รับฟังความคิดเห็นที่มีเหตุผลของผู้รับการนิเทศ
	 ๕. 	ปฏิบัติหน้าที่อย่างมุ่งมั่น ตั้งใจ เพื่อให้ผู้รับการนิเทศพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
	 ๖. 	ให้ผู้รับการนิเทศได้ร่วมวางแผนพัฒนาตนเองและเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับตนเอง
	 ๗. 	เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้ผู้รับการนิเทศด้วยการรับฟังความคิดเห็น ยกย่องชมเชยและ
ให้กำ�ลังใจอย่างกัลยาณมิตร
จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
	 ๘. 	ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์
โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
วิชาชีพครู
	 ๑. 	เสียสละ เอื้ออาทร และให้ความช่วยเหลือผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
	 ๒. 	มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกัน ผนึกกำ�ลังในการพัฒนาการศึกษา
วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
	 ๑. 	ริเริ่มสร้างสรรค์ในการบริหารเพื่อให้เกิดการพัฒนาทุกด้านต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
	 ๒. 	ส่งเสริมและพิทักษ์สิทธิของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
	 ๓. 	เป็นผู้นำ�ในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา
	 ๔. 	ใช้ระบบคุณธรรมในการพิจารณาผลงานของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
	 ๕. 	มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกันผนึกกำ�ลังในการพัฒนาการศึกษา
	 ๖. 	ยอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา
	 ๑. 	ริเริ่มสร้างสรรค์ในการบริหารเพื่อให้เกิดการพัฒนาทุกด้านต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
	 ๒. 	ส่งเสริมและพิทักษ์สิทธิของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
	 ๓. 	เป็นผู้นำ�ในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา
	 ๔. 	ใช้ระบบคุณธรรมในการพิจารณาผลงานของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
	 ๕. มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกันผนึกกำ�ลังในการพัฒนาการศึกษา
	 ๖. ยอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
12 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
วิชาชีพศึกษานิเทศก์
	 ๑. 	เสียสละ เอื้ออาทร และให้ความช่วยเหลือผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
	 ๒. 	ส่งเสริมและพิทักษ์สิทธิของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
	 ๓. 	เป็นผู้นำ�ในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา
	 ๔. 	ยอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
	 ๕. 	มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกันผนึกกำ�ลังในการพัฒนาการศึกษา
จรรยาบรรณต่อสังคม
	 ๙. 	ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบตตนเป็นผูน�ในการอนุรกษ์และพัฒนา
้
ัิ
้ ำ
ั
เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม
และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
วิชาชีพครู
	 ๑. 	ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
	 ๒. 	นำ�ภูมปญญาท้องถินและศิลปวัฒนธรรม มาเป็นปัจจัยในการจัดการศึกษาให้เป็นประโยชน์
ิ ั
่
ต่อส่วนรวม
	 ๓. 	จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ศษย์เกิดการเรียนรูและสามารถดำ�เนินชีวตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ิ
้
ิ
	 ๔. 	เป็นผู้นำ�ในการวางแผนและดำ�เนินการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น และศิลปวัฒนธรรม
วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
	 ๑. 	ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
	 ๒. 	ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในทางวิชาการ หรือวิชาชีพแก่ชุมชน
	 ๓. 	ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมเพือให้ศษย์และผูรบบริการเกิดการเรียนรู้ และสามารถ
่ ิ
้ั
ดำ�เนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
	 ๔. 	เป็นผู้นำ�ในการวางแผนและดำ�เนินการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาเศรษฐกิจ
คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 13

วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา
	 ๑. 	ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
	 ๒. 	ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในทางวิชาการ หรือวิชาชีพแก่ชุมชน
	 ๓. 	ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมเพือให้ศษย์และผูรบบริการเกิดการเรียนรู้ และสามารถ
่ ิ
้ั
ดำ�เนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
	 ๔. 	เป็นผู้นำ�ในการวางแผนและดำ�เนินการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น และศิลปวัฒนธรรม
วิชาชีพศึกษานิเทศก์
	 ๑. 	ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
	 ๒. 	ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในทางวิชาการ หรือวิชาชีพแก่ชุมชน
	 ๓. 	ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมเพือให้ศษย์และผูรบบริการเกิดการเรียนรู้ และสามารถ
่ ิ
้ั
ดำ�เนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
	 ๔. 	เป็นผู้นำ�ในการวางแผนและดำ�เนินการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น และศิลปวัฒนธรรม

เพลง ใครคือครู...
	
	
	
	
	
	
	
	

ใครคือครู ครูคือใคร ในวันนี้	
ใช่อยู่ที่ เรียกว่า ครูอาจารย์	
ครูคือผู้ ชี้นำ� ทางความคิด	
ให้รู้ทุกข์ รู้ยาก รู้พากเพียร	
ครูคือผู้ ยกระดับ วิญญาณมนุษย์	
ปลุกสำ�นึก สั่งสม อุดมการณ์	
ครูจึงเป็น นักสร้าง ผู้ใหญ่ยิ่ง	
สร้างคนให้ ได้เป็นตัว ของตัวเอง	

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
ศิลปินแห่งชาติ ประพันธ์

ใช่อยู่ที่ ปริญญา มหาศาล
ใช่อยู่นาน สอนนาน ในโรงเรียน
ให้รู้ถูก รู้ผิด คิดอ่านเขียน
ให้รู้เปลี่ยน แปลงสู้ รู้สร้างงาน
ให้สูงสุด กว่าสัตว์ เดรัจฉาน
มีดวงมาลย์ เพื่อมวลชน ใช่ตนเอง
สร้างคนจริง สร้างคนกล้า สร้างคนเก่ง
ขอมอบเพลง นี้มา บูชาครู
14 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

มาตรฐานครูวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
	 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ก�หนดมาตรฐานครูวทยาศาสตร์
ำ
ิ
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ขึ้นโดยมีเป้าหมาย ดังนี้
	 ๑. 	เพื่อให้ครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ได้มีแนวทางการพัฒนาตนเองและ
พัฒนางานให้เข้าสู่มาตรฐานสากล
	 ๒. 	เพือให้สถานศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาครูวทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
่
ิ
ให้มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานที่กำ�หนด
	 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีบทบาทสำ�คัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดและศักยภาพของบุคคล
ในด้านความมีเหตุผล ความมีระบบและเป็นระเบียบ การสื่อสาร การเลือกสรรสารสนเทศและการ
กำ�หนดกลยุทธ์ในการแก้ปัญหา ซึ่งล้วนเกี่ยวข้องกับการดำ�เนินชีวิตของทุกคน และยังเป็นเครื่องมือ
สร้างเสริมทักษะเพื่อการศึกษาในศาสตร์อื่นๆ อีกด้วย
	 มาตรฐานครูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่งเน้นให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนที่พัฒนา
ผู้เรียนให้เกิดความรู้ ความคิด ทักษะ กระบวนการเรียนรู้ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
ทีพงประสงค์ตามมาตรฐานทีสอดคล้องกับสังคมไทยและทัดเทียมกับนานาชาติ ประกอบด้วยมาตรฐาน
่ ึ
่
หลัก ๑๐ มาตรฐาน แบ่งเป็นมาตรฐานย่อย ๔๐ ข้อ และ ๗๖ ตัวชี้บ่ง ที่อยู่ในกรอบของคุณลักษณะ
๓ ด้าน คือ ความรู้ การแสดงออกและความสามารถ
	 สาระสำ�คัญของมาตรฐานครูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีดังนี้
	 มาตรฐานที่ ๑ ธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าใจในธรรมชาติของวิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ประกอบด้วยโครงสร้างเนื้อหาตามหลักสูตรและสาระความรู้ของวิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แนวคิดด้านกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และการแก้ปัญหา รวมทั้ง
สามารถนำ�ความรูความเข้าใจไปสร้างประสบการณ์การเรียนรูทท�ให้เนือหาวิชามีความหมายต่อผูเ้ รียน
้
้ ี่ ำ
้
	 มาตรฐานที่ ๒ การนำ�วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้อย่างมีคุณธรรมและมีความสนใจ
ใฝ่พฒนาวิชาชีพของตนเอง ใช้วชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคณธรรมทีกอให้เกิดประโยชน์
ั
ิ
ุ
่่
ต่อสังคม และการดำ�รงชีวิตโดยคำ�นึงถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพ รวมทั้งเป็นผู้ที่ใฝ่หาโอกาสในการ
พัฒนาวิชาชีพของตนเอง
	 มาตรฐานที่ ๓ การจัดโอกาสในการเรียนรู้ตามระดับการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียน
เข้ า ใจถึ ง ระดั บ การเรี ย นรู้ แ ละพั ฒ นาการเรี ย นของผู้ เรี ย น จั ด โอกาสในการเรี ย นรู้ ใ ห้ แ ก่ ผู้ เรี ย น
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทางสติปัญญา สังคมและบุคลิกภาพ
คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

15

	 มาตรฐานที่ ๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามความแตกต่างของผู้เรียน เข้าใจถึงความ
แตกต่างของผู้เรียนและใช้ความแตกต่างดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
โอกาสในการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับผู้เรียน
	 มาตรฐานที่ ๕ การใช้วิธีการสอนที่เหมาะสมเพื่อช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน เข้าใจ
และใช้วิธีการสอนอย่างหลากหลาย เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดด้านการวิเคราะห์วิจารณ์
การแก้ปัญหาและทักษะปฏิบัติ
	 มาตรฐานที่ ๖ การสร้างแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงบันดาลใจ เข้าใจถึงแรงกระตุ้นและ
พฤติกรรมของผู้เรียนหรือกลุ่มของผู้เรียน และสามารถสร้างสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ที่ส่งเสริม
การมีปฏิสัมพันธ์กันในทางบวก เพื่อก่อให้เกิดการเรียนรู้และแรงบันดาลใจ
	 มาตรฐานที่ ๗ พัฒนาทักษะการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้โดยการสืบเสาะหาความรู้
มีทักษะการสื่อสารและสามารถใช้ภาษาอย่างถูกต้องทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก ใช้วิธี
การสื่อสารเพื่อกระตุ้นให้มีการสืบเสาะหาความรู้ การมีปฏิสัมพันธ์และการทำ�งานร่วมกัน
	 มาตรฐานที่ ๘ การพัฒนาหลักสูตร สาระการเรียนรูและการวางแผนการสอน พัฒนาหลักสูตร
้
ที่อยู่บนพื้นฐานของสาระและมาตรฐานการเรียนรู้อย่างสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและ
พัฒนาผู้เรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ
	 มาตรฐานที่ ๙ การประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ใช้วิธีการประเมินผลตามสภาพจริงและ
นำ�ผลการประเมินไปใช้เพือยืนยันถึงพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนอย่างต่อเนืองทังทางสติปญญา สังคม
่
้ ้
่ ้
ั
และร่างกาย
	 มาตรฐานที่ ๑๐ การนำ�ชุมชนมาร่วมจัดการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้แก่ผู้เรียน ส่งเสริม
ความสัมพันธ์กบผูรวมงานในสถานศึกษา ผูปกครอง และองค์กรในชุมชนเพือสนับสนุนการเรียนรูและ
ั ้่
้
่
้
พัฒนาการเรียนรู้แก่ผู้เรียน
	 คณิตศาสตร์มีบทบาทสำ�คัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดและศักยภาพของบุคคลในด้านความมี
เหตุผล ความมีระบบและเป็นระเบียบ มีแบบแผนสามารถวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่าง
ถีถวน รอบคอบ ทำ�ให้สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจและแก้ปญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
่้
ั
และเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
	 มาตรฐานครูคณิตศาสตร์ มุงเน้นให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนทีพฒนาผูเ้ รียนให้เกิดความรู้
่
่ ั
ความคิด ทักษะ กระบวนการเรียนรู้ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพงประสงค์ตามมาตรฐาน
่ ึ
ที่สอดคล้องกับสังคมไทยและทัดเทียมกับนานาชาติ ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก ๑๐ มาตรฐาน
แบ่งเป็นมาตรฐานย่อย ๓๗ ข้อ และ ๗๕ ตัวชี้บ่ง ที่อยู่ในกรอบของคุณลักษณะ ๓ ด้าน คือ ความรู้
การแสดงออกและความสามารถ
16 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
	 สาระสำ�คัญของมาตรฐานครูคณิตศาสตร์ มีดังนี้
	 มาตรฐานที่ ๑ ธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร์ เข้าใจในธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร์ทประกอบ
ี่
ด้วยโครงสร้างเนื้อหาตามหลักสูตรและสาระความรู้ของ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับการ
แก้ปญหาและสามารถนำ�ความรูความเข้าใจไปสร้างประสบการณ์การเรียนรูทท�ให้เนือหาวิชามีความ
ั
้
้ ี่ ำ
้
หมายต่อผู้เรียน
	 มาตรฐานที่ ๒ การนำ�คณิตศาสตร์มาใช้อย่างมีคุณธรรมและมีความสนใจใฝ่พัฒนาวิชาชีพ
ของตนเอง ใช้คณิตศาสตร์อย่างมีคุณธรรมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการดำ�รงชีวิตโดยคำ�นึง
ถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพ รวมทั้งเป็นผู้ที่ใฝ่หาโอกาสในการพัฒนาวิชาชีพของตนเอง
มาตรฐานที่ ๓-๑๐ มีรายละเอียดเดียวกับมาตรฐานครูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

	 “ครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้” เป็นข้อความที่ชมรมครู สควค. ใช้ในการ
ประชาสัมพันธ์และสร้างภาพลักษณ์ของเครือข่ายครู สควค. มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยหยิบยก
ข้อความ “สังคมแห่งการเรียนรู” มาจาก พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ โดยกำ�หนดไว้วา
้
่
“ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้” คือ ครู สควค. ที่มีบทบาทนำ�และเป็นแบบอย่างได้ ๔ ด้าน คือ
การพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาตนเอง การพัฒนาเครือข่ายครูและการพัฒนาสังคม
คณะกรรมการบริหารชมรมครู สควค. สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชุดที่ ๑/๓
(๑ มกราคม ๒๕๕๔-๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๕)
สำ�นักงาน :: เลขที่ ๔๖ หมู่ที่ ๑๐ ตำ�บลธาตุ อำ�เภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ๓๒๑๓๐
ชื่อ- สกุล
สถานที่ปฏิบัติงาน
ตำ�แหน่ง
๑. นายศักดิ์อนันต์ อนันตสุข ร.ร.นารายณ์คำ�ผงวิทยา อ.โนนนารายณ์ จ.สุรินทร์ (0890286327)
ประธาน
๒. นายบุญเลี้ยง จอดนอก ร.ร.บ้านหัวบึง อ.เมือง จ.อุดรธานี (0831479974)
รองประธาน
๓. นายว่องไว ธุอินทร์
ร.ร. ศรีสุขวิทยา อ.สำ�โรงทาบ จ.สุรินทร์ (0879972002)
เลขานุการ
๔. นายชำ�นาญ เพริดพราว ร.ร.เตรียมอุดมศึกษาฯ อ.สว่างแดนดินจ.สกลนคร (0845112119) ผู้ช่วยเลขานุการ
๕. นายณัฐพล แสงทวี
ร.ร.นารายณ์ค�ผงวิทยา อ.โนนนารายณ์ จ.สุรนทร์ (0851594391) เหรัญญิก
ำ
ิ
๖. นายปรมินทร์ แก้วดี
ร.ร.เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ จ.ศรีสะเกษ (0846041413) นายทะเบียน
๗. นายกิตติชัย แผ่นจันทร์ ร.ร.พนาสนวิทยา อ.ลำ�ดวน จ.สุรินทร์ (0872469890)
ปฏิคม
๘. นายจตุรภัทร ประทุม
ร.ร. คำ�นาดีพิทยาคม อ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด (0899402211)
ประชาสัมพันธ์
๙. นายจักรพันธ์ พิรักษา
ร.ร.ลำ�ดวนพิทยาคม อ.กระสัง จ.บุรีรัมย์ (0892831483)
กรรมการ
๑๐. นายวงค์ณภา แก้วไกรษร ร.ร.โนนสะอาดชุมแสงวิทยา อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี (0872169899) กรรมการ
๑๑. นายสราวุธ วิเชียรลม ร.ร.สว่างแดนดิน อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร (0872275604)
กรรมการ
๑๒. น.ส.วิพาภรณ์ ส่งเสริม ร.ร.เดชอุดม อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี (0897171788)
กรรมการ
คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 17

คุณลักษณะของครู สควค. ที่พึงประสงค์
๑. คุณลักษณะของครู สควค. ที่พึงประสงค์ มีดังนี้
	 ๑) 	มี ค วามรู้ ค วามสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ วิ ท ยาศาสตร์ ศึ ก ษา และ
คณิตศาสตร์ศึกษาเป็นอย่างดี
	 ๒) 	มีความรู้ ความเข้าใจในวิชาที่สอนอย่างแท้จริง สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีในศาสตร์ความรู้
แขนงต่างๆ สู่การปฏิบัติได้
	 ๓) 	มีความรู้ด้านการวิจัย/การวิจัยในชั้นเรียน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้และ
พัฒนาการเรียนรู้
	 ๔) 	มีความรูในการจัดทำ�หลักสูตรด้านเทคนิคการสอน จิตวิทยา การวัดและประเมินผลทางการ
้
ศึกษา
	 ๕) 	มีความสามารถที่จะพัฒนาตนเองให้เป็นครูแบบใหม่ในระบบสากลได้
		 - 	เป็นครูทเี่ น้นความหลากหลายเพือตอบสนองต่อผูเ้ รียนเป็นหลัก แนะนำ�ให้ผเู้ รียนสามารถ
่
พัฒนาการเรียนรูได้อย่างเต็มศักยภาพและสร้างสรรค์ และให้ขอมูลสะท้อนกลับผูเ้ รียนได้อย่างต่อเนือง
้
้
่
		 - 	รู้วิทยาการด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น เพราะการศึกษายุคใหม่
เป็นการศึกษาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น
		 - 	เป็นครูที่ต้องไปหานักเรียนมากขึ้น เข้าเยี่ยมชุมชนได้มากขึ้น
	 ๖) 	มีความสามารถเชือมโยงความรูสทองถิน จัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการ
่
้ ู่ ้ ่
ของชุมชน
๒. คุณลักษณะความเป็นครูที่ดี
	 ๑) 	มีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครูและพร้อมที่จะพัฒนาวิชาชีพของตน
	 ๒) 	มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียนและมีความเป็นประชาธิปไตย
	 ๓) 	มีความเป็นไทย อนุรักษ์และทะนุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรมไทย
	 ๔) 	มีความเมตตาแก่ศิษย์ และเห็นคุณค่าของศิษย์
	 ๕) 	มีบทบาทในการพัฒนาชุมชน และสามารถเป็นผู้นำ�ชุมชนได้
	 ๖) 	มีความขยันหมั่นเพียร อดทนและมุ่งมั่นในการทำ�งานและมีความรับผิดชอบสูง
๓. บุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
	 ๑) 	มีความสามารถทำ�งานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
	 ๒) 	มีความสามารถในการแก้ปัญหาร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้
	 ๓) 	มีลักษณะที่ดีของการเป็นแบบอย่างในการประพฤติและปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดีของ
ประเทศชาติ
18 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

ครูเพื่อความอยู่รอดของผู้อื่น

ธรรมะบรรยายของท่านพุทธทาสภิกขุ คัดจากหนังสือวันไหว้ครู ๒๕๓๙ องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น

	 ธรรมชาติสร้างมนุษย์มาเพื่อจะเป็นเพื่อน
ทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกัน คนที่เกิดมาทีหลัง
ต้องการความช่วยเหลือของคนทีเกิดมาก่อน เช่น
่
ทารกเกิดมาต้องการความช่วยเหลือของบิดา
มารดา ครูบาอาจารย์ พระเจ้า พระสงฆ์ ที่เกิด
มาก่อน ฉะนันเราจึงทำ�หน้าที่ ทีจะต้องทำ�ความรอด
้
่
เพือผูอนด้วย ในทางธรรมก็เรียกว่า ประโยชน์ตน
่ ้ ื่
(อัตตโถ) แล้วก็ประโยชน์ผู้อื่น (ปรัตโถ) เราต้อง
ทำ�ให้เต็มที่สุดฝีไม้ลายมือ ด้วยความไม่ประมาท
	 พวกคุ ณ เป็ น ครู ก็ ต้ อ งนึ ก ถึ ง อุ ด มคติ คื อ
ความรอดของผู้อื่น อย่าคิดว่าเราเป็นครูเอาเงินเดือน
มาเลี้ ย งตั ว กู ค นเดี ย วให้ ส บาย นึ ก ถึ ง ตั ว เอง
คนเดียวมันใช้ไม่ได้ แล้วจะไม่ทำ�ให้ดีได้ด้วยคือ
จิตใจจะไม่มีความสุข ฉะนั้นจะต้องนึกถึงผู้อื่น
	 ความเป็ น ครู ก็ คื อ สร้ า งความสามารถ
ในการที่จะช่วยผู้อื่น ในทางศาสนาในทางธรรม
เขาเรียกว่าอุดมคติของโพธิสตว์ โพธิสตว์มอดมคติ
ั
ั ีุ
เพื่อช่วยผู้อื่น พระพุทธเจ้าลงทุนในการช่วยผู้อื่น
ด้วยการบำ�เพ็ญโพธิสตว์เป็นวรรคเป็นเวรนมนาน
ั
เหลือเกิน ฉะนัน อุดมคติของโพธิสตว์คอ เพือความ
้
ั ื ่
รอดของผู้อื่น พร้อมกับความอยู่รอดของตัวเอง
	 ฉะนั้น เราจะไม่รับผิดชอบไม่ได้ ถ้าไม่รับ
ผิดชอบในความรอดของผูอน แล้วมันจะเกิดกิเลส
้ ื่
ฝ่ายเรา แล้วเราก็จะไม่รอดด้วย ถ้าเราเห็นแก่
ผู้อื่นความเห็นแก่ตัวมันจะสลายไป กิเลสมันเกิด
ไม่ได้เราก็จะรอดด้วย จึงขอให้ยึดถือหลักธรรม
ในพระพุทธศาสนาก็แล้วกัน ว่าทุกอย่างมันเพื่อ
ทั้งสองฝ่าย คือ ฝ่ายเราเองและฝ่ายผู้อื่น

	 อาจจะมี ค นถามขึ้ น ว่ า ฝ่ า ยไหนสำ � คั ญ
กว่า? เราจะต้องว่าสำ�คัญเท่ากัน คือ มันจะต้อง
ผูกพันไปด้วยกัน แต่เราคงจะชอบฝ่ายเรามากกว่า
หรือว่าถ้าจะถือว่าอันไหนมันมีค่ามันก็จะนึกถึง
ฝ่ายเรานันแหละมีคากว่า เราไม่ตองเสียประโยชน์
่
่
้
ที่ เ ป็ น ความรอดของเราเพื่ อ ผู้ อื่ น รอดหรอก
นี่พระพุทธเจ้าท่านก็ยอมรับข้อนี้ว่า เราไม่ถึง
กับต้องสูญเสียความรอดของเราเพื่อความรอด
ของผูอน มันต้องเป็นความรอดทีไปด้วยกัน แม้วา
้ ื่
่
่
เราจะยอมเสียสละชีวิตเพื่อความรอดของผู้อื่น
เราก็ยังได้ความรอดอยู่นั่นเอง
	 การเสียสละชีวตเพือช่วยโลก เพือช่วยผูอน
ิ ่
่
้ ื่
มันก็เป็นความรอดของผูเ้ สียสละชีวตนันด้วย ทีนี้
ิ ้
มันได้มาก คือ มันเป็นความรอดของคนทุกคน
ในโลก มันมีประโยชน์มาก แปลว่าเขาได้ใช้ชีวิต
นั้นให้มีค่ามากที่สุดคือ เพื่อทุกคน ไม่ใช่เพื่อรอด
ของตัวคนเดียว เพราะฉะนั้นจึงให้ถือเป็นหลักว่า
วัตถุทพงประสงค์มอยูสองสถานคือ ประโยชน์ตน
ี่ ึ
ี ่
และประโยชน์ท่าน
	 ถ้ า ใครถื อ หลั ก อั น นี้ แ ล้ ว จะไม่ มี ก าร
เบียดเบียนกันเลยในโลกนี้ ฟังดูเถอะไม่มีการ
เบี ย ดเบี ย นกั น เลยในโลกนี้ อย่ า งที่ เราเรี ย ก
ในภาษาโบราณนั้ น ว่ า ศาสนาพระศรี อ าริ ย์
ไม่เบียดเบียนกันเลยในโลกนี้ ไม่ต้องปิดประตู
บ้าน ไม่ต้องปิดประตูเรือน หรือว่าเรือนไม่ต้อง
ทำ�ประตูก็ได้ ถ้าขี้เกียจมันนอนสบายได้โดยไม่
ต้องปิดประตูบ้าน ปิดประตูเรือน เพราะว่ามัน
ไม่มีใครเบียดเบียนใคร
คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

	 เขามีค�พูดแปลกๆ ทีเป็นอุปมา พอลงจาก
ำ
่
เรือนไปในท้องถนน ไม่รวาใครเป็นใคร เหมือนกัน
ู้ ่
หมด ไม่รู้ว่าใครเป็นใคร ไม่รู้ว่าเป็นอะไรของเรา
เป็นพ่อเป็นแม่ เป็นลูก เป็นผัว เป็นเมียของเรา
มันเหมือนกันไปหมด จนกว่าจะกลับมาถึงบ้านแล้ว
จึงจะรู้ว่าอ้าวนี่ แม่ของเรา พ่อของเรา พี่ของเรา
ลูกของเรา ถ้าลงไปทีถนนละก็มนเหมือนกันหมด
่
ั
มันไม่มีศัตรู มันไม่มีผู้อื่น มันมีแต่ผู้รักใคร่เป็น
คนเดียวกันไปหมด นี่อุดมคติอุปมา ในจุดสูงสุด
ของพระพุทธศาสนา
	 นี่เรียกว่า ประโยชน์ตนกับประโยชน์ผู้อื่น
มั น หลอมเข้ า เป็ น สิ่ ง เดี ย วกั น เสี ย แต่ เ ดี๋ ย วนี้
ยังอยูในระยะการปฏิบติ เราก็ปฏิบตประโยชน์ตน
่
ั
ัิ
พร้อมกันไปกับประโยชน์ผอน โดยเฉพาะอย่างยิง
ู้ ื่
่
ท่านทั้งหลายที่เป็นครู ทำ�หน้าที่ครู อย่ามองแต่
ว่าทำ�ประโยชน์ตน ให้มองที่ทำ�ประโยชน์ผู้อื่น
แล้วประโยชน์ทั้งหลายก็จะกลายเป็นประโยชน์
ของตน นีเ่ ราก็เลยได้มากได้มากกว่าผูทไม่ได้เป็นครู
้ ่ี
	 อาตมาเคยบอก บอกจนเขาหาว่าประจบ
บอกว่าอาชีพครูนั้นประเสริฐที่สุด เพราะมันได้
ทั้งเงินและได้ทั้งบุญ อาชีพหลายๆ อาชีพจะได้
แต่เงินเท่านั้นแหละไม่ได้บุญหรอก แต่ถ้าอาชีพ
ครูนี้จะได้ เงินเดือนหรืออะไรก็ตามประโยชน์
ทางวัตถุนนได้ดวยแล้วได้บญด้วย เพราะว่าอาชีพ
ั้ ้
ุ
ครูนั้นท่านทำ�ประโยชน์ผู้อื่น
	 ครู แปลว่า ผู้เปิดประตูในทางวิญญาณ
ให้คนเดินถูกต้องตามหนทางแล้วก็รอดได้ ฉะนัน
้
จึงว่าครูได้บุญ เป็นอาชีพที่ได้บุญ แล้วเราก็ไม่ได้
อุทิศตนเพียงเพื่อเป็นลูกจ้างสอนหนังสือ เราถือ
อุดมคติว่าเป็นมนุษย์บำ�เพ็ญประโยชน์ตนและ
ประโยชน์ท่านให้สมบูรณ์ ทีนี้อาชีพมันอำ�นวย

19

ที่ สุ ด แล้ ว มั น ให้ ค วามสะดวกแก่ เราแล้ ว ที่ จ ะ
ดำ�เนินอาชีพ มีผลสองอย่างพร้อมกันไปในตัว คือ
การเลี้ยงชีพก็ได้ แล้วบุญก็ได้
	 ถ้าเรารับจ้างทำ�งานอย่างอืนอย่างธรรมดา
่
สามัญ อาจจะได้แต่เงินจากอาชีพแต่บุญไม่ได้
ดังนั้น อาชีพที่จะได้บุญด้วย อันแรกก็ต้องชี้ระบุ
ระบุไปที่อาชีพครู อาตมาพูดอย่างนี้บ่อยๆ เขา
บอกว่าประจบครูแล้ว ก็เลยหาทางออกว่าอาตมา
เป็ น ครู เว้ ย คื อ ตั ว เองก็ พ ยายามทำ � หน้ า ที่ ค รู
ไปอีกแบบหนึงตามหน้าทีของบรรพชิต อย่าระแวง
่
่
ไปว่าเพื่อประจบเลย
	 ฉะนั้น ขอให้ยินดี พอใจ ในอาชีพครูคือ
อาชีพผู้เป็นมัคคุเทศก์ในทางวิญญาณ เปิดประตู
คอกเล้าที่มืดที่เหม็น ที่สกปรกนี้ ให้สัตว์มันได้
ออกมาเสียจากคอกเหล่านั้น
	 นี่จึงเรียกว่าวัตถุที่พึงประสงค์ มีอยู่สองจุด
คือประโยชน์ตัวเองและประโยชน์ผู้อื่น ทบทวน
อีกทีก็ได้ ไม้อิงสามขา ศาสตราจารย์สามอัน
โจรฉกรรจ์สามก๊ก ป่ารกสามดง เวียนวนสามวง
ทุกข์ทนทังสามโลก เขาโคกสามเนิน ทางห้ามเดิน
้
สองแพร่ง ตัวแมลงห้าตัว มารที่น่ากลัวห้าตน
บ่ ว งคล้ อ งคนหกห่ ว ง เหตุ แ ห่ ง สิ่ ง ทั้ ง ปวงหก
ตำ � แหน่ ง แหล่ ง อบายมุ ข สี่ สิ่ ง ที่ ต้ อ งควบคุ ม
สามจุด หนทางแห่งวิมุติมีแปดองค์ วัตถุที่พึง
ประสงค์สองสถาน รวมหมดด้วยกันเป็น 16 หัวข้อ
กล้าท้าว่า เป็นหัวข้อที่สะดวกที่จะจำ� จะศึกษา
เล่าเรียนหรือจะปฏิบัติ แล้วท้าให้มากกว่านั้นอีก
ก็คือว่า ทั้งหมดนี้มีอยู่ในทุกศาสนา เอาชีวิตและ
เกียรติยศเป็นประกันว่า ทุกข้อเหล่านี้ไปค้นได้
จากหลักในพระศาสนาทุกศาสนาเลย
20 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
	 มั น เป็ น สากล ยิ่ ง กว่ า สากล เป็ น เรื่ อ ง
ธรรมชาติ เป็นเรื่องที่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของ
ธรรมชาติ เรา จะทำ � เป็ น อย่ า งอื่ น ไม่ ไ ด้ ถ้ า เรา
ประสงค์ความสงบสุขหรือสันติสุขตามหลักของ
ธรรมชาติ
	 ดั ง นั้ น จึ ง หวั ง ว่ า ท่ า นทั้ ง หลายทุ ก คน
คงจะได้สนใจ ควรจะสนใจนี่ก็เพื่อความสะดวก
จึงได้สรุปไว้เป็นคำ�กลอน แล้วในฐานะเป็นหัวข้อ
จริงๆ จึงได้เรียกว่า ปาฏิโมกข์ ธรรมะปาฏิโมกข์
เอาไว้พูดเล่น ท่องเล่น ให้ติดริมฝีปากไว้ สิบหก
ข้อนี้แล้วก็คงจะสบาย สะดวกสบาย สำ�หรับ
ผูทจะดำ�เนินชีวตเป็นครูบาอาจารย์ แม้วาไม่เป็น
้ ี่
ิ
่
ครูบาอาจารย์ เป็นลูกศิษย์ เป็นคนธรรมดาทัวไป
่
ทังสิบหกหัวข้อนีกยงคงใช้ได้ แปลว่าใช้ได้ส�หรับ
้
้็ั
ำ
ทุกคน ใช้ได้สำ�หรับทุกวิวัฒนาการแห่งบุคคล
ไม่ว่าจะเป็นเด็ก เป็นผู้ใหญ่ เป็นคนเฒ่าคนแก่
ไม่ ว่ า จะเป็ น พ่ อ ค้ า เป็ น ชาวนา เป็น ชาวสวน
เป็ น อะไรก็ ต าม เขาควรจะรู้ ก ฎเกณฑ์ เ หล่ า นี้
แล้วดำ�รงตนอยู่อย่างถูกต้อง เขาก็จะได้ความ
เป็นมนุษย์ที่ดี คือจะได้รับสิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษย์
ควรจะได้รับ
	 บอกเขาว่ า การเกิ ด เป็ น มนุ ษ ย์ นี้ มั น เกิ ด
มาเพื่อทำ�อะไรสักอย่างหนึ่งที่ดีที่สุด คือว่าการ
เกิดมาเป็นมนุษย์นี้ ธรรมชาติมันให้สิ่งๆ หนึ่งมา
สิ่งนั้นคือความสามารถหรือแรงงาน ในแรงงาน
มันมีสมรรถภาพ เราเรียกว่าแรงงาน สิ่งมีชีวิต
มีแรงงาน เราต้องใช้แรงงาน เราต้องใช้แรงงาน
นันตามกฎของธรรมชาติ ดังนัน เราจึงอยูนงไม่ได้
้
้
่ ิ่
เป็ น คนก็ ต าม เป็ น สั ต ว์ ก็ ต าม มั น อยู่ นิ่ ง ไม่ ไ ด้
มั น ต้ อ งเคลื่ อ นไหว ด้ ว ยอำ � นาจของแรงงาน
ที่ธรรมชาติมันให้มา

	 สรุปความว่า มันอยู่นิ่งไม่ได้ มันต้องทำ�
ทีนี้มันก็มีปัญหาเมื่ออยู่นิ่งไม่ได้ ต้องทำ� แล้วจะ
ทำ�อะไร? ก็ตอบว่า ทำ�สิ่งที่เหมาะสมแก่ความ
เป็นมนุษย์ ทำ�สิ่งที่ตรงตามเจตนารมณ์ของความ
เป็นมนุษย์คออะไร? คือถึงจุดสูงสุดของความเป็น
ื
มนุษย์ จุดสูงสุดของความเป็นมนุษย์คืออะไร?
ก็คือความหมดปัญหา เพราะว่าบรรลุถึงนิพพาน
หรือว่าอยู่กับพระเจ้าเป็นนิรันดรไปเลย พูดอย่าง
อุ ป มาก็ พู ด ได้ ว่ า อยู่ กั บ พระเจ้ า อย่ า งนิ รั น ดร
ไปเลย พูดอย่ า งไม่ อุ ปมาก็ พู ด ว่ า มั น ดั บทุ ก ข์
นิรันดร เป็นนิพพานไปเลย นี่คือจุดปลายทาง
สำ�หรับมนุษย์ที่ธรรมชาติมอบให้มา
	 ฉะนั้น ถ้าใครไม่ถึงจุดนี้ เขาก็ยังไม่เป็น
มนุษย์ทเี่ ต็มความหมาย ทีนเี้ ราไม่ให้เสียทีทเี่ กิดมา
เป็นมนุษย์ จะเป็นมนุษย์ให้เต็มความหมาย เราก็
ต้องเดินทางนี้ ทางสำ�หรับมนุษย์เดินจะเรียกว่า
พัฒนาการก็ได้ พัฒนาการกาย จิตวิญญาณทุกอย่าง
ให้มันสูงขึ้นมา มาจนถึงจุดสูงสุดที่เราเรียกกันว่า
รอดทั้ ง ตั ว เองรอดทั้ ง ผู้ อื่ น หน้ า ที่ มั น ก็ ห มด
หมดเท่านั้นแหละ มันไม่มีอะไรดีไปกว่านี้ หน้าที่
มันจบลงไปที่ตรงนี้ คือ เราก็รอดผู้อื่นก็รอด
	 เอาล่ะคิดว่า การบรรยายในวันนี้ ก็พอ
สมควรแก่ เวลาแล้ ว ขอตั้ ง ความปรารถนาว่ า
ทุกสิ่งทุกอย่างจะเป็นไปในทางที่พึงปรารถนา
ขอให้ทกท่านมีก�ลัง มีความเชือ มีความกล้าหาญ
ุ
ำ
่
มีความยินดีพอใจในหน้าทีการงาน แล้วมีความสุข
่
ในการงาน ความสุขอย่างอื่นไม่ดีเท่าความสุข
ในการทำ�งาน แล้วเราก็จะมีความสุขที่แท้จริง
ที่ ไ ม่ ต้ อ งใช้ เ งิ น ซื้ อ อย่ า งที่ เขาไปหาเงิ น มาซื้ อ
ความสุ ข หลอกๆ กั น เราก็ มี ค วามสุ ข แท้ จ ริ ง
โดย ไม่ต้องใช้เงินซื้อ ก็นับว่าดีที่สุดสำ�หรับมนุษย์
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)

More Related Content

What's hot

โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
tassanee chaicharoen
 
แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์ ปานมั่งมี ปี 57
แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์  ปานมั่งมี  ปี 57แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์  ปานมั่งมี  ปี 57
แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์ ปานมั่งมี ปี 57ชินนะ แบงค์
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
วายุ วรเลิศ
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนwatdang
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์pimkhwan
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
niralai
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
Proud N. Boonrak
 
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐรายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
Wichai Likitponrak
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครู
kashinova
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563
Somchart Phaeumnart
 
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา" ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา" ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา" ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา" ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
Somchart Phaeumnart
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
niralai
 
สารสนเทศภาคเรียนที่่ 1 ปีการศึกษา 2564
สารสนเทศภาคเรียนที่่ 1 ปีการศึกษา 2564สารสนเทศภาคเรียนที่่ 1 ปีการศึกษา 2564
สารสนเทศภาคเรียนที่่ 1 ปีการศึกษา 2564
Somchart Phaeumnart
 

What's hot (20)

โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์ ปานมั่งมี ปี 57
แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์  ปานมั่งมี  ปี 57แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์  ปานมั่งมี  ปี 57
แฟ้มผลงาน นายชินวัฒน์ ปานมั่งมี ปี 57
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐรายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครู
 
พิธีไหว้ครู
พิธีไหว้ครูพิธีไหว้ครู
พิธีไหว้ครู
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
 
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563
 
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา" ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา" ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา" ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา" ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
 
สารสนเทศภาคเรียนที่่ 1 ปีการศึกษา 2564
สารสนเทศภาคเรียนที่่ 1 ปีการศึกษา 2564สารสนเทศภาคเรียนที่่ 1 ปีการศึกษา 2564
สารสนเทศภาคเรียนที่่ 1 ปีการศึกษา 2564
 

Similar to TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)

คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
niralai
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
Chawalit Jit
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
chueaphet
 
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
เทศบาล5 อภิเชษฐ์ นิยมเดชา
เทศบาล5   อภิเชษฐ์  นิยมเดชาเทศบาล5   อภิเชษฐ์  นิยมเดชา
เทศบาล5 อภิเชษฐ์ นิยมเดชาapichetniyomdecha
 
เทศบาล5 ฉัตรพิไล จันทร์ราม
เทศบาล5   ฉัตรพิไล   จันทร์รามเทศบาล5   ฉัตรพิไล   จันทร์ราม
เทศบาล5 ฉัตรพิไล จันทร์รามTooNz Chatpilai
 
เทศบาล5 สาวิตรี แสนทวี
เทศบาล5   สาวิตรี  แสนทวีเทศบาล5   สาวิตรี  แสนทวี
เทศบาล5 สาวิตรี แสนทวีsawitreesantawee
 
เทศบาล5 กมลเนตร ดิสโสภา
เทศบาล5   กมลเนตร ดิสโสภาเทศบาล5   กมลเนตร ดิสโสภา
เทศบาล5 กมลเนตร ดิสโสภาkamonnet
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Wat Thai Washington, D.C.
 
นำเสนอ ร.ร
นำเสนอ ร.รนำเสนอ ร.ร
นำเสนอ ร.รpoo123456789
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
Taweedham Dhamtawee
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)
โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)
โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)TooNz Chatpilai
 

Similar to TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้) (20)

คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
V 256
V 256V 256
V 256
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
 
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
 
Rt2554
Rt2554Rt2554
Rt2554
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
 
3 23-6-53
3 23-6-533 23-6-53
3 23-6-53
 
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
 
เทศบาล5 อภิเชษฐ์ นิยมเดชา
เทศบาล5   อภิเชษฐ์  นิยมเดชาเทศบาล5   อภิเชษฐ์  นิยมเดชา
เทศบาล5 อภิเชษฐ์ นิยมเดชา
 
เทศบาล5 ฉัตรพิไล จันทร์ราม
เทศบาล5   ฉัตรพิไล   จันทร์รามเทศบาล5   ฉัตรพิไล   จันทร์ราม
เทศบาล5 ฉัตรพิไล จันทร์ราม
 
เทศบาล5 สาวิตรี แสนทวี
เทศบาล5   สาวิตรี  แสนทวีเทศบาล5   สาวิตรี  แสนทวี
เทศบาล5 สาวิตรี แสนทวี
 
เทศบาล5
เทศบาล5 เทศบาล5
เทศบาล5
 
เทศบาล5 กมลเนตร ดิสโสภา
เทศบาล5   กมลเนตร ดิสโสภาเทศบาล5   กมลเนตร ดิสโสภา
เทศบาล5 กมลเนตร ดิสโสภา
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
 
นำเสนอ ร.ร
นำเสนอ ร.รนำเสนอ ร.ร
นำเสนอ ร.ร
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)
โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)
โรงเรียนเทศบาล5(วัดหัวป้อมนอก)
 

More from SAKANAN ANANTASOOK

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
SAKANAN ANANTASOOK
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
SAKANAN ANANTASOOK
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
SAKANAN ANANTASOOK
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
SAKANAN ANANTASOOK
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
SAKANAN ANANTASOOK
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
SAKANAN ANANTASOOK
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
SAKANAN ANANTASOOK
 

More from SAKANAN ANANTASOOK (20)

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
 
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
 

TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)

  • 1. คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ จัดพิมพ์โดย ทุนสนับสนุนการจัดโครงการประชุมปฏิบัติการสร้างสื่อและคู่มือการปฏิบัติตน ของครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเครือข่ายครู สควค. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำ�ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
  • 2. “หนังสือเป็นสิ่งสำ�คัญสำ�หรับการพัฒนาทั้งกาย ทั้งอาชีพ ทั้งความรู้ วิ ช าการ ทั้ ง การค้ น คว้ า และในที่ สุ ด ในความพอใจในทางจิ ต ใจของมนุ ษ ย์ ขันสูงทีสด จนกระทังถ้าคนใดอยากมีความรูในด้านจิตวิทยาหรือในด้านปรัชญา ้ ุ่ ่ ้ จนกระทังอาจอยากทีจะเรียนทางธรรมะหรือศาสนา จนกระทังเป็นคนทีสามารถ ่ ่ ่ ่ ไปสู่ความสุขที่แท้จริงคือ ความนิ่งในจิตใจ เป็นผู้รอบรู้แท้ๆ ก็ย่อมต้องอาศัย หนังสือ เพราะหนังสือเป็นการสะสมความรูและทุกสิงทุกอย่างทีมนุษย์ได้สร้างมา ้ ่ ่ ทำ�มา คิดมาแต่โบราณกาลจนทุกวันนี้ หนังสือจึงเป็นสิ่งที่สำ�คัญ เป็นคล้ายๆ ธนาคารความรู้และเป็นออมสิน เป็นสิ่งที่จะทำ�ให้มนุษย์ก้าวหน้าได้โดยแท้” พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะสมาชิกห้องสมุดทั่วประเทศ ในโอกาสที่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา วันพฤหัสบดี ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๔
  • 3. “งานของครู นั้ น เป็ น งานพิ เ ศษ ที่ จ ะหวั ง ผลตอบแทนเป็ น ความรํ่ า รวย ยศศักดิ์หรืออำ�นาจความเป็นใหญ่เหมือน งานอื่นๆ ได้โดยยาก ผลตอบแทนที่สำ�คัญ ย่อมเป็นผลทางใจคือ ความปิติชุ่มชื่นใจ ที่ ไ ด้ ฝึ ก สอนคนให้ ไ ด้ ดี มี ค วามเจริ ญ กับได้ผูกพันจิตใจคนเป็นพันเป็นหมื่นไว้ได้ อย่างแน่นแฟ้น ทังนีเ้ พราะครูแต่ละคนนัน ต่างได้ ้ ้ แผ่ เ มตตาสั่ ง สอนศิ ษ ย์ ม ากมายหลายรุ่ น ให้มทงความรูและความดี ทำ�ให้เขาเหล่านัน ี ้ั ้ ้ สามารถดำ�เนินชีวิตและประกอบกิจการ งานได้ทุกระดับทุกสาขา ให้เป็นประโยชน์ ทั้งแก่ตนเองและส่วนรวม” พระราโชวาทสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในโอกาสที่คณะครูอาวุโสเข้าเฝ้าฯ รับพระราชทานเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ และเงินช่วยเหลือ ณ ศาลาดุสิดาลัย วันเสาร์ที่ ๑๕ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๕๒ “การที่จะทำ�ให้เป้าหมายทั้งเชิง ปริมาณและคุณภาพดังกล่าวสำ�เร็จลุล่วง ไปได้ ย่อมต้องอาศัยครูเป็นปัจจัยสำ�คัญ แม้ในปัจจุบันเทคโนโลยีจะก้าวหน้า ข้อมูล ข่าวสารไร้พรมแดน แต่กไม่สามารถทดแทน ็ ครู ไ ด้ เพราะการศึ ก ษามิ ใช่ เ ป็ น เพี ย ง การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเท่านั้น สิ่งสำ�คัญ กว่าคือ การฝึกคิดการบ่มนิสัยให้แต่ละคน สามารถพึ่งพาตนเองและมีนํ้าใจเอื้อเฟื้อ เผื่ อ แผ่ ต่ อ คนอื่ น ส่ ว นนี้ ต้ อ งใช้ ค นสอน เท่ า นั้ น ยิ่ ง เทคโนโลยี ก้ า วไกลเพี ย งใด ก็ยิ่งต้องการครูที่มีความสามารถมากขึ้น เพี ย งนั้ น ครู ต้ อ งพั ฒ นาตนเองให้ รู้ เท่าทันโลก จึงจะสามารถอบรมบ่มนิสัย คนในยุคใหม่ได้” พระราชดำ�รัสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ หอประชุมคุรุสภา กระทรวงศึกษาธิการ ในโอกาสเสด็จพระราชดำ�เนิน ไปทรงเปิดงานวันครูโลก ๒๐๐๔ วันอังคารที่ ๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗
  • 4. เพลง แม่พิมพ์ของชาติ เพลง พระคุณที่สาม ผู้แต่ง : ครูสุเทพ โชคสกุล ผู้แต่ง : ครูอร่าม ขาวสะอาด เนื้อเพลง : แสงเรืองๆ ที่ส่องประเทืองอยู่ทั่วเมืองไทย คือแม่พิมพ์อันน้อยใหญ่ โอ้ครูไทยในแดนแหลมทอง เหนื่อยยากอย่างไร ไม่เคยบ่นไปให้ใครเขามอง ครูนั้นยังลำ�พอง ในเกียรติของตนเสมอมา เนื้อเพลง : ครูบาอาจารย์ที่ท่านประทานความรู้มาให้ อบรมจิตใจให้รู้ผิดชอบชั่วดี ก่อนจะนอนสวดมนต์อ้อนวอนทุกที ขอกุศลบุญบารมีส่งเสริมครูนี้ให้ร่มเย็น ที่ทำ�งานช่างสุดกันดารในป่าดงไพร ถึงจะไกลก็เหมือนใกล้ เร่งรุดไปให้ทันเวลา กลับบ้านไม่ทัน บางวันต้องไปอาศัยหลวงตา ครอบครัวคอยท่า ไม่รู้ว่าไปอยู่ไหน ถึงโรงเรียนก็เจียนจะสายจวนได้เวลา เห็นศิษย์รออยู่พร้อมหน้า ต้องรีบมาทำ�การสอน ไม่มีเวลาที่จะได้มาหยุดพอพักผ่อน โรงเรียนในดงป่าดอน ให้โหยอ่อนสะท้อนอุรา ชื่อของครูฟังดูก็รู้ชวนชื่นใจ งานที่ทำ�ก็ยิ่งใหญ่ สร้างชาติไทยให้วัฒนา ฐานะของครูใครๆ ก็รู้ว่าด้อยหนักหนา ยังสู้ทนอุตส่าห์สั่งสอนศิษย์มาเป็นหลายปี นี่แหละครูที่ให้ความรู้อยู่รอบเมืองไทย หวังสิ่งเดียวคือขอให้เด็กของไทยในผืนธานี ได้มีความรู้เพื่อช่วยเชิดชูไทยให้ผ่องศรี ครูกภมใจทีสมความเหนือยยากตรากตรำ�มา... ็ูิ ่ ่ ครูมีบุญคุณจึงต้องเทิดทูนเอาไว้เหนือเกล้า ท่านสั่งสอนเราอบรมให้เราไม่เว้น ท่านอุทิศไม่คิดถึงความยากเย็น สอนจนรู้จัดเจน เฝ้าแนะเฝ้าเน้นมิได้อำ�พราง * พระคุณที่สามงดงามแจ่มใส แต่ว่าใครหนอใครเปรียบเปรยครูไว้ ว่าเป็นเรือจ้าง นอกจากความจริงยิ่งคิดยิ่งเห็นว่าผิดทาง มีใครไหนบ้างแนะนำ�แนวทางอย่างครู บุญเคยทำ�มาตั้งแต่ปางใด เรายกให้ท่าน ตั้งใจกราบกราน ระลึกคุณท่านกตัญญู โรคและภัยอย่ามาแผ้วพานคุณครู ขอกุศลผลบุญคํ้าชูให้ครูมีสุขชั่วนิรันดร (ซํ้า *) ให้ครูมีสุข...ชั่วนิรันดร
  • 5. คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ บทบรรณาธิการ เมื่ อ ครั้ ง การจั ด โครงการพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยครู สควค. ในปี ๒๕๕๒ เราคิดกันว่า จะทำ�กองทุน จึงทำ�เสื้อ “ครู สควค. รักครอบครัว” ขึ้นมาจำ�หน่าย ได้กำ�ไรมา เล็กน้อย ๑,๕๐๐ บาทเป็นทุนก้อนแรกของกองทุนของ พวกเรา ต่อมาปี ๒๕๕๓ เราเดินหน้าเรื่อง “กองทุนครู สควค. ครูผสร้างสังคมแห่งการเรียนรู”อย่างจริงจัง โดย ู้ ้ มีเป้าหมายเพื่อตั้งมูลนิธิครู สควค. ในอนาคต ซึ่งมีเพื่อน ที่เห็นดีเห็นงามและสนับสนุนเราด้วยจำ�นวนไม่มากนัก แต่พวกเราคิดว่า “เรารอได้” เพราะอาจจะอ่อนการ ประชาสัมพันธ์และเราต้องการแสวงหาความร่วมมือ หนังสือฉบับนี้ ตั้งใจทำ�ออกมาพิเศษสำ�หรับเพื่อน ครู สควค. ภาคอีสาน โดยอยู่บนพื้นฐานที่ว่า ในฐานะ ครูคนหนึ่งนั้น ควรจะทราบว่าตนเองจะต้องปฏิบัติตน อย่างไร ทั้งในฐานะที่เป็นครู เป็นชาวพุทธและเป็นมนุษย์ คนหนึ่ง ซึ่งเชื่อว่าหากได้ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว ความเป็นมงคลแก่ชีวิตของตนเองและความก้าวหน้า ในวิชาชีพย่อมเกิดขึ้นอย่างแน่นอน หากมี ข้ อ เสนอแนะประการใด ขอน้ อ มรั บ ไว้ ด้วยความขอบคุณ สารบัญ หน้า ๖ - แบบแผนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ตามจรรยาบรรณวิชาชีพทางการศึกษา - มาตรฐานครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ๑๔ และเทคโนโลยี - ครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๑๖ - คุณลักษณะของครู สควค.ที่พึงประสงค์ ๑๗ - ครูเพื่อความอยู่รอดของผู้อื่น ๑๘ - ทิศ ๖ หลักแห่งการปฏิบัติต่อกันที่ดีงาม ๒๑ - มงคลชีวิต ๓๘ ประการ ๒๔ - ข้าวตอกดอกไม้บนพานไหว้ครู ๒๗ - บทสวดมนต์และไหว้ครู ๒๘ - บทสวดมนต์และระลึกถึง ๒๘ พระคุณบุรพาจารย์ - ปฏิทินชีวิต พลังใจประจำ�วัน ๒๙ - คำ�ขวัญประจำ�จังหวัด ๓๐ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - บทสวดมนต์/คาถา แก้วสารพัดนึก ๓๒ ที่ปรึกษา อ.พรพรรณ ไวทยางกูร, อ.ดวงสมร คล่องสารา, อ.อรวรรณ อิ น ทวิ ช ญ, อ.ปราณี สร้ อ ยสั้ น , อ.พวงเพ็ญ บุญญภัทโร, อ.โสภณ แย้มทองคำ�, อ.มิตรชัย คำ�งอก, อ.สุประดิษฐ สะอาด, ผอ.ธนชัย สุทธิยานุช, รอง ผอ.พล สีดี, รอง ผอ.ประเสริฐ สันทอง, นายไพรัช อนันตสุข คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เจ้าของ ชมรมครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (ครู สควค.) สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสครบรอบ ๕ ปี การก่อตั้งชมรมครู สควค. วันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ และสนับสนุนการดำ�เนินกิจกรรมของกองทุนครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ดาวน์โหลดฉบับออนไลน์ที่เว็บไซต์ www.krusmart.com โทร ๐๘๙๐๒๘๖๓๒๗ (anantasook@gmail.com) บรรณาธิการ ศักดิ์อนันต์ อนันตสุข ผู้ช่วยบรรณาธิการ รัสนา อนันตสุข กองบรรณาธิการ ว่องไว ธุอินทร์, ณัฐพล แสงทวี, บุญเลี้ยง จอดนอก, ชำ�นาญ เพริดพราว, วงค์ณภา แก้วไกรษร, จตุรภัทร ประทุม, ทองคำ� อำ�ไพ พิมพ์ที่ บริษัท รุ่งธนเกียรติออฟเซ็ท จำ�กัด พิมพ์ครั้งแรก พฤษภาคม ๒๕๕๔ จำ�นวน ๕๐๐ เล่ม 5
  • 6. 6 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ แบบแผนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ตามจรรยาบรรณวิชาชีพทางการศึกษา จรรยาบรรณต่อตนเอง ๑. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวนยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ ้ ิ ั และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ วิชาชีพครู ๑. ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างที่ดี ๒. ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำ�เนินชีวิตตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย ๓. ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้สำ�เร็จอย่างมีคุณภาพตามเป้าหมายที่กำ�หนด ๔. ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และสะสมผลงานอย่างสมํ่าเสมอ ๕. ค้นคว้า แสวงหา และนำ�เทคนิคด้านวิชาชีพทีพฒนาและก้าวหน้าเป็นทียอมรับมาใช้แก่ศษย์ ่ ั ่ ิ และผู้รับบริการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่พึงประสงค์ วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ๑. ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างที่ดี ๒. ศึกษา ค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในการพัฒนาวิชาชีพอยู่เสมอ ๓. ส่งเสริมและพัฒนาครูในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ ๔. สร้างผลงานที่แสดงถึงการพัฒนาความรู้และความคิดในวิชาชีพจนเป็นที่ยอมรับ ๕. ส่งเสริมการปฏิบัติงานโดยมีแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมและใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน และก้าวทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ๑. ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างที่ดี ๒. ศึกษา ค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในการพัฒนาวิชาชีพอยู่เสมอ ๓. ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพ ๔. นำ�แนวทางหรือรูปแบบใหม่มาใช้ในการปฏิบัติงานจนเกิดประโยชน์ต่องานในหน้าที่และ องค์กร ๕. สามารถใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน ๖. สร้างผลงานที่แสดงถึงการค้นพบและพัฒนาความรู้ความคิดในวิชาชีพ ๗. เป็ น ผู้ นำ � ในการจั ด ทำ � แผนปฏิ บั ติ ก ารให้ เ หมาะสมกั บ สภาพปั จ จุ บั น และก้ า วทั น การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
  • 7. คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 7 วิชาชีพศึกษานิเทศก์ ๑. ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างที่ดี ๒. ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้สำ�เร็จอย่างมีคุณภาพตามเป้าหมายที่กำ�หนด ๓. ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และสะสมผลงานอย่างสมํ่าเสมอ ๔. สร้างผลงานที่แสดงถึงการพัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ ๕. ค้นหาวิธีการทำ�งาน การพัฒนาวิชาชีพ และ สามารถนำ�มาประยุกต์ให้เกิดผลดีต่อผู้รับการ นิเทศ ๖. นิเทศโดยยึดผู้รับการนิเทศเป็นสำ�คัญด้วยกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันอย่างสมํ่าเสมอ ๗. พัฒนาวิสยทัศน์โดยผสมผสานนวัตกรรม เทคโนโลยี และแนวคิด เพือใช้ในการพัฒนาวิชาชีพ ั ่ จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ๒. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและ เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ วิชาชีพครู ๑. แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ ๒. รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ๓. ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพให้สาธารณชนรับรู้ ๔. อุทิศตนเพื่อความก้าวหน้าของวิชาชีพ ๕. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตตามกฎระเบียบและแบบแผนของทาง ราชการ ๖. เลือกใช้หลักวิชาที่ถูกต้อง สร้างสรรค์เทคนิค วิธีการใหม่ๆ เพื่อพัฒนาวิชาชีพ ๗. ใช้องค์ความรู้หลากหลายในการปฏิบัติหน้าที่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกในองค์กร ๘. เข้าร่วมกิจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์
  • 8. 8 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ๑. แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ ๒. รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ๓. ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพให้สาธารณชนรับรู้ ๔. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตตามกฎระเบียบและแบบแผนของทาง ราชการ ๕. ปฏิบตหน้าทีดวยความมุงมัน ตังใจ และใช้ความรูความสามารถในการพัฒนาครูและบุคลากร ัิ ่้ ่ ่ ้ ้ ๖. สนับสนุนการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาครู การเรียน การสอน และการบริหารสถาน ศึกษา ๗. ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัยและนำ�เสนอผลงานที่เกี่ยวข้อง กับวิชาชีพ ๘. เข้าร่วม ส่งเสริม และประชาสัมพันธ์กจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์ ิ วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ๑. แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ ๒. รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ๓. ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพให้สาธารณชนรับรู้ ๔. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตตามกฎระเบียบและแบบแผนของทาง ราชการ ๕. ปฏิบตหน้าทีดวยความมุงมัน ตังใจ และใช้ความรูความสามารถในการพัฒนาครูและบุคลากร ัิ ่้ ่ ่ ้ ้ ๖. ให้ความร่วมมือจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนางานที่ตนปฏิบัติหรืองานที่รับผิดชอบ โดยไม่เรียกร้องผลประโยชน์ตอบแทนที่ควรได้รับ ๗. สนับสนุน ส่งเสริมการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย และนำ�เสนอผลงานที่เกี่ยวข้อง กับวิชาชีพ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวิชาชีพ ๘. สร้างสรรค์เทคนิค วิธีการใหม่ทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพ ๙. เข้าร่วม ส่งเสริม และประชาสัมพันธ์กิจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กร
  • 9. คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 9 วิชาชีพศึกษานิเทศก์ ๑. แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ ๒. รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ๓. ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพให้สาธารณชนรับรู้ ๔. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตตามกฎระเบียบและแบบแผนของทาง ราชการ ๕. เลือกใช้หลักการ วิธีการที่ถูกต้อง ได้ผลดี ทันสมัย และสอดคล้องกับผู้รับการนิเทศ ๖. อุทิศตนเพื่อประโยชน์ของผู้รับการนิเทศและความก้าวหน้าของวิชาชีพ ๗. สร้างสรรค์เทคนิค วิธการใหม่ๆ ทางการศึกษาเพือพัฒนาวิชาชีพ เป็นสมาชิกทีดขององค์กร ี ่ ่ี วิชาชีพ ๘. แลกเปลียนเรียนรูกบสมาชิกในองค์กรหรือวิชาชีพอย่างต่อเนือง ใช้ศาสตร์องค์ความรูในการ ่ ้ั ่ ้ ปฏิบัติงาน ๙. เข้าร่วม ส่งเสริม และประชาสัมพันธ์กจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์ ิ จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ๓. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำ�ลังใจ แก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่ โดยเสมอหน้า ๔. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้อง ดีงามแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่ อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ ๕. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ๖. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทำ�ตนเป็นปฏิปักษ์ ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ และผู้รับบริการ ๗. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการ ด้วยความจริงใจ และเสมอภาค โดยไม่ เรียกรับ หรือยอมรับผลประโยชน์ จากการใช้ตำ�แหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
  • 10. 10 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ วิชาชีพครู ๑. ให้คำ�ปรึกษาหรือช่วยเหลือศิษย์และผู้รับบริการด้วยความเมตตากรุณาอย่างเต็มกำ�ลัง ความสามารถและเสมอภาค ๒. สนับสนุนการดำ�เนินงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชนและผู้ด้อยโอกาส ๓. ตังใจ เสียสละ และอุทศตนในการปฏิบตหน้าที่ เพือให้ศษย์และผูรบบริการได้รบการพัฒนา ้ ิ ัิ ่ ิ ้ั ั ตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจของแต่ละบุคคล ๔. ส่งเสริมให้ศิษย์และผู้รับบริการสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากสื่ออุปกรณ์ และ แหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย ๕. ให้ศษย์และผูรบบริการ มีสวนร่วมวางแผนการเรียนรูและเลือกวิธการปฏิบตทเี่ หมาะสมกับตนเอง ิ ้ั ่ ้ ี ัิ ๖. เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และผู้รับบริการด้วยการรับฟังความคิดเห็น ยกย่อง ชมเชย และให้กำ�ลังใจอย่างกัลยาณมิตร วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ๑. ปฏิบัติงานหรือให้บริการอย่างมีคุณภาพ โดยคำ�นึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้รับบริการ ๒. ส่งเสริมให้มีการดำ�เนินงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชน และผู้ด้อยโอกาส ๓. บริหารงานโดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ๔. รับฟังความคิดเห็นที่มีเหตุผลของศิษย์และผู้รับบริการ ๕. ให้ครูและบุคลากร มีสวนร่วมวางแผนการปฏิบตงานและเลือกวิธการทีเหมาะสมกับตนเอง ่ ัิ ี ่ ๖. เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และผู้รับบริการด้วยการรับฟังความคิดเห็น ยกย่อง ชมเชย และให้กำ�ลังใจอย่างกัลยาณมิตร ๗. ให้ศิษย์และผู้รับบริการได้มีส่วนร่วมในการเสนอแนวคิดหรือวิธีการที่เป็นประโยชน์ต่อการ พัฒนาวิชาชีพ วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ๑. ปฏิบัติงานหรือให้บริการอย่างมีคุณภาพ โดยคำ�นึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้รับบริการ ๒. ส่งเสริมให้มีการดำ�เนินงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชนและผู้ด้อยโอกาส ๓. บริหารงานโดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ๔. รับฟังความคิดเห็นที่มีเหตุผลของผู้รับบริการ ๕. ปฏิบัติหน้าที่อย่างมุ่งมั่น ตั้งใจเพื่อให้ผู้รับบริการพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ๖. ให้ผู้รับบริการได้ร่วมวางแผนการปฏิบัติงานและเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมกับตนเอง ๗. เป็นกัลยาณมิตรกับผู้รับบริการ
  • 11. คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 11 วิชาชีพศึกษานิเทศก์ ๑. สนับสนุน ส่งเสริมผู้รับการนิเทศ ให้ประสบความสำ�เร็จตามความถนัดความสนใจ และ ศักยภาพของแต่ละคน ๒. ส่งเสริมให้มีการดำ�เนินงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชนและผู้ด้อยโอกาส ๓. มีข้อมูล แนวทางที่ปฏิบัติที่หลากหลายให้ผู้รับการนิเทศนำ�ไปใช้เป็นตัวอย่าง ๔. รับฟังความคิดเห็นที่มีเหตุผลของผู้รับการนิเทศ ๕. ปฏิบัติหน้าที่อย่างมุ่งมั่น ตั้งใจ เพื่อให้ผู้รับการนิเทศพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ๖. ให้ผู้รับการนิเทศได้ร่วมวางแผนพัฒนาตนเองและเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับตนเอง ๗. เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้ผู้รับการนิเทศด้วยการรับฟังความคิดเห็น ยกย่องชมเชยและ ให้กำ�ลังใจอย่างกัลยาณมิตร จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๘. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ วิชาชีพครู ๑. เสียสละ เอื้ออาทร และให้ความช่วยเหลือผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๒. มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกัน ผนึกกำ�ลังในการพัฒนาการศึกษา วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ๑. ริเริ่มสร้างสรรค์ในการบริหารเพื่อให้เกิดการพัฒนาทุกด้านต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๒. ส่งเสริมและพิทักษ์สิทธิของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๓. เป็นผู้นำ�ในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา ๔. ใช้ระบบคุณธรรมในการพิจารณาผลงานของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๕. มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกันผนึกกำ�ลังในการพัฒนาการศึกษา ๖. ยอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ๑. ริเริ่มสร้างสรรค์ในการบริหารเพื่อให้เกิดการพัฒนาทุกด้านต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๒. ส่งเสริมและพิทักษ์สิทธิของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๓. เป็นผู้นำ�ในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา ๔. ใช้ระบบคุณธรรมในการพิจารณาผลงานของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๕. มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกันผนึกกำ�ลังในการพัฒนาการศึกษา ๖. ยอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
  • 12. 12 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ วิชาชีพศึกษานิเทศก์ ๑. เสียสละ เอื้ออาทร และให้ความช่วยเหลือผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๒. ส่งเสริมและพิทักษ์สิทธิของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๓. เป็นผู้นำ�ในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา ๔. ยอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๕. มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกันผนึกกำ�ลังในการพัฒนาการศึกษา จรรยาบรรณต่อสังคม ๙. ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบตตนเป็นผูน�ในการอนุรกษ์และพัฒนา ้ ัิ ้ ำ ั เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข วิชาชีพครู ๑. ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ๒. นำ�ภูมปญญาท้องถินและศิลปวัฒนธรรม มาเป็นปัจจัยในการจัดการศึกษาให้เป็นประโยชน์ ิ ั ่ ต่อส่วนรวม ๓. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ศษย์เกิดการเรียนรูและสามารถดำ�เนินชีวตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ิ ้ ิ ๔. เป็นผู้นำ�ในการวางแผนและดำ�เนินการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น และศิลปวัฒนธรรม วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ๑. ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ๒. ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในทางวิชาการ หรือวิชาชีพแก่ชุมชน ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมเพือให้ศษย์และผูรบบริการเกิดการเรียนรู้ และสามารถ ่ ิ ้ั ดำ�เนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ๔. เป็นผู้นำ�ในการวางแผนและดำ�เนินการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาเศรษฐกิจ
  • 13. คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 13 วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ๑. ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ๒. ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในทางวิชาการ หรือวิชาชีพแก่ชุมชน ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมเพือให้ศษย์และผูรบบริการเกิดการเรียนรู้ และสามารถ ่ ิ ้ั ดำ�เนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ๔. เป็นผู้นำ�ในการวางแผนและดำ�เนินการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น และศิลปวัฒนธรรม วิชาชีพศึกษานิเทศก์ ๑. ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ๒. ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในทางวิชาการ หรือวิชาชีพแก่ชุมชน ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมเพือให้ศษย์และผูรบบริการเกิดการเรียนรู้ และสามารถ ่ ิ ้ั ดำ�เนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ๔. เป็นผู้นำ�ในการวางแผนและดำ�เนินการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น และศิลปวัฒนธรรม เพลง ใครคือครู... ใครคือครู ครูคือใคร ในวันนี้ ใช่อยู่ที่ เรียกว่า ครูอาจารย์ ครูคือผู้ ชี้นำ� ทางความคิด ให้รู้ทุกข์ รู้ยาก รู้พากเพียร ครูคือผู้ ยกระดับ วิญญาณมนุษย์ ปลุกสำ�นึก สั่งสม อุดมการณ์ ครูจึงเป็น นักสร้าง ผู้ใหญ่ยิ่ง สร้างคนให้ ได้เป็นตัว ของตัวเอง เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ ประพันธ์ ใช่อยู่ที่ ปริญญา มหาศาล ใช่อยู่นาน สอนนาน ในโรงเรียน ให้รู้ถูก รู้ผิด คิดอ่านเขียน ให้รู้เปลี่ยน แปลงสู้ รู้สร้างงาน ให้สูงสุด กว่าสัตว์ เดรัจฉาน มีดวงมาลย์ เพื่อมวลชน ใช่ตนเอง สร้างคนจริง สร้างคนกล้า สร้างคนเก่ง ขอมอบเพลง นี้มา บูชาครู
  • 14. 14 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ก�หนดมาตรฐานครูวทยาศาสตร์ ำ ิ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ขึ้นโดยมีเป้าหมาย ดังนี้ ๑. เพื่อให้ครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ได้มีแนวทางการพัฒนาตนเองและ พัฒนางานให้เข้าสู่มาตรฐานสากล ๒. เพือให้สถานศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาครูวทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ่ ิ ให้มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานที่กำ�หนด วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีบทบาทสำ�คัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดและศักยภาพของบุคคล ในด้านความมีเหตุผล ความมีระบบและเป็นระเบียบ การสื่อสาร การเลือกสรรสารสนเทศและการ กำ�หนดกลยุทธ์ในการแก้ปัญหา ซึ่งล้วนเกี่ยวข้องกับการดำ�เนินชีวิตของทุกคน และยังเป็นเครื่องมือ สร้างเสริมทักษะเพื่อการศึกษาในศาสตร์อื่นๆ อีกด้วย มาตรฐานครูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่งเน้นให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนที่พัฒนา ผู้เรียนให้เกิดความรู้ ความคิด ทักษะ กระบวนการเรียนรู้ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ทีพงประสงค์ตามมาตรฐานทีสอดคล้องกับสังคมไทยและทัดเทียมกับนานาชาติ ประกอบด้วยมาตรฐาน ่ ึ ่ หลัก ๑๐ มาตรฐาน แบ่งเป็นมาตรฐานย่อย ๔๐ ข้อ และ ๗๖ ตัวชี้บ่ง ที่อยู่ในกรอบของคุณลักษณะ ๓ ด้าน คือ ความรู้ การแสดงออกและความสามารถ สาระสำ�คัญของมาตรฐานครูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าใจในธรรมชาติของวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ประกอบด้วยโครงสร้างเนื้อหาตามหลักสูตรและสาระความรู้ของวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แนวคิดด้านกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และการแก้ปัญหา รวมทั้ง สามารถนำ�ความรูความเข้าใจไปสร้างประสบการณ์การเรียนรูทท�ให้เนือหาวิชามีความหมายต่อผูเ้ รียน ้ ้ ี่ ำ ้ มาตรฐานที่ ๒ การนำ�วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้อย่างมีคุณธรรมและมีความสนใจ ใฝ่พฒนาวิชาชีพของตนเอง ใช้วชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคณธรรมทีกอให้เกิดประโยชน์ ั ิ ุ ่่ ต่อสังคม และการดำ�รงชีวิตโดยคำ�นึงถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพ รวมทั้งเป็นผู้ที่ใฝ่หาโอกาสในการ พัฒนาวิชาชีพของตนเอง มาตรฐานที่ ๓ การจัดโอกาสในการเรียนรู้ตามระดับการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียน เข้ า ใจถึ ง ระดั บ การเรี ย นรู้ แ ละพั ฒ นาการเรี ย นของผู้ เรี ย น จั ด โอกาสในการเรี ย นรู้ ใ ห้ แ ก่ ผู้ เรี ย น เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทางสติปัญญา สังคมและบุคลิกภาพ
  • 15. คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 15 มาตรฐานที่ ๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามความแตกต่างของผู้เรียน เข้าใจถึงความ แตกต่างของผู้เรียนและใช้ความแตกต่างดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนา โอกาสในการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับผู้เรียน มาตรฐานที่ ๕ การใช้วิธีการสอนที่เหมาะสมเพื่อช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน เข้าใจ และใช้วิธีการสอนอย่างหลากหลาย เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดด้านการวิเคราะห์วิจารณ์ การแก้ปัญหาและทักษะปฏิบัติ มาตรฐานที่ ๖ การสร้างแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงบันดาลใจ เข้าใจถึงแรงกระตุ้นและ พฤติกรรมของผู้เรียนหรือกลุ่มของผู้เรียน และสามารถสร้างสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ที่ส่งเสริม การมีปฏิสัมพันธ์กันในทางบวก เพื่อก่อให้เกิดการเรียนรู้และแรงบันดาลใจ มาตรฐานที่ ๗ พัฒนาทักษะการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้โดยการสืบเสาะหาความรู้ มีทักษะการสื่อสารและสามารถใช้ภาษาอย่างถูกต้องทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก ใช้วิธี การสื่อสารเพื่อกระตุ้นให้มีการสืบเสาะหาความรู้ การมีปฏิสัมพันธ์และการทำ�งานร่วมกัน มาตรฐานที่ ๘ การพัฒนาหลักสูตร สาระการเรียนรูและการวางแผนการสอน พัฒนาหลักสูตร ้ ที่อยู่บนพื้นฐานของสาระและมาตรฐานการเรียนรู้อย่างสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและ พัฒนาผู้เรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ มาตรฐานที่ ๙ การประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ใช้วิธีการประเมินผลตามสภาพจริงและ นำ�ผลการประเมินไปใช้เพือยืนยันถึงพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนอย่างต่อเนืองทังทางสติปญญา สังคม ่ ้ ้ ่ ้ ั และร่างกาย มาตรฐานที่ ๑๐ การนำ�ชุมชนมาร่วมจัดการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้แก่ผู้เรียน ส่งเสริม ความสัมพันธ์กบผูรวมงานในสถานศึกษา ผูปกครอง และองค์กรในชุมชนเพือสนับสนุนการเรียนรูและ ั ้่ ้ ่ ้ พัฒนาการเรียนรู้แก่ผู้เรียน คณิตศาสตร์มีบทบาทสำ�คัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดและศักยภาพของบุคคลในด้านความมี เหตุผล ความมีระบบและเป็นระเบียบ มีแบบแผนสามารถวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่าง ถีถวน รอบคอบ ทำ�ให้สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจและแก้ปญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ่้ ั และเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานครูคณิตศาสตร์ มุงเน้นให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนทีพฒนาผูเ้ รียนให้เกิดความรู้ ่ ่ ั ความคิด ทักษะ กระบวนการเรียนรู้ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพงประสงค์ตามมาตรฐาน ่ ึ ที่สอดคล้องกับสังคมไทยและทัดเทียมกับนานาชาติ ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก ๑๐ มาตรฐาน แบ่งเป็นมาตรฐานย่อย ๓๗ ข้อ และ ๗๕ ตัวชี้บ่ง ที่อยู่ในกรอบของคุณลักษณะ ๓ ด้าน คือ ความรู้ การแสดงออกและความสามารถ
  • 16. 16 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สาระสำ�คัญของมาตรฐานครูคณิตศาสตร์ มีดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร์ เข้าใจในธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร์ทประกอบ ี่ ด้วยโครงสร้างเนื้อหาตามหลักสูตรและสาระความรู้ของ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับการ แก้ปญหาและสามารถนำ�ความรูความเข้าใจไปสร้างประสบการณ์การเรียนรูทท�ให้เนือหาวิชามีความ ั ้ ้ ี่ ำ ้ หมายต่อผู้เรียน มาตรฐานที่ ๒ การนำ�คณิตศาสตร์มาใช้อย่างมีคุณธรรมและมีความสนใจใฝ่พัฒนาวิชาชีพ ของตนเอง ใช้คณิตศาสตร์อย่างมีคุณธรรมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการดำ�รงชีวิตโดยคำ�นึง ถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพ รวมทั้งเป็นผู้ที่ใฝ่หาโอกาสในการพัฒนาวิชาชีพของตนเอง มาตรฐานที่ ๓-๑๐ มีรายละเอียดเดียวกับมาตรฐานครูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ “ครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้” เป็นข้อความที่ชมรมครู สควค. ใช้ในการ ประชาสัมพันธ์และสร้างภาพลักษณ์ของเครือข่ายครู สควค. มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยหยิบยก ข้อความ “สังคมแห่งการเรียนรู” มาจาก พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ โดยกำ�หนดไว้วา ้ ่ “ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้” คือ ครู สควค. ที่มีบทบาทนำ�และเป็นแบบอย่างได้ ๔ ด้าน คือ การพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาตนเอง การพัฒนาเครือข่ายครูและการพัฒนาสังคม คณะกรรมการบริหารชมรมครู สควค. สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชุดที่ ๑/๓ (๑ มกราคม ๒๕๕๔-๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๕) สำ�นักงาน :: เลขที่ ๔๖ หมู่ที่ ๑๐ ตำ�บลธาตุ อำ�เภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ๓๒๑๓๐ ชื่อ- สกุล สถานที่ปฏิบัติงาน ตำ�แหน่ง ๑. นายศักดิ์อนันต์ อนันตสุข ร.ร.นารายณ์คำ�ผงวิทยา อ.โนนนารายณ์ จ.สุรินทร์ (0890286327) ประธาน ๒. นายบุญเลี้ยง จอดนอก ร.ร.บ้านหัวบึง อ.เมือง จ.อุดรธานี (0831479974) รองประธาน ๓. นายว่องไว ธุอินทร์ ร.ร. ศรีสุขวิทยา อ.สำ�โรงทาบ จ.สุรินทร์ (0879972002) เลขานุการ ๔. นายชำ�นาญ เพริดพราว ร.ร.เตรียมอุดมศึกษาฯ อ.สว่างแดนดินจ.สกลนคร (0845112119) ผู้ช่วยเลขานุการ ๕. นายณัฐพล แสงทวี ร.ร.นารายณ์ค�ผงวิทยา อ.โนนนารายณ์ จ.สุรนทร์ (0851594391) เหรัญญิก ำ ิ ๖. นายปรมินทร์ แก้วดี ร.ร.เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ จ.ศรีสะเกษ (0846041413) นายทะเบียน ๗. นายกิตติชัย แผ่นจันทร์ ร.ร.พนาสนวิทยา อ.ลำ�ดวน จ.สุรินทร์ (0872469890) ปฏิคม ๘. นายจตุรภัทร ประทุม ร.ร. คำ�นาดีพิทยาคม อ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด (0899402211) ประชาสัมพันธ์ ๙. นายจักรพันธ์ พิรักษา ร.ร.ลำ�ดวนพิทยาคม อ.กระสัง จ.บุรีรัมย์ (0892831483) กรรมการ ๑๐. นายวงค์ณภา แก้วไกรษร ร.ร.โนนสะอาดชุมแสงวิทยา อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี (0872169899) กรรมการ ๑๑. นายสราวุธ วิเชียรลม ร.ร.สว่างแดนดิน อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร (0872275604) กรรมการ ๑๒. น.ส.วิพาภรณ์ ส่งเสริม ร.ร.เดชอุดม อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี (0897171788) กรรมการ
  • 17. คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 17 คุณลักษณะของครู สควค. ที่พึงประสงค์ ๑. คุณลักษณะของครู สควค. ที่พึงประสงค์ มีดังนี้ ๑) มี ค วามรู้ ค วามสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ วิ ท ยาศาสตร์ ศึ ก ษา และ คณิตศาสตร์ศึกษาเป็นอย่างดี ๒) มีความรู้ ความเข้าใจในวิชาที่สอนอย่างแท้จริง สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีในศาสตร์ความรู้ แขนงต่างๆ สู่การปฏิบัติได้ ๓) มีความรู้ด้านการวิจัย/การวิจัยในชั้นเรียน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้และ พัฒนาการเรียนรู้ ๔) มีความรูในการจัดทำ�หลักสูตรด้านเทคนิคการสอน จิตวิทยา การวัดและประเมินผลทางการ ้ ศึกษา ๕) มีความสามารถที่จะพัฒนาตนเองให้เป็นครูแบบใหม่ในระบบสากลได้ - เป็นครูทเี่ น้นความหลากหลายเพือตอบสนองต่อผูเ้ รียนเป็นหลัก แนะนำ�ให้ผเู้ รียนสามารถ ่ พัฒนาการเรียนรูได้อย่างเต็มศักยภาพและสร้างสรรค์ และให้ขอมูลสะท้อนกลับผูเ้ รียนได้อย่างต่อเนือง ้ ้ ่ - รู้วิทยาการด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น เพราะการศึกษายุคใหม่ เป็นการศึกษาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น - เป็นครูที่ต้องไปหานักเรียนมากขึ้น เข้าเยี่ยมชุมชนได้มากขึ้น ๖) มีความสามารถเชือมโยงความรูสทองถิน จัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการ ่ ้ ู่ ้ ่ ของชุมชน ๒. คุณลักษณะความเป็นครูที่ดี ๑) มีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครูและพร้อมที่จะพัฒนาวิชาชีพของตน ๒) มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียนและมีความเป็นประชาธิปไตย ๓) มีความเป็นไทย อนุรักษ์และทะนุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรมไทย ๔) มีความเมตตาแก่ศิษย์ และเห็นคุณค่าของศิษย์ ๕) มีบทบาทในการพัฒนาชุมชน และสามารถเป็นผู้นำ�ชุมชนได้ ๖) มีความขยันหมั่นเพียร อดทนและมุ่งมั่นในการทำ�งานและมีความรับผิดชอบสูง ๓. บุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ๑) มีความสามารถทำ�งานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒) มีความสามารถในการแก้ปัญหาร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ ๓) มีลักษณะที่ดีของการเป็นแบบอย่างในการประพฤติและปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดีของ ประเทศชาติ
  • 18. 18 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ครูเพื่อความอยู่รอดของผู้อื่น ธรรมะบรรยายของท่านพุทธทาสภิกขุ คัดจากหนังสือวันไหว้ครู ๒๕๓๙ องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น ธรรมชาติสร้างมนุษย์มาเพื่อจะเป็นเพื่อน ทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกัน คนที่เกิดมาทีหลัง ต้องการความช่วยเหลือของคนทีเกิดมาก่อน เช่น ่ ทารกเกิดมาต้องการความช่วยเหลือของบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ พระเจ้า พระสงฆ์ ที่เกิด มาก่อน ฉะนันเราจึงทำ�หน้าที่ ทีจะต้องทำ�ความรอด ้ ่ เพือผูอนด้วย ในทางธรรมก็เรียกว่า ประโยชน์ตน ่ ้ ื่ (อัตตโถ) แล้วก็ประโยชน์ผู้อื่น (ปรัตโถ) เราต้อง ทำ�ให้เต็มที่สุดฝีไม้ลายมือ ด้วยความไม่ประมาท พวกคุ ณ เป็ น ครู ก็ ต้ อ งนึ ก ถึ ง อุ ด มคติ คื อ ความรอดของผู้อื่น อย่าคิดว่าเราเป็นครูเอาเงินเดือน มาเลี้ ย งตั ว กู ค นเดี ย วให้ ส บาย นึ ก ถึ ง ตั ว เอง คนเดียวมันใช้ไม่ได้ แล้วจะไม่ทำ�ให้ดีได้ด้วยคือ จิตใจจะไม่มีความสุข ฉะนั้นจะต้องนึกถึงผู้อื่น ความเป็ น ครู ก็ คื อ สร้ า งความสามารถ ในการที่จะช่วยผู้อื่น ในทางศาสนาในทางธรรม เขาเรียกว่าอุดมคติของโพธิสตว์ โพธิสตว์มอดมคติ ั ั ีุ เพื่อช่วยผู้อื่น พระพุทธเจ้าลงทุนในการช่วยผู้อื่น ด้วยการบำ�เพ็ญโพธิสตว์เป็นวรรคเป็นเวรนมนาน ั เหลือเกิน ฉะนัน อุดมคติของโพธิสตว์คอ เพือความ ้ ั ื ่ รอดของผู้อื่น พร้อมกับความอยู่รอดของตัวเอง ฉะนั้น เราจะไม่รับผิดชอบไม่ได้ ถ้าไม่รับ ผิดชอบในความรอดของผูอน แล้วมันจะเกิดกิเลส ้ ื่ ฝ่ายเรา แล้วเราก็จะไม่รอดด้วย ถ้าเราเห็นแก่ ผู้อื่นความเห็นแก่ตัวมันจะสลายไป กิเลสมันเกิด ไม่ได้เราก็จะรอดด้วย จึงขอให้ยึดถือหลักธรรม ในพระพุทธศาสนาก็แล้วกัน ว่าทุกอย่างมันเพื่อ ทั้งสองฝ่าย คือ ฝ่ายเราเองและฝ่ายผู้อื่น อาจจะมี ค นถามขึ้ น ว่ า ฝ่ า ยไหนสำ � คั ญ กว่า? เราจะต้องว่าสำ�คัญเท่ากัน คือ มันจะต้อง ผูกพันไปด้วยกัน แต่เราคงจะชอบฝ่ายเรามากกว่า หรือว่าถ้าจะถือว่าอันไหนมันมีค่ามันก็จะนึกถึง ฝ่ายเรานันแหละมีคากว่า เราไม่ตองเสียประโยชน์ ่ ่ ้ ที่ เ ป็ น ความรอดของเราเพื่ อ ผู้ อื่ น รอดหรอก นี่พระพุทธเจ้าท่านก็ยอมรับข้อนี้ว่า เราไม่ถึง กับต้องสูญเสียความรอดของเราเพื่อความรอด ของผูอน มันต้องเป็นความรอดทีไปด้วยกัน แม้วา ้ ื่ ่ ่ เราจะยอมเสียสละชีวิตเพื่อความรอดของผู้อื่น เราก็ยังได้ความรอดอยู่นั่นเอง การเสียสละชีวตเพือช่วยโลก เพือช่วยผูอน ิ ่ ่ ้ ื่ มันก็เป็นความรอดของผูเ้ สียสละชีวตนันด้วย ทีนี้ ิ ้ มันได้มาก คือ มันเป็นความรอดของคนทุกคน ในโลก มันมีประโยชน์มาก แปลว่าเขาได้ใช้ชีวิต นั้นให้มีค่ามากที่สุดคือ เพื่อทุกคน ไม่ใช่เพื่อรอด ของตัวคนเดียว เพราะฉะนั้นจึงให้ถือเป็นหลักว่า วัตถุทพงประสงค์มอยูสองสถานคือ ประโยชน์ตน ี่ ึ ี ่ และประโยชน์ท่าน ถ้ า ใครถื อ หลั ก อั น นี้ แ ล้ ว จะไม่ มี ก าร เบียดเบียนกันเลยในโลกนี้ ฟังดูเถอะไม่มีการ เบี ย ดเบี ย นกั น เลยในโลกนี้ อย่ า งที่ เราเรี ย ก ในภาษาโบราณนั้ น ว่ า ศาสนาพระศรี อ าริ ย์ ไม่เบียดเบียนกันเลยในโลกนี้ ไม่ต้องปิดประตู บ้าน ไม่ต้องปิดประตูเรือน หรือว่าเรือนไม่ต้อง ทำ�ประตูก็ได้ ถ้าขี้เกียจมันนอนสบายได้โดยไม่ ต้องปิดประตูบ้าน ปิดประตูเรือน เพราะว่ามัน ไม่มีใครเบียดเบียนใคร
  • 19. คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เขามีค�พูดแปลกๆ ทีเป็นอุปมา พอลงจาก ำ ่ เรือนไปในท้องถนน ไม่รวาใครเป็นใคร เหมือนกัน ู้ ่ หมด ไม่รู้ว่าใครเป็นใคร ไม่รู้ว่าเป็นอะไรของเรา เป็นพ่อเป็นแม่ เป็นลูก เป็นผัว เป็นเมียของเรา มันเหมือนกันไปหมด จนกว่าจะกลับมาถึงบ้านแล้ว จึงจะรู้ว่าอ้าวนี่ แม่ของเรา พ่อของเรา พี่ของเรา ลูกของเรา ถ้าลงไปทีถนนละก็มนเหมือนกันหมด ่ ั มันไม่มีศัตรู มันไม่มีผู้อื่น มันมีแต่ผู้รักใคร่เป็น คนเดียวกันไปหมด นี่อุดมคติอุปมา ในจุดสูงสุด ของพระพุทธศาสนา นี่เรียกว่า ประโยชน์ตนกับประโยชน์ผู้อื่น มั น หลอมเข้ า เป็ น สิ่ ง เดี ย วกั น เสี ย แต่ เ ดี๋ ย วนี้ ยังอยูในระยะการปฏิบติ เราก็ปฏิบตประโยชน์ตน ่ ั ัิ พร้อมกันไปกับประโยชน์ผอน โดยเฉพาะอย่างยิง ู้ ื่ ่ ท่านทั้งหลายที่เป็นครู ทำ�หน้าที่ครู อย่ามองแต่ ว่าทำ�ประโยชน์ตน ให้มองที่ทำ�ประโยชน์ผู้อื่น แล้วประโยชน์ทั้งหลายก็จะกลายเป็นประโยชน์ ของตน นีเ่ ราก็เลยได้มากได้มากกว่าผูทไม่ได้เป็นครู ้ ่ี อาตมาเคยบอก บอกจนเขาหาว่าประจบ บอกว่าอาชีพครูนั้นประเสริฐที่สุด เพราะมันได้ ทั้งเงินและได้ทั้งบุญ อาชีพหลายๆ อาชีพจะได้ แต่เงินเท่านั้นแหละไม่ได้บุญหรอก แต่ถ้าอาชีพ ครูนี้จะได้ เงินเดือนหรืออะไรก็ตามประโยชน์ ทางวัตถุนนได้ดวยแล้วได้บญด้วย เพราะว่าอาชีพ ั้ ้ ุ ครูนั้นท่านทำ�ประโยชน์ผู้อื่น ครู แปลว่า ผู้เปิดประตูในทางวิญญาณ ให้คนเดินถูกต้องตามหนทางแล้วก็รอดได้ ฉะนัน ้ จึงว่าครูได้บุญ เป็นอาชีพที่ได้บุญ แล้วเราก็ไม่ได้ อุทิศตนเพียงเพื่อเป็นลูกจ้างสอนหนังสือ เราถือ อุดมคติว่าเป็นมนุษย์บำ�เพ็ญประโยชน์ตนและ ประโยชน์ท่านให้สมบูรณ์ ทีนี้อาชีพมันอำ�นวย 19 ที่ สุ ด แล้ ว มั น ให้ ค วามสะดวกแก่ เราแล้ ว ที่ จ ะ ดำ�เนินอาชีพ มีผลสองอย่างพร้อมกันไปในตัว คือ การเลี้ยงชีพก็ได้ แล้วบุญก็ได้ ถ้าเรารับจ้างทำ�งานอย่างอืนอย่างธรรมดา ่ สามัญ อาจจะได้แต่เงินจากอาชีพแต่บุญไม่ได้ ดังนั้น อาชีพที่จะได้บุญด้วย อันแรกก็ต้องชี้ระบุ ระบุไปที่อาชีพครู อาตมาพูดอย่างนี้บ่อยๆ เขา บอกว่าประจบครูแล้ว ก็เลยหาทางออกว่าอาตมา เป็ น ครู เว้ ย คื อ ตั ว เองก็ พ ยายามทำ � หน้ า ที่ ค รู ไปอีกแบบหนึงตามหน้าทีของบรรพชิต อย่าระแวง ่ ่ ไปว่าเพื่อประจบเลย ฉะนั้น ขอให้ยินดี พอใจ ในอาชีพครูคือ อาชีพผู้เป็นมัคคุเทศก์ในทางวิญญาณ เปิดประตู คอกเล้าที่มืดที่เหม็น ที่สกปรกนี้ ให้สัตว์มันได้ ออกมาเสียจากคอกเหล่านั้น นี่จึงเรียกว่าวัตถุที่พึงประสงค์ มีอยู่สองจุด คือประโยชน์ตัวเองและประโยชน์ผู้อื่น ทบทวน อีกทีก็ได้ ไม้อิงสามขา ศาสตราจารย์สามอัน โจรฉกรรจ์สามก๊ก ป่ารกสามดง เวียนวนสามวง ทุกข์ทนทังสามโลก เขาโคกสามเนิน ทางห้ามเดิน ้ สองแพร่ง ตัวแมลงห้าตัว มารที่น่ากลัวห้าตน บ่ ว งคล้ อ งคนหกห่ ว ง เหตุ แ ห่ ง สิ่ ง ทั้ ง ปวงหก ตำ � แหน่ ง แหล่ ง อบายมุ ข สี่ สิ่ ง ที่ ต้ อ งควบคุ ม สามจุด หนทางแห่งวิมุติมีแปดองค์ วัตถุที่พึง ประสงค์สองสถาน รวมหมดด้วยกันเป็น 16 หัวข้อ กล้าท้าว่า เป็นหัวข้อที่สะดวกที่จะจำ� จะศึกษา เล่าเรียนหรือจะปฏิบัติ แล้วท้าให้มากกว่านั้นอีก ก็คือว่า ทั้งหมดนี้มีอยู่ในทุกศาสนา เอาชีวิตและ เกียรติยศเป็นประกันว่า ทุกข้อเหล่านี้ไปค้นได้ จากหลักในพระศาสนาทุกศาสนาเลย
  • 20. 20 คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มั น เป็ น สากล ยิ่ ง กว่ า สากล เป็ น เรื่ อ ง ธรรมชาติ เป็นเรื่องที่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของ ธรรมชาติ เรา จะทำ � เป็ น อย่ า งอื่ น ไม่ ไ ด้ ถ้ า เรา ประสงค์ความสงบสุขหรือสันติสุขตามหลักของ ธรรมชาติ ดั ง นั้ น จึ ง หวั ง ว่ า ท่ า นทั้ ง หลายทุ ก คน คงจะได้สนใจ ควรจะสนใจนี่ก็เพื่อความสะดวก จึงได้สรุปไว้เป็นคำ�กลอน แล้วในฐานะเป็นหัวข้อ จริงๆ จึงได้เรียกว่า ปาฏิโมกข์ ธรรมะปาฏิโมกข์ เอาไว้พูดเล่น ท่องเล่น ให้ติดริมฝีปากไว้ สิบหก ข้อนี้แล้วก็คงจะสบาย สะดวกสบาย สำ�หรับ ผูทจะดำ�เนินชีวตเป็นครูบาอาจารย์ แม้วาไม่เป็น ้ ี่ ิ ่ ครูบาอาจารย์ เป็นลูกศิษย์ เป็นคนธรรมดาทัวไป ่ ทังสิบหกหัวข้อนีกยงคงใช้ได้ แปลว่าใช้ได้ส�หรับ ้ ้็ั ำ ทุกคน ใช้ได้สำ�หรับทุกวิวัฒนาการแห่งบุคคล ไม่ว่าจะเป็นเด็ก เป็นผู้ใหญ่ เป็นคนเฒ่าคนแก่ ไม่ ว่ า จะเป็ น พ่ อ ค้ า เป็ น ชาวนา เป็น ชาวสวน เป็ น อะไรก็ ต าม เขาควรจะรู้ ก ฎเกณฑ์ เ หล่ า นี้ แล้วดำ�รงตนอยู่อย่างถูกต้อง เขาก็จะได้ความ เป็นมนุษย์ที่ดี คือจะได้รับสิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษย์ ควรจะได้รับ บอกเขาว่ า การเกิ ด เป็ น มนุ ษ ย์ นี้ มั น เกิ ด มาเพื่อทำ�อะไรสักอย่างหนึ่งที่ดีที่สุด คือว่าการ เกิดมาเป็นมนุษย์นี้ ธรรมชาติมันให้สิ่งๆ หนึ่งมา สิ่งนั้นคือความสามารถหรือแรงงาน ในแรงงาน มันมีสมรรถภาพ เราเรียกว่าแรงงาน สิ่งมีชีวิต มีแรงงาน เราต้องใช้แรงงาน เราต้องใช้แรงงาน นันตามกฎของธรรมชาติ ดังนัน เราจึงอยูนงไม่ได้ ้ ้ ่ ิ่ เป็ น คนก็ ต าม เป็ น สั ต ว์ ก็ ต าม มั น อยู่ นิ่ ง ไม่ ไ ด้ มั น ต้ อ งเคลื่ อ นไหว ด้ ว ยอำ � นาจของแรงงาน ที่ธรรมชาติมันให้มา สรุปความว่า มันอยู่นิ่งไม่ได้ มันต้องทำ� ทีนี้มันก็มีปัญหาเมื่ออยู่นิ่งไม่ได้ ต้องทำ� แล้วจะ ทำ�อะไร? ก็ตอบว่า ทำ�สิ่งที่เหมาะสมแก่ความ เป็นมนุษย์ ทำ�สิ่งที่ตรงตามเจตนารมณ์ของความ เป็นมนุษย์คออะไร? คือถึงจุดสูงสุดของความเป็น ื มนุษย์ จุดสูงสุดของความเป็นมนุษย์คืออะไร? ก็คือความหมดปัญหา เพราะว่าบรรลุถึงนิพพาน หรือว่าอยู่กับพระเจ้าเป็นนิรันดรไปเลย พูดอย่าง อุ ป มาก็ พู ด ได้ ว่ า อยู่ กั บ พระเจ้ า อย่ า งนิ รั น ดร ไปเลย พูดอย่ า งไม่ อุ ปมาก็ พู ด ว่ า มั น ดั บทุ ก ข์ นิรันดร เป็นนิพพานไปเลย นี่คือจุดปลายทาง สำ�หรับมนุษย์ที่ธรรมชาติมอบให้มา ฉะนั้น ถ้าใครไม่ถึงจุดนี้ เขาก็ยังไม่เป็น มนุษย์ทเี่ ต็มความหมาย ทีนเี้ ราไม่ให้เสียทีทเี่ กิดมา เป็นมนุษย์ จะเป็นมนุษย์ให้เต็มความหมาย เราก็ ต้องเดินทางนี้ ทางสำ�หรับมนุษย์เดินจะเรียกว่า พัฒนาการก็ได้ พัฒนาการกาย จิตวิญญาณทุกอย่าง ให้มันสูงขึ้นมา มาจนถึงจุดสูงสุดที่เราเรียกกันว่า รอดทั้ ง ตั ว เองรอดทั้ ง ผู้ อื่ น หน้ า ที่ มั น ก็ ห มด หมดเท่านั้นแหละ มันไม่มีอะไรดีไปกว่านี้ หน้าที่ มันจบลงไปที่ตรงนี้ คือ เราก็รอดผู้อื่นก็รอด เอาล่ะคิดว่า การบรรยายในวันนี้ ก็พอ สมควรแก่ เวลาแล้ ว ขอตั้ ง ความปรารถนาว่ า ทุกสิ่งทุกอย่างจะเป็นไปในทางที่พึงปรารถนา ขอให้ทกท่านมีก�ลัง มีความเชือ มีความกล้าหาญ ุ ำ ่ มีความยินดีพอใจในหน้าทีการงาน แล้วมีความสุข ่ ในการงาน ความสุขอย่างอื่นไม่ดีเท่าความสุข ในการทำ�งาน แล้วเราก็จะมีความสุขที่แท้จริง ที่ ไ ม่ ต้ อ งใช้ เ งิ น ซื้ อ อย่ า งที่ เขาไปหาเงิ น มาซื้ อ ความสุ ข หลอกๆ กั น เราก็ มี ค วามสุ ข แท้ จ ริ ง โดย ไม่ต้องใช้เงินซื้อ ก็นับว่าดีที่สุดสำ�หรับมนุษย์