SlideShare a Scribd company logo
ด้วยพระบารมี ตัวแทนครูและนักศึกษาไทยได้อบรมและทำ�วิจัยที่เซิร์น
วารสาร	

ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553

ชมรมครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ISSN 1905-758X
TSMT Journal สนับสนุนโดย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
2

วารสาร สควค.	

ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553

ผู้บริหารจาก 4 องค์กรหลักด้านฟิสิกส์ของไทย จับมือกับเซิร์น ครูพิมพร ผาพรมและครูสุพัตรา ทองเนื้อห้า ครู สควค. (ฟิสิกส์)
รับสมัครครู/นักศึกษาไทยเข้าร่วมกิจกรรมภาคฤดูร้อน CERN เป็นตัวแทนครูฟิสิกส์จากประเทศไทยเข้าร่วมโครงการที่ CERN

ครูและนักศึกษาไทยเตรียมความพร้อมเรื่อง เครื่องเร่งอนุภาค ครูฟิสิกส์จำ�นวน 40 คน จาก 22 ประเทศ เข้าร่วมโครงการฯ
ที่สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ก่อนเข้าร่วมโครงการที่ CERN กับ CERN ณ กรุงเจนีวา สหพันธรัฐสวิส เป็นเวลา 3 สัปดาห์

นอกจากจะได้ความรู้และเพื่อนจากหลายประเทศ ยังได้เผยแพร่วัฒนธรรมของไทยและแสดงศักยภาพของครูฟิสิกส์ไทยในเวทีโลก

12 ก.ค. 2553 :: สสวท. ติดตามประเมินผลและให้ก�ลังใจครู สควค. 9 ส.ค. 2553 :: สสวท. จัดกิจกรรมติดตามประเมินผลให้กำ�ลังใจ
ำ
พื้นที่ภาคอีสานตอนล่างที่ ร.ร.เบญจมะ มหาราช จ.อุบลราชธานี ครู สควค. พื้นที่ภาคเหนือที่ ร.ร.จักรคำ�คณาธร จ.ลำ�พูน
ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553	

วารสาร สควค.

3

สารบัญ

บทบรรณาธิการ

ครูศักดิ์อนันต์ อนันตสุข
E-mail :: anantasook@gmail.com

	
สวัสดีครับ พีนองเพือนสมาชิกชมรมครู สควค. และ
่ ้ ่
ท่านผู้อ่าน “วารสาร สควค.” ทุกท่าน
	
นั บ เป็ น พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อย่ า งหาที่ สุ ด มิ ไ ด้
ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรง
พระราชทานโอกาสให้ครูฟิสิกส์ระดับมัธยมศึกษา 2 คน
ของประเทศไทยได้รวมงานวิจยกับเซิรน องค์กรวิทยาศาสตร์
่
ั
์
ระดับโลก ณ สหพันธรัฐสวิส เป็นเวลา 3 สัปดาห์ ด้วยทรง
มีพระประสงค์ที่จะเสริมสร้างความร่วมมือทางวิชาการ
ระหว่ า งประเทศไทยกั บ สถาบั น เซิ ร์ น ในการพั ฒ นา
ขีดความสามารถและศักยภาพด้านฟิสกส์ให้แก่เด็ก เยาวชน
ิ
ครู และนักวิจัยไทย ซึ่งในปีแรกนี้ ครู สควค. จำ�นวน 2 คน
คือ นางสาวสุพตรา ทองเนือห้า และนางสาวพิมพร ผาพรม
ั
้
ได้ เ ป็ น ตั ว แทนประเทศไทย ไปร่ ว มโครงการครู ฟิ สิ ก ส์
ภาคฤดูร้อนเซิร์น และทั้งสองคนได้ถ่ายทอดความรู้และ
ประสบการณ์ต่างๆ ให้เราได้รับทราบและร่วมภาคภูมิใจ
ในวารสาร สควค.ฉบั บ นี้ ซึ่ ง ครู ฟิ สิ ก ส์ ที่ ส นใจเข้ า ร่ ว ม
โครงการ ก็ขอให้เตรียมพร้อมและสมัครรับการคัดเลือก
ในปลายปีนี้และปีถัดไป
	
ชมรมครู สควค. ขอเป็นกำ�ลังใจให้กับครู สควค.
ทุกคนในการปฏิบัติงาน กองบรรณาธิการ เปิดรับบทความ
จากทุ ก ท่ า น หากมี ข้ อ เสนอแนะประการใด ที ม งาน
ขอน้อมรับด้วยความยินดี

หน้า
-	 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถาบันเซิร์น (CERN)	
4
-	 ประสบการณ์จากการเข้าร่วมโครงการครูฟิสิกส์	 5
	 ภาคฤดูร้อนเซิร์น ของครูสุพัตรา ทองเนื้อห้า
-	 ประสบการณ์จากการเข้าร่วมโครงการครูฟิสิกส์	 8
	 ภาคฤดูร้อนเซิร์น ของครูพิมพร ผาพรม
-	 นวัตกรรมการเรียนรู้ : การพัฒนาเครือข่าย	
10
	 การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนํ้า
-	 กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายครู สควค. ภาคใต้	
12
-	 ตัวแทนความคิดวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ความร้อน	
13
-	 การเกิดซากดึกดำ�บรรพ์ของแหล่งขุดค้นภูน้อย	 14
	 จังหวัดกาฬสินธุ์	
-	 พระบรมราโชวาท/ครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้	 16

วัตถุประสงค์
	
1. 	เพื่อเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ชมรมครูที่มีความ
สามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
	 2. 	เพื่ อ เป็ น เวที ใ นการแลกเปลี่ ย นความรู้
ทางวิชาการ ประสบการณ์การสอน การวิจัยในชั้นเรียน
ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
เพื่อพัฒนาการสอนของครูและการเรียนรู้ของผู้เรียน
	
3. 	เพือเผยแพร่ความรูทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
่
้
และเทคโนโลยี ให้กว้างขวางและเป็นประโยชน์ต่อสังคม
โดยไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง

	
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) : Synchrotron Light Research Institute (Public
Organization) เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดิมคือ “ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยเครื่อง
กำ�เนิดแสงซินโครตรอนแห่งชาติ” ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2539 มีสำ�นักงานตั้งอยู่ภายใน มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา (www.slri.or.th)
	
แสงซินโครตรอน คือ แสง (หรือโฟตอน) ที่ถูกปลดปล่อย (หรือสลัด) ออกมาจากอิเล็กตรอนที่เลี้ยวโค้ง
ด้วยความเร็วใกล้ความเร็วแสง (3x108 เมตรต่อวินาที) เป็นแสงที่มีค่าความเข้มสูงและมีค่าพลังงานต่อเนื่อง
ครอบคลุมช่วงพลังงานกว้างตั้งแต่ช่วงของรังสีอินฟราเรดจนถึงรังสีเอ็กซ์ ทำ�ให้สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย

ขอเชิญครูทุน สควค. ในภูมิภาคต่างๆ ส่งภาพข่าวที่เกี่ยวกับผลงานเด่นของตนเอง รวมถึงงานเขียน บทความเกี่ยวกับ
การพัฒนาการเรียนการสอน ประสบการณ์การวิจย เพือเผยแพร่ ในวารสาร สควค. หรือเผยแพร่ในเว็บไซต์ www.krusmart.com
ั ่
บทความในวารสาร สควค. เป็นความคิดเห็นและทัศนะของผู้เขียน ชมรมครู สควค. ไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
4

วารสาร สควค.	

เรื่องจากปก

ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถาบันเซิร์น
สุพัตรา ทองเนื้อห้า สควค. รุ่น 7 ครู คศ.1 ร.ร.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช

	
สถาบันเซิร์น (CERN) ตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศ
สวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ครอบคลุ ม พื้ น ที่ บ ริ เวณชายแดนระหว่ า ง
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์กับประเทศฝรั่งเศส ก่อตั้งมามากกว่า
50 ปี โดยมีพันธกิจหลักในการทดลองเร่งอนุภาคและทำ�การ
วิจยเพือตอบคำ�ถามหลัก 3 คำ�ถามคือ เรามาจากไหน (Where
ั ่
do we come from?) เราประกอบขึ้นจากอะไร (What are
we made of?) และเราจะเป็นอย่างไรต่อไป (Where are we
going ?) ซึ่ง “เรา” ในที่นี้ก็หมายความถึง จักรวาล โลกและ
สิ่ ง มี ชี วิ ต ทั้ ง หลาย ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการทดลองแต่ ล ะครั้ ง
มีปริมาณมากมายมหาศาล นำ�ไปสูการให้ก�เนิดเครือข่ายข้อมูล
่
ำ
ของคนทั้งโลกที่เรารู้จักกันดีในชื่อ เวิลด์ ไวลด์ เว็บ (www)
ด้านการศึกษา สถาบันแห่งนี้มีหน้าที่ในการฝึกอบรมเตรียม
ความพร้อมให้กับนักวิทยาศาสตร์ในอนาคตโดยการสร้าง
แรงบันดาลใจให้กับเยาวชนของโลกในการเรียนวิทยาศาสตร์
พัฒนาความรูและทักษะเกียวกับเทคโนโลยีตางๆ และให้ความ
้
่
่
สำ�คัญกับการให้ความร่วมมือ การทำ�งานร่วมกันด้วยเป้าหมาย
เดียวกันกับคนทั้งโลก
	
เซิร์น (CERN) เป็นชื่อย่อมาจากภาษาอังกฤษตัวแรก
ของชื่อเต็มในภาษาฝรั่งเศสว่า Conseil Europenne pour
la Recherche Nuclaire ชื่อภาษาอังกฤษว่า European
Council for Nuclear Research ปัจจุบนใช้ชอ Oganization
ั ื่
europenne pour la recherche nuclaire ในภาษาฝรั่งเศส

และ European Oganization for Nuclear Research
ในภาษาอั ง กฤษ หากท่ า นได้ มี โ อกาสไปเยี่ ย มชมสถาบั น
แห่งนี้ก็จะปรากฏชื่อที่ตัวอาคาร 33 ซึ่งเป็นอาคารต้อนรับ
ตั้ งอยู่ บริ เวณด้ า นหน้ า ทางเข้ า สถาบั นเซิ ร์น ตรงกั น ข้ า มกั บ
พิพิธภัณฑ์ Globe
	
ปัจจุบันสถาบันเซิร์นมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 20
ประเทศ ได้แก่ ออสเตรีย เบลเยียม บัลแกเรีย สาธารณรัฐ
เช็ก เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมณี กรีซ ฮังการี อิตาลี
เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส สโลวาเกีย สเปน
สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และอังกฤษ มีประเทศสังเกตการณ์
6 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย อิสราเอล ญี่ปุ่น รัสเซีย ตุรกี และ
สหรัฐอเมริกา และมีความร่วมมือจากหลายประเทศทั่วโลก
ที่ไม่เป็นสมาชิก โดยส่งนักวิจัยร่วมทำ�การทดลองและเข้ารับ
การอบรมต่างๆ ที่ทางสถาบันเซิร์นจัดขึ้น
	
การวิจัยภายในสถาบันเซิร์นอาศัยเครื่องเร่งอนุภาค
LHC (Large Hadron Collider) ซึ่งตั้งอยู่ในอุโมงค์ใต้ดิน
โดยเร่งโปรตอนและนิวเคลียสของตะกั่วในทิศทางสวนกัน
แล้วบังคับ ให้ล�อนุภาคทังสองชนกัน ณ สถานีตรวจวัดอนุภาค
ำ
้
สถานีตรวจวัดอนุภาคที่สำ�คัญของเครื่องเร่งอนุภาค LHC คือ
ALICE, ATLAS, LHCb และ CMS
	
1. 	สถานีตรวจวัด ALICE ย่อมาจาก A Large Ion
Collider Experiment ศึกษาสมบัติของพลาสมาของควาร์ก
และกลูออนซึ่งเกิดจากการชนกันของนิวเคลียสของตะกั่ว
	
2. 	สถานีตรวจวัด ATLAS ย่อมาจาก A Toroidal
LHC ApparatuS ตรวจสอบความแม่นยำ�ของทฤษฎีแบบ
จำ�ลองมาตรฐาน อนุภาคฮิกส์ (Higgs Boson) ทฤษฎีสมมาตร
ยวดยิง (SupersymmetryTheory) ทฤษฎีเอกภพทีมมากกว่า
่
่ี
4 มิติ (Extra-diamensions Theory) โดยสามารถตรวจวัด
อนุภาคมูลฐานได้เกือบทุกชนิด (ยกเว้นนิวตริโน)
	
3. 	สถานีตรวจวัด LHCb ย่อมาจาก Large Hadron
Collider beauty ศึกษาความแตกต่างระหว่างสสารและ
ปฏิสสารที่เกิดขึ้นจากอนุภาคที่ประกอบด้วย บี-ควาร์ก
	
4. 	สถานีตรวจวัด CMS ย่อมาจาก Compact Muon
Solenoid มีจุดประสงค์ในการทำ�งานเช่นเดียวกัน กับสถานี
ตรวจวัด ATLAS แต่ใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างกัน
ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553	

บทความ

วารสาร สควค.

5

ประสบการณ์จากการเข้าร่วมโครงการครูฟิสิกส์
ภาคฤดูร้อนเซิร์น ของครูสุพัตรา ทองเนื้อห้า
สุพัตรา ทองเนื้อห้า สควค. รุ่น 7 ครู คศ.1 ร.ร.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช

	
สถาบั น เซิ ร์ น นอกจากจะมี ก ารทดลองวิ จั ย ระดั บ
โลกแล้ว ยังมีพันธกิจหลักในการพัฒนาครูด้วย ซึ่งสามารถ
สังเกตได้จากมีการจัดอบรมครูเกือบตลอดทั้งปี แต่เนื่องจาก
โครงการอบรมครูส่วนใหญ่จะเปิดโอกาสให้กับครูในประเทศ
สมาชิกเท่านัน จึงมีโอกาสน้อยทีประเทศทีไม่ใช่สมาชิกจะได้รบ
้
่
่
ั
โอกาสในการเข้ารับการอบรม โครงการนีจงเป็นโครงการเดียว
้ึ
ในขณะนีทเี่ ปิดโอกาสให้ครูฟสกส์ระดับมัธยมศึกษาจากทัวโลก
้
ิิ
่
เข้าร่วมโครงการ
	
โครงการครูฟิสิกส์ภาคฤดูร้อนเซิร์น (CERN Physics
High School Teachers Programme) เป็นโครงการทีสถาบัน
่
เซิร์นจัดขึ้นทุกปี โดยมีเป้าหมายที่จะสนับสนุนการสอนฟิสิกส์
โดยเฉพาะฟิสิกส์อนุภาค ในระดับมัธยมศึกษา สนับสนุน
การแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างครูในระดับ
นานาชาติ เปิดโลกทัศน์ของครูผู้สอนวิชาฟิสิกส์ไปสู่งานวิจัย
ระดับโลกในการเข้าร่วมโครงการครูฟสกส์ภาคฤดูรอน ประจำ�
ิิ
้
ปี พ.ศ. 2553 (CERN Physics High School Teachers
Programme 2010) มีครูฟิสิกส์จากประเทศต่างๆ ทั่วโลก
เข้าร่วมโครงการ 22 ประเทศ จำ�นวน 40 คน
	
กิจกรรมทีเ่ ข้าร่วมระหว่างวันที่ 4-23 กรกฎาคม 2553
จึงมีทั้งการฟังบรรยาย การเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการและศูนย์
ควบคุมระบบ วิเคราะห์ขอมูล การฝึกปฏิบตการทดลอง การทำ�
้
ัิ
กิจกรรมกลุม การนำ�เสนอข้อมูล/ผลการทำ�กิจกรรมกลุม และ
่
่
กิจกรรมอื่นๆ มากมาย โดยสำ�หรับการฝึกปฏิบัติการทดลอง
และทำ�กิจกรรมกลุ่ม มีดังนี้
	
1.	 Build a Cloud Chamber การสร้าง Cloud
Chamber ซึ่งเป็นอุปกรณ์หนึ่งที่ใช้ตรวจวัดอนุภาคที่เกิดจาก
รังสีคอสมิก(อนุภาคที่มีประจุ) โดยมีวัสดุอุปกรณ์คือ กล่อง
พลาสติกใส กล่องไม้ แผ่นอะลูมิเนียม ตาข่าย แผ่นโลหะสีดำ�
Isopropyl แอลกอฮอล์ นํ้าแข็งแห้ง โฟมบาง ไฟฉาย แว่นตา
ถุงมือ เชือก/ลวด ขั้นตอนการสร้างมีดังนี้
		 1) 	นำ�กล่องพลาสติก เจาะรูที่ก้นประมาณ 6 รู
แล้วนำ�โฟมบางมาผูกไว้
		 2) 	นำ�กล่องไม้รองด้วยแผ่นอะลูมเิ นียมและตาข่าย
แล้วนำ�นํ้าแข็งแห้งบรรจุให้เต็มกล่องไม้
	
	 3) 	นำ�แผ่นโลหะสีดำ�วางบนนํ้าแข็งแห้ง
		 4) 	ฉีด พ่น Isopropyl แอลกอฮอล ให้ชมโฟมบาง
์ ุ่
จากนั้นนำ�กล่องพลาสติกใสมาครอบด้านบนแผ่นโลหะสีดำ�
		 5) 	ปิ ด ไฟในห้ อ งให้ มื ด จากนั้ น ใช้ ไ ฟฉายส่ อ ง
บริเวณฐาน สังเกตการเปลี่ยนแปลง

		 เพื่ อ ความปลอดภั ย ขณะทำ � การทดลองต้ อ งใส่
แว่นตาและถุงมือขณะจับนําแข็งแห้ง ระหว่างรอผลการทดลอง
้
ผู้บรรยายได้อธิบายเกี่ยวกับประวัติการสร้างเครื่องตรวจวัด
จากนั้นเมื่อผู้เข้าร่วมโครงการสังเกตผลการทดลองได้ทุกกลุ่ม
แล้ว ผู้เข้าร่วมโครงการและผู้บรรยายจึงร่วมวิเคราะห์ผลการ
ทดลองที่เกิดขึ้น
	
2. 	Introducing the Teachers Lab
		 การแนะนำ�การทดลองในห้อง Teachers Lab
โดยเจ้าหน้าที่ประจำ�ห้อง มีการทดลองทั้งสิ้น 4 การทดลอง
คือ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก (photoelectric effect)
การเบนของลำ�อิเล็กตรอน (finebeam tube) อนุภาคสปิน
และการแทรกสอดของแสงผ่านกระจกและเลนส์ (Michelson
Interferometer) ซึ่งสามารถช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหา
เกี่ยวกับฟิสิกส์ยุคใหม่ (Modern Physics) ได้ดียิ่งขึ้น
	
3. 	Working Groups กิจกรรม Working Groups
เป็นกิจกรรมทีให้ผเู้ ข้าร่วมโครงการเลือกกลุมทำ�งานตามความ
่
่
สนใจ (working Groups) โดยมีทั้งหมด 6 กลุ่ม ดังนี้
		 1) 	Teachers Lab
		 2) 	Teaching Module
		 3) 	Master classes
		 4) 	The International Bacculaureate Diploma
		 5)	 Pre-Visit Pack
		 6) 	How do you know?
		 ผู้เข้าร่วมโครงการจะเลือกกลุ่มที่ตนเองสนใจ 2
อันดับ จากนั้นทีมผู้จัดโครงการจะเลือกกลุ่มจากความสนใจ
ในอันดับแรกของแต่ละคน เมือกลุมใดมีจ�นวนสมาชิกมากกว่า
่ ่
ำ
ที่กำ�หนดไว้ ก็จะเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการพิจารณา
ตัดสินใจยืนยันอีกครั้งว่าตนเองจะเลือกกลุ่มใด

ครูและนักศึกษาไทยที่มีโอกาสเข้าร่วมโครงการภาคฤดูร้อนของเซิร์น
(จากซ้ายไปขวา) นางสาวพิมพร ผาพรม, นายฐาปกรณ์ ภู่ลำ�พงษ์
นางสาวสุพัตรา ทองเนื้อหา และนายอภิมุข วัชรางกูร
6

วารสาร สควค.	

	
สำ�หรับข้าพเจ้าได้เลือกกลุ่ม Teachers Lab โดย
สมาชิกในกลุ่มของข้าพเจ้ามีทั้งสิ้น 10 คน ในครั้งแรกสมาชิก
ในกลุ่ ม ทุ ก คนต้ อ งเข้ า ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารทดลองภายในห้ อ ง
Teachers Lab อีกครั้ง (หลังจากที่เข้าฝึกปฏิบัติรวมกับ
ผู้เข้าร่วมโครงการคนอื่นๆ แล้ว) ในวันต่อมาก็ได้รับการฝึก
ปฏิบัติการทดลองศึกษาอุปกรณ์การทดลอง เครื่องมือวัดและ
โปรแกรม Cobra4 ของบริษัท PHYWE แล้วจึงประชุมกลุ่ม
แบ่งสมาชิกเป็นกลุ่มย่อยๆ ตามความสนใจ กลุ่มละ 3-4 คน
แล้วจึงเข้าเยี่ยมชม Microcosm เพื่อร่วมกันวางแผนการจัด
Workshop ให้กับผู้เยี่ยมชม
	
ข้าพเจ้าได้เลือกกลุ่มย่อยเป็นการพัฒนาการสร้าง
Cloud chamber โดยมุงหวังทีจะใช้วสดุทหาได้งายในโรงเรียน
่
่
ั ี่
่
วัสดุทกลุมใช้เป็น ถ้วยอะลูมเิ นียมทาสีด�ด้วยนํายาทาเล็บทิงไว้
ี่ ่
ำ
้
้
ให้แห้ง แก้วพลาสติกใส โฟมบางเป็นวัสดุที่ใช้ทำ�ความสะอาด
โต๊ะ ซึ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนเป็นอุปกรณ์ที่เหลือจากงาน
International Evening ทั้งสิ้น เรายังคงต้องใช้ Isopropyl
แอลกอฮอล์ และนํ้าแข็งแห้ง ทำ�การทดลองเช่นเดียวกับการ
สร้าง Cloud chamber ปกติ จากนั้นสังเกตการเปลี่ยนแปลง
ผลการทดลองทีได้เป็นทีนาพอใจ เราสามารถเห็นร่องรอยของ
่
่ ่
รังสีคอสมิกซึ่งมีอนุภาคที่มีประจุที่เราไม่สามารถมองเห็นได้
อย่างชัดเจน อีกทั้งยังใช้เวลาน้อยกว่าการทดลองปกติที่เคย
ทดลองมา
	
จากนั้นผู้เข้าร่วมโครงการต้องช่วยกันนำ�เสนองาน
ที่แต่ละกลุ่มทำ� เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวันสุดท้าย
ของโครงการ มีจำ�นวน 4 กลุ่มๆ ละ 30 นาที โดยมีทีมผู้จัด
โครงการและผู้บริหารของสถาบันเซิร์นเข้าร่วมรับฟังด้วย
	
4.	 Dark Matter & Quantum workshop การฝึก
ปฏิบตเิ ริมจาก hands-on ทีให้นกเรียนรูจกกับคำ�ว่า “อนุภาค”
ั ่
่ ั
้ั
โดยใช้ ท รายสี เ ป็ น สื่ อ การสอน จากนั้ น ใช้ แ ผ่ น ใสสองแผ่ น
ซึ่งเขียนลวดลายของคลื่นไว้ สังเกตการแทรกสอดของคลื่น
สองขบวน แล้วให้นกคำ�ทีเ่ กียวกับ “คลืน” เปรียบเทียบให้เห็น
ึ
่
่
ความแตกต่ า งระหว่ า งคลื่ น และอนุ ภ าคโดยเน้ น คำ � ที่ ใช้
เพื่อให้นักเรียนแยกแยะได้และไม่เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน
จากนั้นจึงสังเกตการแทรกสอดของแสงโดยเป็นกิจกรรมที่นำ�
เข้าสู่เรื่องทวิภาพของคลื่นและอนุภาคซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของ
ฟิสิกส์ยุคใหม่ (Modern Physics)

ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553

	
จากนั้นดูวีดีทัศน์เกี่ยวกับ Quantum แล้วทำ �การ
ทดลองการเคลื่อนที่วงกลม เพื่อนำ�เข้าสู่เรื่องเครื่องเร่งอนุภาค
แล้วเชื่อมโยงความรู้ดังกล่าวกับเอกภพ จากนั้นเป็นกิจกรรม
การคำ � นวณหาตำ � แหน่ ง โดยใช้ ร ะบบ GPS คำ � นวณง่ า ยๆ
ซึ่งนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้

ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ

	
ข้าพเจ้าได้รบความรูเ้ กียวกับฟิสกส์อนุภาค เทคโนโลยี
ั
่
ิ
ที่ทันสมัย แนวการจัดการเรียนการสอนฟิสิกส์อนุภาค อีก
ทั้ ง ยั ง ได้ แ ลกเปลี่ ย นความรู้ แ ละประสบการณ์ กั บ เพื่ อ นครู
นานาชาติ ซึงเป็นการเปิดโอกาสให้เกิดความร่วมมือกันในการ
่
พัฒนา การเรียนการสอนฟิสกส์ในอนาคต การเยียมชมสถานี
ิ
่
วิจัยระดับโลกและการพบปะกับนักฟิสิกส์ภายในสถาบันเซิร์น
ช่วยเพิ่มแรงบันดาลใจในการทำ�งานเพื่อพัฒนาประเทศชาติ
ต่อไป และแรงกระตุนให้ขาพเจ้าต้องเรียนรูตลอดเวลา เนืองจาก
้ ้
้
่
ความรู้ต่างๆ ในโลกนี้ไม่เคยหยุดนิ่ง ครูไม่สามารถสอนเนื้อหา
เฉพาะจากในหนังสือเรียน หากแต่จะต้องสืบค้นความรูอยูตลอด
้ ่
เวลา ประสบการณ์การใช้ชีวิตในต่างแดนช่วยพัฒนาทักษะ
การสื่อสารและความกล้าแสดงออกในทางที่สร้างสรรค์ และ
ทำ�ให้ข้าพเจ้าได้เพื่อนใหม่มากมาย ซึ่งปัจจุบันก็ยังคงติดต่อ
เพื่อนครูนานาชาติผ่านทางอีเมล์และทางเว็บไซต์อยู่เสมอ
	
นอกจากนี้ ยังทำ�ให้ทราบถึงแนวทางในการจัดการ
ศึกษาของแต่ละประเทศ ซึ่งบางนโยบายเป็นประโยชน์และ
ควรนำ�มาปรับปรุงใช้กับระบบการศึกษาในประเทศของเรา
เช่น การมอบหมายให้ครูต้องพัฒนาตนเองในช่วงปิดเทอม
โดยกำ�หนดชั่วโมงอย่างตํ่าที่ต้องเข้ารับการพัฒนาและให้ทุน
สนับสนุน เป็นต้น ซึงจะทำ�ให้ครูกระตือรือร้นในการพัฒนางาน
่
ของตนเองและเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ตลอดเวลา
	
ปัจจุบันต่างประเทศกำ�ลังพยายามจัดความรู้เกี่ยวกับ
ฟิสิกส์อนุภาค ลงในหลักสูตรการศึกษา ซึ่งในอนาคตประเทศ
ของเราก็ควรต้องทำ�เช่นกัน จึงควรเตรียมกำ�ลังคน (ครูผู้สอน)
ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับฟิสิกส์อนุภาคอย่างเร่งด่วน
หากประเทศของเราสามารถส่งครูฟสกส์หรือนักศึกษาเข้าร่วม
ิิ
กิจกรรมในทุกๆ ปี ประเทศอื่นๆ ก็จะเล็งเห็นศักยภาพของ
คนไทยและประเทศไทย ซึ่งมีคุณภาพไม่แพ้ชาติใดในโลกนี้
เช่นกัน
ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553	

แผนการดำ�เนินการหลังจากเข้าร่วมโครงการ

	
ข้าพเจ้าจะถ่ายทอดประสบการณ์ให้กับเพื่อนครูและ
นักเรียนในโรงเรียน ผ่านทางสื่อต่างๆ รวมถึงถ่ายทอดความรู้
และประสบการณ์ ที่ ข้ า พเจ้ า ได้ รั บ ให้ แ ก่ เ พื่ อ นครู ท่ า นอื่ น ๆ
เพื่อสร้างเครือข่ายการพัฒนาการเรียนการสอนฟิสิกส์ระดับ
มัธยมศึกษาให้เกิดขึ้นและการพัฒนาเยาวชนของชาติต่อไป
ข้าพเจ้าจึงวางแผนจัดประชุมเชิงปฏิบัติการฟิสิกส์อนุภาค
ในโรงเรี ย น โดยกำ � หนดให้ โรงเรี ย นที่ ป ระสงค์ จ ะเข้ า ร่ ว ม
โครงการส่งนักเรียนระดับ ม.ปลาย โรงเรียนละ 2 คน พร้อม
ครูฟสกส์ 1 คน เข้าร่วมกิจกรรม โดยครอบคลุมเนือหาเกียวกับ
ิิ
้
่
ฟิสกส์อนุภาค การฝึกปฏิบตการทดลองสร้าง Cloud Chamber
ิ
ัิ
และแนะนำ�ให้รู้จักกับสถาบันวิจัยเซิร์นซึ่งมีเครื่องเร่งอนุภาค
LHC อุปกรณ์วจยระดับโลก และสถาบันวิจยแสงซินโครตรอน
ิั
ั
ซึ่งมีเครื่องเร่งอนุภาคระดับชาติ โดยวางแผนจะดำ�เนินการ
ดังกล่าวในภาคเรียนที่ 2/2553 นี้

คำ�แนะนำ�สำ�หรับผู้เข้าร่วมโครงการรุ่นต่อไป

	
1. 	การคัดเลือกครูฟสกส์รนต่อไปควรให้ความสำ�คัญ
ิ ิ ุ่
กับผู้ที่สอนในระดับชั้น ม.6 หรือสอนฟิสิกส์อะตอม เพื่อการ
เชือมโยงความรูและโอกาสในการถ่ายทอดความรูให้กบนักเรียน
่
้
้ ั
	
2. 	เนื้ อ หาความรู้ พื้ น ฐานที่ จำ � เป็ น ต่ อ การเข้ า ร่ ว ม
โครงการ ได้แก่ กลศาสตร์ ฟิสิกส์อะตอม ฟิสิกส์ยุคใหม่ ไฟฟ้า
แม่เหล็ก และผู้เข้าร่วมโครงการควรตั้งใจศึกษาความรู้ในช่วง
การเตรียมความพร้อมที่สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน เพราะ
สามารถช่วยในการทำ�ความเข้าใจได้ง่ายขึ้น
	
3.	 ระยะเวลาในการเข้าร่วมโครงการเป็นช่วงเปิด
ภาคเรียนที่ 1 จึงควรเตรียมการสอนนักเรียนโดยสอนล่วงหน้า
หรือมอบหมายงานให้นกเรียนในช่วงระยะเวลาทีครูไม่อยู่
ั
่
	
4. 	การเตรี ย มเอกสารต่ า งๆ โดยเฉพาะการขอ
อนุญาตเดินทางไปต่างประเทศและการรายงานตัวกลับจาก
ต่างประเทศ ต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร เพราะต้องทำ�หนังสือ
ขออนุญาตไปยัง สพท. และ สพฐ. แล้วรอคำ�สั่งอนุญาต
ให้ข้าราชการไปต่างประเทศ ส่วนการรายงานตัวกลับจาก
ต่างประเทศ ให้กรอกแบบรายงานตัวกลับจากต่างประเทศ
พร้อมแนบรายงานการศึกษาดูงาน เกียรติบัตร สำ�เนาบัญชี
ลงเวลาปฏิบัติราชการวันแรก ส่งไปยังต้นสังกัด

วารสาร สควค.

7

	
5.	 การทำ�วีซ่า ควรเตรียมเอกสารให้พร้อมตามที่
สถานฑูตกำ�หนด โดยเฉพาะเอกสารรับรองจากโรงเรียนเป็น
ภาษาอังกฤษ เอกสารเชิญจากสถาบันเซิร์น
	
6. การติดต่อประสานงานกับสถาบันเซิร์น ส่วนใหญ่
เป็นการติดต่อประสานงานทางอีเมล์ จึงควรให้อีเมล์ที่ติดต่อ
ได้และควรตรวจสอบข้อความบ่อยๆ
	
7. การเข้าออกภายในสถาบันเซิร์น ซึ่งมีระบบรักษา
ความปลอดภั ย ที่ เข้ ม งวด หากไม่ ใช่ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เซิ ร์ น
ก็ไม่สามารถเข้าออกได้เด็ดขาด ดังนั้น ในครั้งแรกให้ผู้เข้าร่วม
โครงการยื่ น เอกสารเชิ ญ เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมให้ กั บ เจ้ า หน้ า ที่
เขาจะมอบกุญแจห้องและเอกสารต่างๆ ให้กับเรา รวมทั้ง ID
Cards ชัวคราว การเดินทางเข้าออกทุกครัง ผูเข้าร่วมโครงการ
่
้ ้
ควรนำ�พาสปอร์ตและ ID Cards ติดตัวตลอดเวลา
	
8. 	สถานที่พักตั้งอยู่ภายในสถาบันเซิร์น ภายในห้อง
สะดวกสบายและมีสัญญาณอินเทอร์เน็ต ห้องครัวและห้อง
ซักรีดอยู่ชั้นล่าง ผู้เข้าร่วมโครงการอาจนำ�จาน ช้อน หม้อ
กระทะ ไปทำ�อาหารเองได้ โดยสามารถซื้อของสดหรือซื้อของ
มาอุนด้วยเตาไมโครเวฟได้ มีนาดืม (นําเปล่า) ทังเย็น และร้อน
่
ํ้ ่ ้
้
ฟรีในบริเวณที่พักและบริเวณอาคารทั่วๆ ไปภายในเซิร์น
	
9. 	การแต่งกาย เนืองจากเป็นช่วงฤดูรอน ครูสามารถ
่
้
แต่งตัวตามสบายได้ ควรเตรียมหมวก และควรนำ�รองเท้าผ้าใบ
ไปด้วย เนื่องจากในการเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ ภายในเซิร์น
ต้องสวมรองเท้าหุ้มส้นเพื่อความปลอดภัย และในการเข้าร่วม
กิจกรรมต้องเดินเป็นระยะทางไกลทุกวัน
	
10.	ครูฟิสิกส์ที่ได้รับเงินสนับสนุนจากสถาบันเซิร์น
ควรเตรียมเงินสำ�รองไว้ใช้ประมาณ 1 สัปดาห์ โดยในแต่ละวัน
จะใช้เงินไม่เกิน 50 ฟรังสวิส (ประมาณ 1,500 บาท ขึ้นกับ
อัตราการแลกเปลี่ยนเงินในขณะนั้น) โดยเอกสารรับเงินใช้
เฉพาะพาสปอร์ต รับเงินที่ไปรษณีย์ภายในเซิร์น 	
	
11.	การสือสารภาษาอังกฤษควรเน้นเกียวกับการบอก
่
่
ตำ�แหน่งและทิศทางสำ�คัญมาก นอกจากภาษาอังกฤษแล้ว
ควรศึกษาภาษาฝรั่งเศสบ้างจะเป็นประโยชน์มาก
	
12.	เว็บไซต์ ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าร่วมโครงการคือ
http://teachers.cern.ch/ ซึ่งสามารถดาวน์โหลดเอกสาร
ได้ ฟ รี ห รื อ ลิ ง ค์ ไ ปยั ง เว็ บ ไซต์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล
ต่างๆ ได้
8

วารสาร สควค.	

บทความ

ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553

ประสบการณ์จากการเข้าร่วมโครงการครูฟิสิกส์
ภาคฤดูร้อนเซิร์น ของครูพิมพร ผาพรม
พิมพร  ผาพรม สควค. รุ่น 7 ครู คศ.1 ร.ร.ท่าคันโทวิทยาคาร จ.กาฬสินธุ์

	
กิจกรรมครูฟิสิกส์ภาคฤดูร้อน ระหว่างวันที่ 4-23
กรกฎาคม 2553 แบ่งเป็น 4 กิจกรรมหลัก ได้แก่ การฟัง
บรรยายเนื้อหาฟิสิกส์ การเข้าเยี่ยมชมสถานที่ภายในสถาบัน
เซิร์น การปฏิบัติการทดลอง การนำ�เสนอข้อมูลและผลการ
ทำ � กิ จ กรรมกลุ่ ม และกิ จ กรรมอื่ น ๆ มากมาย โดยสำ � หรั บ
การฝึกปฏิบัติการทดลองและทำ�กิจกรรมกลุ่ม มีดังนี้
	
1. 	Build a Cloud Chamber ฝึกสร้างเครือง cloud
่
chamber
	
2. 	Introducing the Teachers Lab ศึกษาการ
ทดลอง และวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลอง
	
3. 	working Groups แยกกลุ่มย่อยศึกษาตามหัวข้อ
ที่สนใจ ซึ่งมีจำ�นวน 6 กลุ่ม ดังนี้
		 1) 	Teachers Lab การทดลองด้านฟิสกส์อนุภาค
ิ
เพือนำ�ไปใช้ในชันเรียน มีทปรึกษาและผูสนับสนุนด้านอุปกรณ์
่
้
ี่
้
การทดลอง คือ บริษัท Phywe
		 2) 	Teaching Module คือ การจัดทำ�เนือหา และ
้
สื่อการสอนด้านฟิสิกส์อนุภาค
		 3) 	Master classes คือ สร้างเนือหาและหลักสูตร
้
การสอน
		 4) 	The International Baccalaureate
Diploma (IB) การสร้างเนื้อหา แบบฝึก กิจกรรมการเรียน
การสอนฟิสิกส์สำ�หรับนักเรียนในโรงเรียนนานาชาติ
		 5) 	Pre-Visit Pack การจัดทำ�โปรแกรมสำ�หรับ
การศึกษาดูงาน สาหรับผู้ต้องการเยี่ยมชมเซิร์น ในช่วงเวลา
สั้นๆ
		 6) 	How do you know? การค้นหาวิธีการ หรือ
แหล่งข้อมูลอธิบายความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับฟิสิกส์อนุภาค
	
โดยข้าพเจ้าเลือกกลุ่ม IB เพื่อเรียนรู้การจัดหลักสูตร
เนื้อหา รวมถึงแบบฝึกหัดสำ�หรับการจัดการเรียนการสอน
ฟิสิกส์ระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียนนานาชาติ ซึ่งได้มีการ
บรรจุเนื้อหาด้านฟิสิกส์อนุภาคในหลักสูตรแล้ว ทั้งนี้เพื่อเป็น
แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนและอาจปรับใช้
กับโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทยต่อไป โดยมีการ
แบ่งหัวข้อสำ�หรับการดำ�เนินการ ดังนี้
	
1. 	ประชุมเพือทำ�ความเข้าใจลักษณะและจุดประสงค์
่
ของงาน

	

2. 	เลือกเนื้อหาและแบ่งหัวข้อย่อย	
	
3. 	ศึกษาค้นคว้า พัฒนาสื่อ แบบฝึกหัดที่รับผิดชอบ
	
4. 	รวบรวมเนื้อหาและสื่อเพื่อสรุปเป็นเนื้อหา
	
5. 	นำ�เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ
	
6. 	เสนอเนื้อหาลงในเว็บไซต์ของเซิร์น
	
เนื่องจากประเด็นที่กลุ่ม IB จะดำ�เนินการนั้นมีอยู่
จำ�นวนมาก จึงไม่สามารถดำ�เนินการให้เสร็จได้ภายในช่วงเวลา
ที่อบรมอยู่ ดังนั้น จึงวางแผนการทำ�งานให้ถึงเพียงขั้นตอน
การกำ�หนดเนื้อหาและสร้างสื่ออย่างง่าย เพื่อนำ�เสนอให้
เพื่อนครูกลุ่มอื่นๆ เข้าใจและรับรู้เกี่ยวกับภาพรวมของกลุ่ม IB
ส่วนขั้นตอนการสร้างและจัดทำ�เนื้อหาโดยละเอียด ต้องรอ
ตรวจจากผู้เชี่ยวชาญซึ่งต้องดำ�เนินการภายหลัง การสร้าง
เนื้ อ หาและแบบฝึ ก หั ด หรื อ กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน
ให้สัมพันธ์กับหลักสูตรวิชาฟิสิกส์นั้น กลุ่ม IB เน้นที่ฟิสิกส์
อนุภาค สำ�หรับนักเรียนอายุระหว่าง 16-19 ปี จำ�นวน 2,183
โรงเรียนจาก 138 ประเทศ เนื่องจากฟิสิกส์อนุภาคเป็นเนื้อหา
ทางเลือกหนึ่งของวิชาฟิสิกส์ในระดับ higher level ดังนั้น
โปรแกรมครูฟสกส์ภาคฤดูรอนจึงได้สร้างเนือหาและจัดเอกสาร
ิิ
้
้
ต่างๆ เพื่ออำ�นวยความสะดวกและพัฒนาการเรียนการสอน
โดยได้ด�เนินการต่อเนืองมาประจำ�ทุกปี มีจดประสงค์หลัก คือ
ำ
่
ุ
	
1. 	สร้างแหล่งเรียนรู้ที่มีเนื้อหาถูกต้อง แม่นยำ� และ
เป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน ผ่านสื่อที่หลากหลาย เช่น เนื้อหา
ที่อยู่ในรูปแบบ Power point, แบบฝึกหัด, คู่มือการทดลอง
เป็นต้น
	
2. 	กระตุนและส่งเสริมให้ครูสอนเนือหาฟิสกส์อนุภาค
้
้
ิ
มากขึ้น
	
3. 	พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนฟิสิกส์
อนุภาคให้ดียิ่งขึ้น
	
ทังนีโครงสร้างของวิชาฟิสกส์ และเนือหาทีเ่ รียนทีเ่ ซิรน
้ ้
ิ
้
์
กำ�หนด ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 22 ชั่วโมง ผู้สนใจสามารถเลือก
ดาวน์โหลดเอกสารดังกล่าวได้ที่ http://teachers.cern.ch
และที่ www.krusmart.com
	
นอกจากนียงมีการนำ�เสนอระบบการศึกษาของแต่ละ
้ั
ประเทศโดยมีคำ�ถามเป็นตัวกำ�หนดเนื้อหา เช่น โรงเรียนของ
ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นของรัฐบาลหรือเอกชน จำ�นวนนักเรียน
ในโรงเรียนและนักเรียนต่อห้อง จำ�นวนวิชาฟิสิกส์ต่อสัปดาห์
ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553	

สัดส่วนเนือหาวิชาฟิสกส์กบวิชาอืนๆ ในหลักสูตรของโรงเรียน
้
ิ ั
่
สัดส่วนเนื้อหาของฟิสิกส์อนุภาคต่อเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ทั้งหมด
อุปกรณ์การทดลองเพียงพอหรือไม่ การสนับสนุนเด็กทีมความ
่ี
สามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ของรัฐบาลเป็นอย่างไร วุฒการ
ิ
ศึกษาของครูและคุณสมบัติอื่นๆ ในการเป็นครูวิทยาศาสตร์
และครูฟิสิกส์ การนำ�เสนอใช้เวลาประมาณ 10 นาที ไม่เน้น
ความเป็นทางการมากนัก
	
4. 	กิจกรรมอื่นๆ เช่น
		 - 	Pool and Pizza เป็นกิจกรรมตอนเย็นหลังเลิก
จากการอบรม คือ การว่ายนํ้า (ไม่บังคับ) และร่วมทานพิซซ่า
ที่ร้านใกล้ๆ เซิร์น และชมบรรยากาศสภาพทั่วไปรอบๆ เซิร์น
ซึ่งส่วนใหญ่เป็นไร่ทานตะวัน งา ข้าว และข้าวโพด เป็นต้น
		 - 	Discover Geneva Treasure Hunt แบ่งกลุ่ม
(แบบสุ่ม) เพื่อท่องเที่ยวเจนีวาในวันหยุด เพื่อเป็นการแนะนำ�
สถานที่ท่องเที่ยวที่สำ�คัญของเจนีวา และเสริมสร้างความ
สามัคคีของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยมีการแจกเอกสารให้แต่ละ
กลุ่มเดินตามหาคำ�ตอบ ตามเส้นทางที่กำ�หนดและจบด้วย
การทาน ฟองดู (Fon due) อาหารขึ้นชื่อของสวิตเซอร์แลนด์
		 - 	International Evening การแสดงแลกเปลียน
่
วัฒนธรรมของชาติต่างๆ โดยครูที่เข้าร่วมโครงการจะเป็น
ผู้จัดสถานที่และการเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อนครูส่วนใหญ่
ทำ�อาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติตนเองให้เพื่อนๆ ลองชิม
เช่น ช็อกโกแล็ตชาเขียวของญี่ปุ่น ชีสหลากชนิดของฝรั่งเศส
ขนมหวานจากมาซิโดเนีย บางชาติก็มีการแสดงหรือกิจกรรม
ให้ร่วมกันทำ� เช่น การหัดเต้นแบบสเปน ตุรกี เคนยา และการ
แสดงรำ�ไทยของประเทศไทยโดยนางสาวสุพัตรา ทองเนื้อห้า
ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของครูทุกคน
		 - 	Jura picnic กิจกรรมปิคนิคที่ยอดเขาจูรา
ยอดเขาจูรา เป็นยอดเขาหนึ่งของเทือกเขาแอลป์ อยู่บริเวณ
ไม่ไกลจากเซิร์นมากนัก โดยทุกคนต้องเดินจากจุดจอดรถ
ถึงยอดเขาและช่วยกันถือสิ่งของที่เป็นของส่วนรวมไปด้วย
เมื่อถึงยอดเขา ครูผู้หญิงจะเตรียมอาหาร จากนั้นร่วมกัน
ทานอาหาร ผลไม้ ที่เตรียมมา บนยอดเขาจูราสามารถมอง
เห็นทะเลสาบเจนีวาและวิวที่สวยงามด้านฝรั่งเศส อากาศเย็น
ลมแรง เป็ น กิ จ กรรมที่ ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งความสามั ค คี ไ ด้ อี ก
รูปแบบหนึ่ง	

วารสาร สควค.

9

	
- Farewell BBQ กิ จ กรรมเลี้ ย งส่ ง ด้ ว ยบาบี คิ ว
ในคื น สุ ด ท้ า ยหลั ง ปิ ด โครงการ โดย Dr.rolf Landau
ผู้อำ�นวยการโครงการ HST 2010 ลงมือบริการปิ้งบาบีคิวด้วย
ตนเองและไม่ยอมให้ใครช่วยเหลือ ทุกคนแสดงความขอบคุณ
ทีมงานที่ให้ความรู้และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
เมือถึงเวลาเลิกงาน ทุกคนกล่าวลาด้วยคำ�ว่า “แล้วพบกันอีก”
่

ประโยชน์ที่ได้รับ

	
1.	 ได้รบความรูเพิมเติม ในเนือหาด้านฟิสกส์อนุภาค
ั
้ ่
้
ิ
	
2. 	ทราบแนวทาง และมีประสบการณ์ ในการทดลอง
และการสร้างสื่อการสอนฟิสิกส์
	
3. 	รู้และเข้าใจ จุดประสงค์ เป้าหมาย และบทบาท
ของเซิร์นมากยิ่งขึ้น
	
4.	 ได้ แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ก ารเรี ย นการสอนฟิ สิ ก ส์
กับครูฟิสิกส์ในประเทศต่างๆ เพื่อนำ�มาปรับปรุงการเรียน
การสอนในชั้นเรียนของตน
	
5. 	มี เ ครื อ ข่ า ยครู ฟิ สิ ก ส์ เ พื่ อ แลกเปลี่ ย นกิ จ กรรม
การสอนและสื่อการเรียนการสอนในโอกาสต่อไป

แผนการดำ�เนินการหลังจากเข้าร่วมโครงการ

	
1. 	จั ด อบรมความรู้ แ ละขยายผลแก่ ค รู นั ก เรี ย น
นั ก ศึ ก ษา ที่ ส นใจเกี่ ย วกั บ การสร้ า งสื่ อ การเรี ย นการสอน
ด้านฟิสิกส์อนุภาค สำ�หรับครูในภูมิภาคหรือในงานประชุม
วิชาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ในโรงเรียน เป็นต้น
	
2. 	สร้างสื่อการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์ในชั้นเรียน
ให้น่าสนใจ ใช้แหล่งข้อมูลที่มีอยู่เผยแพร่ความรู้ด้านฟิสิกส์
อนุภาค ผ่านทางเว็บไซต์
	
3. 	ติดต่อ ประสานงานกับเครือข่ายครูในกลุ่ม IB
Group จัดทำ�เนื้อหาในช่วงต่อไป
	
ข้าพเจ้าและนางสาวสุพัตรา ทองเนื้อหา ล้วนสานึก
ในพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าฯ อันหาที่สุดมิได้ในสมเด็จ
พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ที่ ไ ด้ ท รง
พระราชทานโอกาสในการเป็นตัวแทนครูฟสกส์ไทยให้เข้าร่วม
ิิ
โครงการครูฟิสิกส์ฤดูร้อนเซิร์น ประจำ�ปี 2553 และ ขอกราบ
ขอบพระคุณคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ที่คัดเลือกและมอบ
โอกาสที่สำ�คัญยิ่ง แก่ข้าพเจ้าและนางสาวสุพัตรา ทองเนื้อหา
ซึ่งเป็นครู สควค. ในการเข้าร่วมโครงการครั้งนี้
10 วารสาร สควค.	

ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553

นวัตกรรมการเรียนรู้

การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ห้องเรียนสายน้ำ�

  จารุวรรณ เตชะสุทธิรัฐ สควค. รุ่น 5 ครู คศ.1 ร.ร.วัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) จ.นครปฐม

1. ที่มาและความสำ�คัญ

	
โรงเรียนวัดดอนหวาย(นครรัฐประสาท) จ.นครปฐม
ได้เปิดโอกาสให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น รวมกลุ่ม
นักเรียนที่มีความสนใจร่วมกันจัดตั้งเป็นชุมนุมวิทยาศาสตร์
และชุมนุมนักสิ่งแวดล้อมรุ่นเยาว์ เพื่อสนับสนุนให้นักเรียน
ได้เรียนรู้และเพิ่มทักษะทางวิทยาศาสตร์ และจัดกิจกรรม
ทีใช้ความรูทางวิทยาศาสตร์ให้เป็นประโยชน์รวมกัน ประกอบ
่
้
่
กับโรงเรียนวัดดอนหวายของพวกเรา ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่นํ้าท่าจีน
ดังนั้น สมาชิกชุมนุมวิทยาศาสตร์ และชุมนุมนักสิ่งแวดล้อม
รุ่นเยาว์ได้ร่วมกันสำ�รวจ ศึกษา วิเคราะห์ ตลอดจนศึกษา
ปัญหาและอุปสรรคที่ก่อเกิดกับแม่นํ้าท่าจีน และได้มีการ
กำ�หนดวิธีการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อหาแนวทางในการ
พัฒนากลุ่มนักเรียนและเครือข่ายที่สนใจให้มีศักยภาพสูงขึ้น
ใช้เวลาในการพัฒนา 3 ปี (ปีการศึกษา 2551-2553)

2. รูปแบบกิจกรรม

	
คณะผู้ดำ�เนินการได้แก่ สมาชิกชุมนุมวิทยาศาสตร์
ชุมนุมนักสิ่งแวดล้อมรุ่นเยาว์ และคณะครูที่ปรึกษาได้ร่วมกัน
ออกแบบการเรียนรู้กิจกรรมการพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนํ้า รวมทั้งสิ้น 16 กิจกรรม ดังนี้
	
1) 	กิจกรรมเส้นเวลา ประวัติและความสำ�คัญของ
แม่นํ้าท่าจีน
	
2)	 กิจกรรมเส้นทางคุณขยะ ศิลปะจากเศษกระดาษ
	
3) 	กิจกรรมตะกอนซ่อนหา และค่าการนำ�ไฟฟ้าของนํา
้
	
4) 	กิจกรรมการสำ�รวจสัตว์นาในระบบนิเวศแม่นาท่าจีน
ํ้
ํ้
	
5) 	กิจกรรมการสำ�รวจพืชนําในระบบนิเวศแม่นาท่าจีน
้
้ํ
	
6) 	กิจกรรมนํ้ามือใคร นํ้าสะอาดได้อย่างไร
	
7)	 กิจกรรมร้อนๆ เย็นๆ	 การสำ�รวจอุณหภูมินํ้าใน
แหล่งนํ้า
	
8) 	กิจกรรมสารพัดพิษ (ฟอสเฟต)
	
9) 	กิจกรรมธรรมชาติสอน การอนุรักษ์และพัฒนา
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
	
10)		 กิจกรรม pH สภาพทางเคมีของแหล่งนํ้า
	
11) 	กิจกรรมเพิ่มลมหายใจให้ กุ้งปลา D.O.

	
12)		 กิจกรรมหวนคืนท่าจีน เช่น เขียนเรียงความ
คำ�ขวัญ
	
13)		 กิจกรรมโครงการ “เรือสื่อรักท่าจีน”
	
14) 	กิ จ กรรมพั ฒ นาแหล่ ง การเรี ย นรู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
กับสุขภาพชุมชน การท่องเที่ยว วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น
วันสำ�คัญทางพระพุทธศาสนา และการเรียนรู้จากโครงงาน
	
15) 	กิจกรรมศูนย์ท่าจีนศึกษา
	
16) 	กิจกรรมลำ�นํ้า โดยเป็นการเฝ้าระวังคุณภาพนํ้า
ด้วยวิธการตรวจสอบคุณภาพนําด้านกายภาพ เคมี และชีวภาพ
ี
้
อย่างต่อเนือง ตลอดจนการเรียนรูเ้ พือการอยูรวมกับธรรมชาติ
่
่
่่
อย่างยั่งยืน

3. ผลของการพัฒนา

	
1) 	ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับ
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากแหล่งการเรียนรู้แม่นํ้าท่าจีนของ
นักเรียน โดยใช้ค่าเฉลี่ย ( X ) มีการพัฒนาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
	
2)	 ผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจในการเข้ า ร่ ว ม
กิจกรรมการพัฒนาเครือข่ายการเรียนรูวทยาศาสตร์ ห้องเรียน
้ิ
สายนํ้า จากแหล่งการเรียนรู้แม่นํ้าท่าจีน ของผู้ร่วมกิจกรรม
โดยภาพรวมอยู่ในระดับน่าพึงพอใจ
	
3)	 การพัฒนางานเชิงคุณภาพในการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนํ้า
ส่งผลให้ผู้ร่วมกิจกรรม ผ่านการเรียนรู้ ตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ ดังนี้
		 3.1) 	ผู้ร่วมกิจกรรม สามารถเลือกเรียนตามความ
ถนัดและความสนใจได้อย่างหลากหลายโดยผ่านการเรียนรู้
จากแหล่งการเรียนรู้แม่นํ้าท่าจีน
		 3.2) 	ผู้ร่วมกิจกรรม มีความสามารถสร้างองค์
ความรู้ได้ด้วยตนเองโดยใช้แหล่งการเรียนรู้แม่นํ้าท่าจีน
		 3.3) 	ผู้ร่วมกิจกรรม มีผลงานดีเด่นที่เกิดจากการ
พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนํ้า
อย่างต่อเนื่อง
		 3.4) 	ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรม มี ทั ก ษะกระบวนการ
ทางวิ ท ยาศาสตร์ เป็ น ผู้ นำ � ด้ า นวิ ช าการท้ อ งถิ่ น สามารถ
นำ�เสนอปัญหาที่เกิดจากแหล่งการเรียนรู้ท้องถิ่นและวิธีการ
แก้ไขปัญหาร่วมกับชุมชนและเครือข่ายได้อย่างต่อเนื่อง
ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553	

		 3.5)	ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรม มี ค วามสามารถเชื่ อ มโยง
เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์เพื่อนำ�สู่การแก้ปัญหาของท้องถิ่น
โดยผ่านกระบวนการกลุมสนใจ เช่น ชุมนุมวิทยาศาสตร์ ชุมนุม
่
นักสิ่งแวดล้อมรุ่นเยาว์ และวิทยากรนักสืบสายนํ้าแม่นํ้าท่าจีน
		 3.6) ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรม มี ค วามสามารถในการ
นำ�เสนอองค์ความรูทเี่ กิดจากการเรียนรูอย่างต่อเนืองสมําเสมอ
้
้
่ ่
และใช้ทรัพยากรและภูมิปัญญาในท้องถิ่นช่วยในการพัฒนา
คุณภาพชีวต และนำ�เสนอผลงาน เผยแพร่ผลงานสูสาธารณชน
ิ
่
ในสื่อสารมวลชน องค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง
		 3.7)	ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรม มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ มี จิ ต
วิ ท ยาศาสตร์ โดยผ่ า นกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยีในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมและมีการใช้
ทรัพยากรท้องถิ่นอย่างคุ้มค่า
		 3.8) 	ผรวมกิจกรรม มีความสามารถในการจัดการ
ู้ ่
ความรู้ จัดกระบวนการเรียนรูดวยกิจกรรมการปฏิบตจริง เช่น
้้
ัิ
กิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพนํ้าแม่นํ้าท่าจีน กิจกรรมคลองสวย
นํ้าใส กิจกรรมสานเครือข่ายเยาวชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
		 3.9) 	ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรม สามารถประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น
สิ่งใหม่ (Innovation) พอใจในผลงาน และเป็นผู้สร้างสรรค์
(Creative) มีผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ และผลิตภัณฑ์
จากภูมปญญา ผลงานดีเด่นจากหน่วยงานต่างๆ อย่างต่อเนือง
ิ ั
่

4. คุณค่าที่ได้รับจากโครงการ

	
1) 	คุณค่าต่อนักเรียน
		 1.1)	การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ห้องเรียนสายนํ้า กระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้ร่วมกิจกรรมได้
ลงมือปฏิบตเิ พือสืบเสาะหาความรูในสภาพแวดล้อมในท้องถิน
ั ่
้
่
ทั้งดิน นํ้า อากาศ และสิ่งมีชีวิตที่ตนเองสนใจ โดยเน้นการ
สำ�รวจ การสังเกต การตั้งคำ�ถามวิจัย การสืบค้นข้อมูล การ
ตรวจวัด การวิเคราะห์ การอภิปราย และสรุปผล เพื่อศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบหลักของโลก (ดิน นํ้า
อากาศ และสิ่งมีชีวิต) และการเปลี่ยนแปลง
		 1.2) 	การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ห้ อ งเรี ย นสายนํ้ า ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรมจะได้ พั ฒ นาองค์ ค วามรู้
กระบวนการคิ ด วิ เ คราะห์ แ ละการคิ ด เป็ น ระบบอย่ า งเป็ น
องค์รวม การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ ทักษะในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ

วารสาร สควค. 11

	
ความสามารถในการสือสาร การทำ�งานร่วมกันเป็นทีม
่
การนำ�ความรูทได้รบไปประยุกต์ใช้ในชีวตประจำ�วัน ตลอดจน
้ ี่ ั
ิ
มีจิตวิทยาศาสตร์ เจตคติ คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
	
2) 	คุณค่าต่อครูและโรงเรียน
		 ครู ผู้ ส อนและโรงเรี ย นเป็ น ปั จ จั ย สำ � คั ญ ในการ
สนั บสนุ นการเรี ย นรู้ ในทุ ก ๆ ด้ า นของผู้ ร่ วมกิ จ กรรม โดย
สามารถนำ�กิจกรรมการเรียนรู้จากกระบวนการการพัฒนา
เครือข่ายการเรียนรูวทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนําไปประยุกต์ใช้
้ิ
้
เป็นกิจกรรมการเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมธรรมชาติ
ในโรงเรียนและในท้องถินได้หลายรูปแบบ เช่น จัดเป็นรายวิชา
่
เพิ่มเติม (รายปี) กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
หรือนำ�เนื้อหาบางส่วนบูรณาการเข้าไปกับวิชาวิทยาศาสตร์
ซึงกิจกรรมดังกล่าวสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขันพืนฐาน
่
้ ้
พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำ�หรับ
นักเรียนชั้น ป. 4-6 และ ม. 1-3
	
3) 	คุณค่าต่อชุมชนและองค์กรอื่นๆ
		 การเรียนรู้จากกระบวนการ การพัฒนาเครือข่าย
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนํ้าส่งเสริมให้ชุมชน
และทุ ก หน่ ว ยงานทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม
ในการทำ�ความเข้าใจปัญหา และแก้ปญหาเกียวกับสิงแวดล้อม
ั
่
่
ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น รวมถึงรับผิดชอบในฐานะสมาชิกคนหนึ่ง
ขององค์ ป ระกอบสำ � คั ญ ของโลก ที่ จ ะต้ อ งร่ ว มมื อ ป้ อ งกั น
อนุรกษ์ ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดล้อมในท้องถิน
ั
่
่
ของตนและของโลกให้คงอยู่อย่างยั่งยืนตลอดไป

ผู้สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ Tel.034-393659
Fax. 034-288068 ผู้ประสานงานโครงการ ครูบุญมี อบเชย
Tel. 08-9789-1824 E-mail:sciencedonwai@gmail.com
12 วารสาร สควค.	

ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553

สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ด้วยครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายครู สควค. ภาคใต้
        วิสุทธิ์ คงกัลป์ สควค. รุ่น 6 ครู คศ.1 ร.ร. นครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช

	
เมื่อวันที่ 19-21 พ.ค. 2553 ชมรมครู สควค. สาขา
ภาคใต้ ได้กำ�หนดจัดกิจกรรม “สัมมนาวิชาการและประชุม
ใหญ่สามัญประจำ�ปี 2553 ชมรมครู สควค. ภาคใต้ เรื่อง
การพัฒนาครู สควค. สูครูมออาชีพเพือการเรียนรูวทยาศาสตร์
่ ื
่
้ิ
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี” ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ทักษิณ จังหวัดสงขลา
	
ครูจากโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถ
พิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) เป็นทีคาดหวัง
่
ของสังคมและประเทศชาติว่า จะช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลน
ครู วิ ท ยาศาสตร์ แ ละคณิ ต ศาสตร์ ทั้ ง ปริ ม าณและคุ ณ ภาพ
และยกมาตรฐานการศึกษาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ให้
สูงขึ้น ฉะนั้นการที่ครู สควค. จะปฏิบัติหน้าที่ได้ตามความ
คาดหวังดังกล่าว ต้องได้รบการพัฒนาอย่างต่อเนือง และมีการ
ั
่
สร้างเครือข่ายการทำ�งานร่วมกันเพื่อเป็นผลักดันการศึกษา
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์อย่างชัดเจน ชมรมครู สควค.
ภาคใต้จงจัดสัมมนาวิชาการขึน โดยการสนับสนุนงบประมาณ
ึ
้
จาก สสวท. จำ�นวน 150,000 บาท มีครู สควค. เข้าร่วมกิจกรรม
จำ�นวน 130 คน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ
	
1. 	ประชุมใหญ่สามัญ ประจำ�ปี 2553 ชมรมครู สควค.
ภาคใต้
	
2. 	เพื่อให้ผู้เข้าสัมมนาได้แลกเปลี่ยนความรู้ เพิ่มพูน
ประสบการณ์ในการทำ�งาน
	
3. 	เพื่อให้ผู้สัมมนาได้พัฒนาตนเอง สู่การเป็นครู
มืออาชีพ
	
4. 	เพือวางแนวทางในการพัฒนาการศึกษาวิทยาศาสตร์
่
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
	
ชมรมครู สควค. ภาคใต้ ได้กำ�หนดจัดกิจกรรม ดังนี้
	
19 พฤษภาคม 2553 มีกิจกรรม ดังนี้
	
- 	พิธเี ปิดและบรรยายพิเศษ “ความคาดหวังของสังคม
กับครู สควค.” โดย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ ม.ทักษิณ
	
- 	บรรยายเรื่อง การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง
	
- 	ประชุมแนะนำ�คณะกรรมการชมรมฯ และสัมมนา
เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาชมรม ครู สควค. ภาคใต้	

	
20 พฤษภาคม 2553 :: มีกจกรรมการอบรมปฏิบตการ
ิ
ัิ
ตามหัวข้อ ดังนี้
	
- 	การเขียนรายงานโครงการและการปฏิบัติงานทาง
วิชาการในโรงเรียน
	
- 	การควบคุมชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ
	
- 	การจั ด การเรี ย นรู้ แ บบวิ จั ย ในชั้ น เรี ย นที่ เ น้ น
กระบวนการคิด
	
- 	กิจกรรม “จิตสาธารณะสำ�หรับครู สควค.”
	
- 	กิจกรรม สร้างเครือข่ายครู สควค. ที่เข็มแข้ง
	
21 พฤษภาคม 2553 มีกิจกรรม ดังนี้
	
- 	แลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำ�เสนอผลงานแยกตาม
สาขาวิชา
	
- 	ประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปี 2553 และอภิปราย
แนวทางการจัดกิจกรรมของชมรมเพื่อพัฒนาการศึกษา
	
- 	ศึกษาดูงานการจัดการเรียนการสอน ณ โรงเรียน
มอ.วิทยานุสรณ์ อำ�เภอหาดใหญ่
	
จากการจั ด กิ จ กรรมพบว่ า ได้ รั บ การตอบรั บ จาก
ครู สควค. ภาคใต้ ให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมจำ�นวน
มาก และทำ�ให้เรามีเว็บไซต์ของชมรมครู สควค. ภาคใต้ ผู้เข้า
ร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเสนอแนะข้อคิดเห็น
ที่มีประโยชน์ ซึ่งประสบการณ์และความสำ�เร็จที่ได้รับ จะเป็น
พื้นฐานให้เราได้ออกแบบจัดกิจกรรมให้ดียิ่งขึ้นในปีต่อไป
	
ชมรมครู สควค. ภาคใต้ จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้าง
เครือข่ายและส่งเสริมความสามัคคีระหว่างครู สควค.
ภาคใต้ ส่ ง เสริ ม มาตรฐานการดำ � เนิ น งานให้ เ ป็ น ไป
ในแนวทางเดียวกัน เป็นศูนย์รวมในการดำ�เนินงานและ
แก้ปัญหาร่วมกัน เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาการจัดการ
ศึกษาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์แก่เยาวชนของชาติ
ร่วมมือกับรัฐบาล หน่วยงาน ผู้บริหารสถานศึกษา และ
สถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี
ในอันที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ทางการพัฒนาการจัดการ
ศึกษาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของชาติ และส่งเสริม
ความรู้และพัฒนาความก้าวหน้าแก่สมาชิก
ดูรายละเอียดที่ http://www.nara1.org/sorkorworkor
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)

More Related Content

What's hot

การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
Wichai Likitponrak
 
การเจริญของ embryo กบ
การเจริญของ embryo กบการเจริญของ embryo กบ
การเจริญของ embryo กบ
PhatornPitiphat
 
Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1
Wichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsJiraporn
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมkrupornpana55
 

What's hot (7)

เอกสารหมายเลข มคอ 3
เอกสารหมายเลข มคอ 3เอกสารหมายเลข มคอ 3
เอกสารหมายเลข มคอ 3
 
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
 
การเจริญของ embryo กบ
การเจริญของ embryo กบการเจริญของ embryo กบ
การเจริญของ embryo กบ
 
Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 

Viewers also liked

TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
SAKANAN ANANTASOOK
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตI'June Jindawong
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
จ๊อบ พชร
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
SAKANAN ANANTASOOK
 
เทคนิคการสืบค้นบนGoogle
เทคนิคการสืบค้นบนGoogleเทคนิคการสืบค้นบนGoogle
เทคนิคการสืบค้นบนGooglekikkok
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตPitchaporn Phonphaengkwa
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยChantana Papattha
 

Viewers also liked (7)

TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
เทคนิคการสืบค้นบนGoogle
เทคนิคการสืบค้นบนGoogleเทคนิคการสืบค้นบนGoogle
เทคนิคการสืบค้นบนGoogle
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
 

Similar to TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)

Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
Tsmt vol16
Tsmt vol16Tsmt vol16
Tsmt vol16
MonSci Physics
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Global Young Scientists Summit 2014 # 1
Global Young Scientists Summit 2014 # 1Global Young Scientists Summit 2014 # 1
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
KruBeeKa
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
Wiwat Ch
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
Apichart Wattanasiri
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
prakan1234
 

Similar to TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15) (20)

Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 Full
 
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009
 
Tsmt vol16
Tsmt vol16Tsmt vol16
Tsmt vol16
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
 
Global Young Scientists Summit 2014 # 1
Global Young Scientists Summit 2014 # 1Global Young Scientists Summit 2014 # 1
Global Young Scientists Summit 2014 # 1
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
 
Ast.c2560.6tp
Ast.c2560.6tpAst.c2560.6tp
Ast.c2560.6tp
 
Present dpst
Present dpstPresent dpst
Present dpst
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.
 
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 
V 300
V 300V 300
V 300
 
มูลนิธิโทเร
มูลนิธิโทเรมูลนิธิโทเร
มูลนิธิโทเร
 

More from SAKANAN ANANTASOOK

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
SAKANAN ANANTASOOK
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
SAKANAN ANANTASOOK
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
SAKANAN ANANTASOOK
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
SAKANAN ANANTASOOK
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
SAKANAN ANANTASOOK
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
SAKANAN ANANTASOOK
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
SAKANAN ANANTASOOK
 

More from SAKANAN ANANTASOOK (20)

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
 
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
 
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
 

TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)

  • 1. ด้วยพระบารมี ตัวแทนครูและนักศึกษาไทยได้อบรมและทำ�วิจัยที่เซิร์น วารสาร ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553 ชมรมครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ISSN 1905-758X TSMT Journal สนับสนุนโดย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
  • 2. 2 วารสาร สควค. ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553 ผู้บริหารจาก 4 องค์กรหลักด้านฟิสิกส์ของไทย จับมือกับเซิร์น ครูพิมพร ผาพรมและครูสุพัตรา ทองเนื้อห้า ครู สควค. (ฟิสิกส์) รับสมัครครู/นักศึกษาไทยเข้าร่วมกิจกรรมภาคฤดูร้อน CERN เป็นตัวแทนครูฟิสิกส์จากประเทศไทยเข้าร่วมโครงการที่ CERN ครูและนักศึกษาไทยเตรียมความพร้อมเรื่อง เครื่องเร่งอนุภาค ครูฟิสิกส์จำ�นวน 40 คน จาก 22 ประเทศ เข้าร่วมโครงการฯ ที่สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ก่อนเข้าร่วมโครงการที่ CERN กับ CERN ณ กรุงเจนีวา สหพันธรัฐสวิส เป็นเวลา 3 สัปดาห์ นอกจากจะได้ความรู้และเพื่อนจากหลายประเทศ ยังได้เผยแพร่วัฒนธรรมของไทยและแสดงศักยภาพของครูฟิสิกส์ไทยในเวทีโลก 12 ก.ค. 2553 :: สสวท. ติดตามประเมินผลและให้ก�ลังใจครู สควค. 9 ส.ค. 2553 :: สสวท. จัดกิจกรรมติดตามประเมินผลให้กำ�ลังใจ ำ พื้นที่ภาคอีสานตอนล่างที่ ร.ร.เบญจมะ มหาราช จ.อุบลราชธานี ครู สควค. พื้นที่ภาคเหนือที่ ร.ร.จักรคำ�คณาธร จ.ลำ�พูน
  • 3. ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553 วารสาร สควค. 3 สารบัญ บทบรรณาธิการ ครูศักดิ์อนันต์ อนันตสุข E-mail :: anantasook@gmail.com สวัสดีครับ พีนองเพือนสมาชิกชมรมครู สควค. และ ่ ้ ่ ท่านผู้อ่าน “วารสาร สควค.” ทุกท่าน นั บ เป็ น พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อย่ า งหาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรง พระราชทานโอกาสให้ครูฟิสิกส์ระดับมัธยมศึกษา 2 คน ของประเทศไทยได้รวมงานวิจยกับเซิรน องค์กรวิทยาศาสตร์ ่ ั ์ ระดับโลก ณ สหพันธรัฐสวิส เป็นเวลา 3 สัปดาห์ ด้วยทรง มีพระประสงค์ที่จะเสริมสร้างความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่ า งประเทศไทยกั บ สถาบั น เซิ ร์ น ในการพั ฒ นา ขีดความสามารถและศักยภาพด้านฟิสกส์ให้แก่เด็ก เยาวชน ิ ครู และนักวิจัยไทย ซึ่งในปีแรกนี้ ครู สควค. จำ�นวน 2 คน คือ นางสาวสุพตรา ทองเนือห้า และนางสาวพิมพร ผาพรม ั ้ ได้ เ ป็ น ตั ว แทนประเทศไทย ไปร่ ว มโครงการครู ฟิ สิ ก ส์ ภาคฤดูร้อนเซิร์น และทั้งสองคนได้ถ่ายทอดความรู้และ ประสบการณ์ต่างๆ ให้เราได้รับทราบและร่วมภาคภูมิใจ ในวารสาร สควค.ฉบั บ นี้ ซึ่ ง ครู ฟิ สิ ก ส์ ที่ ส นใจเข้ า ร่ ว ม โครงการ ก็ขอให้เตรียมพร้อมและสมัครรับการคัดเลือก ในปลายปีนี้และปีถัดไป ชมรมครู สควค. ขอเป็นกำ�ลังใจให้กับครู สควค. ทุกคนในการปฏิบัติงาน กองบรรณาธิการ เปิดรับบทความ จากทุ ก ท่ า น หากมี ข้ อ เสนอแนะประการใด ที ม งาน ขอน้อมรับด้วยความยินดี หน้า - ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถาบันเซิร์น (CERN) 4 - ประสบการณ์จากการเข้าร่วมโครงการครูฟิสิกส์ 5 ภาคฤดูร้อนเซิร์น ของครูสุพัตรา ทองเนื้อห้า - ประสบการณ์จากการเข้าร่วมโครงการครูฟิสิกส์ 8 ภาคฤดูร้อนเซิร์น ของครูพิมพร ผาพรม - นวัตกรรมการเรียนรู้ : การพัฒนาเครือข่าย 10 การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนํ้า - กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายครู สควค. ภาคใต้ 12 - ตัวแทนความคิดวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ความร้อน 13 - การเกิดซากดึกดำ�บรรพ์ของแหล่งขุดค้นภูน้อย 14 จังหวัดกาฬสินธุ์ - พระบรมราโชวาท/ครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 16 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ชมรมครูที่มีความ สามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี 2. เพื่ อ เป็ น เวที ใ นการแลกเปลี่ ย นความรู้ ทางวิชาการ ประสบการณ์การสอน การวิจัยในชั้นเรียน ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาการสอนของครูและการเรียนรู้ของผู้เรียน 3. เพือเผยแพร่ความรูทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ่ ้ และเทคโนโลยี ให้กว้างขวางและเป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) : Synchrotron Light Research Institute (Public Organization) เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดิมคือ “ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยเครื่อง กำ�เนิดแสงซินโครตรอนแห่งชาติ” ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2539 มีสำ�นักงานตั้งอยู่ภายใน มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา (www.slri.or.th) แสงซินโครตรอน คือ แสง (หรือโฟตอน) ที่ถูกปลดปล่อย (หรือสลัด) ออกมาจากอิเล็กตรอนที่เลี้ยวโค้ง ด้วยความเร็วใกล้ความเร็วแสง (3x108 เมตรต่อวินาที) เป็นแสงที่มีค่าความเข้มสูงและมีค่าพลังงานต่อเนื่อง ครอบคลุมช่วงพลังงานกว้างตั้งแต่ช่วงของรังสีอินฟราเรดจนถึงรังสีเอ็กซ์ ทำ�ให้สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย ขอเชิญครูทุน สควค. ในภูมิภาคต่างๆ ส่งภาพข่าวที่เกี่ยวกับผลงานเด่นของตนเอง รวมถึงงานเขียน บทความเกี่ยวกับ การพัฒนาการเรียนการสอน ประสบการณ์การวิจย เพือเผยแพร่ ในวารสาร สควค. หรือเผยแพร่ในเว็บไซต์ www.krusmart.com ั ่ บทความในวารสาร สควค. เป็นความคิดเห็นและทัศนะของผู้เขียน ชมรมครู สควค. ไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
  • 4. 4 วารสาร สควค. เรื่องจากปก ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถาบันเซิร์น สุพัตรา ทองเนื้อห้า สควค. รุ่น 7 ครู คศ.1 ร.ร.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช สถาบันเซิร์น (CERN) ตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศ สวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ครอบคลุ ม พื้ น ที่ บ ริ เวณชายแดนระหว่ า ง ประเทศสวิตเซอร์แลนด์กับประเทศฝรั่งเศส ก่อตั้งมามากกว่า 50 ปี โดยมีพันธกิจหลักในการทดลองเร่งอนุภาคและทำ�การ วิจยเพือตอบคำ�ถามหลัก 3 คำ�ถามคือ เรามาจากไหน (Where ั ่ do we come from?) เราประกอบขึ้นจากอะไร (What are we made of?) และเราจะเป็นอย่างไรต่อไป (Where are we going ?) ซึ่ง “เรา” ในที่นี้ก็หมายความถึง จักรวาล โลกและ สิ่ ง มี ชี วิ ต ทั้ ง หลาย ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการทดลองแต่ ล ะครั้ ง มีปริมาณมากมายมหาศาล นำ�ไปสูการให้ก�เนิดเครือข่ายข้อมูล ่ ำ ของคนทั้งโลกที่เรารู้จักกันดีในชื่อ เวิลด์ ไวลด์ เว็บ (www) ด้านการศึกษา สถาบันแห่งนี้มีหน้าที่ในการฝึกอบรมเตรียม ความพร้อมให้กับนักวิทยาศาสตร์ในอนาคตโดยการสร้าง แรงบันดาลใจให้กับเยาวชนของโลกในการเรียนวิทยาศาสตร์ พัฒนาความรูและทักษะเกียวกับเทคโนโลยีตางๆ และให้ความ ้ ่ ่ สำ�คัญกับการให้ความร่วมมือ การทำ�งานร่วมกันด้วยเป้าหมาย เดียวกันกับคนทั้งโลก เซิร์น (CERN) เป็นชื่อย่อมาจากภาษาอังกฤษตัวแรก ของชื่อเต็มในภาษาฝรั่งเศสว่า Conseil Europenne pour la Recherche Nuclaire ชื่อภาษาอังกฤษว่า European Council for Nuclear Research ปัจจุบนใช้ชอ Oganization ั ื่ europenne pour la recherche nuclaire ในภาษาฝรั่งเศส และ European Oganization for Nuclear Research ในภาษาอั ง กฤษ หากท่ า นได้ มี โ อกาสไปเยี่ ย มชมสถาบั น แห่งนี้ก็จะปรากฏชื่อที่ตัวอาคาร 33 ซึ่งเป็นอาคารต้อนรับ ตั้ งอยู่ บริ เวณด้ า นหน้ า ทางเข้ า สถาบั นเซิ ร์น ตรงกั น ข้ า มกั บ พิพิธภัณฑ์ Globe ปัจจุบันสถาบันเซิร์นมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 20 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรีย เบลเยียม บัลแกเรีย สาธารณรัฐ เช็ก เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมณี กรีซ ฮังการี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส สโลวาเกีย สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และอังกฤษ มีประเทศสังเกตการณ์ 6 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย อิสราเอล ญี่ปุ่น รัสเซีย ตุรกี และ สหรัฐอเมริกา และมีความร่วมมือจากหลายประเทศทั่วโลก ที่ไม่เป็นสมาชิก โดยส่งนักวิจัยร่วมทำ�การทดลองและเข้ารับ การอบรมต่างๆ ที่ทางสถาบันเซิร์นจัดขึ้น การวิจัยภายในสถาบันเซิร์นอาศัยเครื่องเร่งอนุภาค LHC (Large Hadron Collider) ซึ่งตั้งอยู่ในอุโมงค์ใต้ดิน โดยเร่งโปรตอนและนิวเคลียสของตะกั่วในทิศทางสวนกัน แล้วบังคับ ให้ล�อนุภาคทังสองชนกัน ณ สถานีตรวจวัดอนุภาค ำ ้ สถานีตรวจวัดอนุภาคที่สำ�คัญของเครื่องเร่งอนุภาค LHC คือ ALICE, ATLAS, LHCb และ CMS 1. สถานีตรวจวัด ALICE ย่อมาจาก A Large Ion Collider Experiment ศึกษาสมบัติของพลาสมาของควาร์ก และกลูออนซึ่งเกิดจากการชนกันของนิวเคลียสของตะกั่ว 2. สถานีตรวจวัด ATLAS ย่อมาจาก A Toroidal LHC ApparatuS ตรวจสอบความแม่นยำ�ของทฤษฎีแบบ จำ�ลองมาตรฐาน อนุภาคฮิกส์ (Higgs Boson) ทฤษฎีสมมาตร ยวดยิง (SupersymmetryTheory) ทฤษฎีเอกภพทีมมากกว่า ่ ่ี 4 มิติ (Extra-diamensions Theory) โดยสามารถตรวจวัด อนุภาคมูลฐานได้เกือบทุกชนิด (ยกเว้นนิวตริโน) 3. สถานีตรวจวัด LHCb ย่อมาจาก Large Hadron Collider beauty ศึกษาความแตกต่างระหว่างสสารและ ปฏิสสารที่เกิดขึ้นจากอนุภาคที่ประกอบด้วย บี-ควาร์ก 4. สถานีตรวจวัด CMS ย่อมาจาก Compact Muon Solenoid มีจุดประสงค์ในการทำ�งานเช่นเดียวกัน กับสถานี ตรวจวัด ATLAS แต่ใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างกัน
  • 5. ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553 บทความ วารสาร สควค. 5 ประสบการณ์จากการเข้าร่วมโครงการครูฟิสิกส์ ภาคฤดูร้อนเซิร์น ของครูสุพัตรา ทองเนื้อห้า สุพัตรา ทองเนื้อห้า สควค. รุ่น 7 ครู คศ.1 ร.ร.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช สถาบั น เซิ ร์ น นอกจากจะมี ก ารทดลองวิ จั ย ระดั บ โลกแล้ว ยังมีพันธกิจหลักในการพัฒนาครูด้วย ซึ่งสามารถ สังเกตได้จากมีการจัดอบรมครูเกือบตลอดทั้งปี แต่เนื่องจาก โครงการอบรมครูส่วนใหญ่จะเปิดโอกาสให้กับครูในประเทศ สมาชิกเท่านัน จึงมีโอกาสน้อยทีประเทศทีไม่ใช่สมาชิกจะได้รบ ้ ่ ่ ั โอกาสในการเข้ารับการอบรม โครงการนีจงเป็นโครงการเดียว ้ึ ในขณะนีทเี่ ปิดโอกาสให้ครูฟสกส์ระดับมัธยมศึกษาจากทัวโลก ้ ิิ ่ เข้าร่วมโครงการ โครงการครูฟิสิกส์ภาคฤดูร้อนเซิร์น (CERN Physics High School Teachers Programme) เป็นโครงการทีสถาบัน ่ เซิร์นจัดขึ้นทุกปี โดยมีเป้าหมายที่จะสนับสนุนการสอนฟิสิกส์ โดยเฉพาะฟิสิกส์อนุภาค ในระดับมัธยมศึกษา สนับสนุน การแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างครูในระดับ นานาชาติ เปิดโลกทัศน์ของครูผู้สอนวิชาฟิสิกส์ไปสู่งานวิจัย ระดับโลกในการเข้าร่วมโครงการครูฟสกส์ภาคฤดูรอน ประจำ� ิิ ้ ปี พ.ศ. 2553 (CERN Physics High School Teachers Programme 2010) มีครูฟิสิกส์จากประเทศต่างๆ ทั่วโลก เข้าร่วมโครงการ 22 ประเทศ จำ�นวน 40 คน กิจกรรมทีเ่ ข้าร่วมระหว่างวันที่ 4-23 กรกฎาคม 2553 จึงมีทั้งการฟังบรรยาย การเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการและศูนย์ ควบคุมระบบ วิเคราะห์ขอมูล การฝึกปฏิบตการทดลอง การทำ� ้ ัิ กิจกรรมกลุม การนำ�เสนอข้อมูล/ผลการทำ�กิจกรรมกลุม และ ่ ่ กิจกรรมอื่นๆ มากมาย โดยสำ�หรับการฝึกปฏิบัติการทดลอง และทำ�กิจกรรมกลุ่ม มีดังนี้ 1. Build a Cloud Chamber การสร้าง Cloud Chamber ซึ่งเป็นอุปกรณ์หนึ่งที่ใช้ตรวจวัดอนุภาคที่เกิดจาก รังสีคอสมิก(อนุภาคที่มีประจุ) โดยมีวัสดุอุปกรณ์คือ กล่อง พลาสติกใส กล่องไม้ แผ่นอะลูมิเนียม ตาข่าย แผ่นโลหะสีดำ� Isopropyl แอลกอฮอล์ นํ้าแข็งแห้ง โฟมบาง ไฟฉาย แว่นตา ถุงมือ เชือก/ลวด ขั้นตอนการสร้างมีดังนี้ 1) นำ�กล่องพลาสติก เจาะรูที่ก้นประมาณ 6 รู แล้วนำ�โฟมบางมาผูกไว้ 2) นำ�กล่องไม้รองด้วยแผ่นอะลูมเิ นียมและตาข่าย แล้วนำ�นํ้าแข็งแห้งบรรจุให้เต็มกล่องไม้ 3) นำ�แผ่นโลหะสีดำ�วางบนนํ้าแข็งแห้ง 4) ฉีด พ่น Isopropyl แอลกอฮอล ให้ชมโฟมบาง ์ ุ่ จากนั้นนำ�กล่องพลาสติกใสมาครอบด้านบนแผ่นโลหะสีดำ� 5) ปิ ด ไฟในห้ อ งให้ มื ด จากนั้ น ใช้ ไ ฟฉายส่ อ ง บริเวณฐาน สังเกตการเปลี่ยนแปลง เพื่ อ ความปลอดภั ย ขณะทำ � การทดลองต้ อ งใส่ แว่นตาและถุงมือขณะจับนําแข็งแห้ง ระหว่างรอผลการทดลอง ้ ผู้บรรยายได้อธิบายเกี่ยวกับประวัติการสร้างเครื่องตรวจวัด จากนั้นเมื่อผู้เข้าร่วมโครงการสังเกตผลการทดลองได้ทุกกลุ่ม แล้ว ผู้เข้าร่วมโครงการและผู้บรรยายจึงร่วมวิเคราะห์ผลการ ทดลองที่เกิดขึ้น 2. Introducing the Teachers Lab การแนะนำ�การทดลองในห้อง Teachers Lab โดยเจ้าหน้าที่ประจำ�ห้อง มีการทดลองทั้งสิ้น 4 การทดลอง คือ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก (photoelectric effect) การเบนของลำ�อิเล็กตรอน (finebeam tube) อนุภาคสปิน และการแทรกสอดของแสงผ่านกระจกและเลนส์ (Michelson Interferometer) ซึ่งสามารถช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหา เกี่ยวกับฟิสิกส์ยุคใหม่ (Modern Physics) ได้ดียิ่งขึ้น 3. Working Groups กิจกรรม Working Groups เป็นกิจกรรมทีให้ผเู้ ข้าร่วมโครงการเลือกกลุมทำ�งานตามความ ่ ่ สนใจ (working Groups) โดยมีทั้งหมด 6 กลุ่ม ดังนี้ 1) Teachers Lab 2) Teaching Module 3) Master classes 4) The International Bacculaureate Diploma 5) Pre-Visit Pack 6) How do you know? ผู้เข้าร่วมโครงการจะเลือกกลุ่มที่ตนเองสนใจ 2 อันดับ จากนั้นทีมผู้จัดโครงการจะเลือกกลุ่มจากความสนใจ ในอันดับแรกของแต่ละคน เมือกลุมใดมีจ�นวนสมาชิกมากกว่า ่ ่ ำ ที่กำ�หนดไว้ ก็จะเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการพิจารณา ตัดสินใจยืนยันอีกครั้งว่าตนเองจะเลือกกลุ่มใด ครูและนักศึกษาไทยที่มีโอกาสเข้าร่วมโครงการภาคฤดูร้อนของเซิร์น (จากซ้ายไปขวา) นางสาวพิมพร ผาพรม, นายฐาปกรณ์ ภู่ลำ�พงษ์ นางสาวสุพัตรา ทองเนื้อหา และนายอภิมุข วัชรางกูร
  • 6. 6 วารสาร สควค. สำ�หรับข้าพเจ้าได้เลือกกลุ่ม Teachers Lab โดย สมาชิกในกลุ่มของข้าพเจ้ามีทั้งสิ้น 10 คน ในครั้งแรกสมาชิก ในกลุ่ ม ทุ ก คนต้ อ งเข้ า ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารทดลองภายในห้ อ ง Teachers Lab อีกครั้ง (หลังจากที่เข้าฝึกปฏิบัติรวมกับ ผู้เข้าร่วมโครงการคนอื่นๆ แล้ว) ในวันต่อมาก็ได้รับการฝึก ปฏิบัติการทดลองศึกษาอุปกรณ์การทดลอง เครื่องมือวัดและ โปรแกรม Cobra4 ของบริษัท PHYWE แล้วจึงประชุมกลุ่ม แบ่งสมาชิกเป็นกลุ่มย่อยๆ ตามความสนใจ กลุ่มละ 3-4 คน แล้วจึงเข้าเยี่ยมชม Microcosm เพื่อร่วมกันวางแผนการจัด Workshop ให้กับผู้เยี่ยมชม ข้าพเจ้าได้เลือกกลุ่มย่อยเป็นการพัฒนาการสร้าง Cloud chamber โดยมุงหวังทีจะใช้วสดุทหาได้งายในโรงเรียน ่ ่ ั ี่ ่ วัสดุทกลุมใช้เป็น ถ้วยอะลูมเิ นียมทาสีด�ด้วยนํายาทาเล็บทิงไว้ ี่ ่ ำ ้ ้ ให้แห้ง แก้วพลาสติกใส โฟมบางเป็นวัสดุที่ใช้ทำ�ความสะอาด โต๊ะ ซึ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนเป็นอุปกรณ์ที่เหลือจากงาน International Evening ทั้งสิ้น เรายังคงต้องใช้ Isopropyl แอลกอฮอล์ และนํ้าแข็งแห้ง ทำ�การทดลองเช่นเดียวกับการ สร้าง Cloud chamber ปกติ จากนั้นสังเกตการเปลี่ยนแปลง ผลการทดลองทีได้เป็นทีนาพอใจ เราสามารถเห็นร่องรอยของ ่ ่ ่ รังสีคอสมิกซึ่งมีอนุภาคที่มีประจุที่เราไม่สามารถมองเห็นได้ อย่างชัดเจน อีกทั้งยังใช้เวลาน้อยกว่าการทดลองปกติที่เคย ทดลองมา จากนั้นผู้เข้าร่วมโครงการต้องช่วยกันนำ�เสนองาน ที่แต่ละกลุ่มทำ� เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวันสุดท้าย ของโครงการ มีจำ�นวน 4 กลุ่มๆ ละ 30 นาที โดยมีทีมผู้จัด โครงการและผู้บริหารของสถาบันเซิร์นเข้าร่วมรับฟังด้วย 4. Dark Matter & Quantum workshop การฝึก ปฏิบตเิ ริมจาก hands-on ทีให้นกเรียนรูจกกับคำ�ว่า “อนุภาค” ั ่ ่ ั ้ั โดยใช้ ท รายสี เ ป็ น สื่ อ การสอน จากนั้ น ใช้ แ ผ่ น ใสสองแผ่ น ซึ่งเขียนลวดลายของคลื่นไว้ สังเกตการแทรกสอดของคลื่น สองขบวน แล้วให้นกคำ�ทีเ่ กียวกับ “คลืน” เปรียบเทียบให้เห็น ึ ่ ่ ความแตกต่ า งระหว่ า งคลื่ น และอนุ ภ าคโดยเน้ น คำ � ที่ ใช้ เพื่อให้นักเรียนแยกแยะได้และไม่เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน จากนั้นจึงสังเกตการแทรกสอดของแสงโดยเป็นกิจกรรมที่นำ� เข้าสู่เรื่องทวิภาพของคลื่นและอนุภาคซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของ ฟิสิกส์ยุคใหม่ (Modern Physics) ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553 จากนั้นดูวีดีทัศน์เกี่ยวกับ Quantum แล้วทำ �การ ทดลองการเคลื่อนที่วงกลม เพื่อนำ�เข้าสู่เรื่องเครื่องเร่งอนุภาค แล้วเชื่อมโยงความรู้ดังกล่าวกับเอกภพ จากนั้นเป็นกิจกรรม การคำ � นวณหาตำ � แหน่ ง โดยใช้ ร ะบบ GPS คำ � นวณง่ า ยๆ ซึ่งนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ ข้าพเจ้าได้รบความรูเ้ กียวกับฟิสกส์อนุภาค เทคโนโลยี ั ่ ิ ที่ทันสมัย แนวการจัดการเรียนการสอนฟิสิกส์อนุภาค อีก ทั้ ง ยั ง ได้ แ ลกเปลี่ ย นความรู้ แ ละประสบการณ์ กั บ เพื่ อ นครู นานาชาติ ซึงเป็นการเปิดโอกาสให้เกิดความร่วมมือกันในการ ่ พัฒนา การเรียนการสอนฟิสกส์ในอนาคต การเยียมชมสถานี ิ ่ วิจัยระดับโลกและการพบปะกับนักฟิสิกส์ภายในสถาบันเซิร์น ช่วยเพิ่มแรงบันดาลใจในการทำ�งานเพื่อพัฒนาประเทศชาติ ต่อไป และแรงกระตุนให้ขาพเจ้าต้องเรียนรูตลอดเวลา เนืองจาก ้ ้ ้ ่ ความรู้ต่างๆ ในโลกนี้ไม่เคยหยุดนิ่ง ครูไม่สามารถสอนเนื้อหา เฉพาะจากในหนังสือเรียน หากแต่จะต้องสืบค้นความรูอยูตลอด ้ ่ เวลา ประสบการณ์การใช้ชีวิตในต่างแดนช่วยพัฒนาทักษะ การสื่อสารและความกล้าแสดงออกในทางที่สร้างสรรค์ และ ทำ�ให้ข้าพเจ้าได้เพื่อนใหม่มากมาย ซึ่งปัจจุบันก็ยังคงติดต่อ เพื่อนครูนานาชาติผ่านทางอีเมล์และทางเว็บไซต์อยู่เสมอ นอกจากนี้ ยังทำ�ให้ทราบถึงแนวทางในการจัดการ ศึกษาของแต่ละประเทศ ซึ่งบางนโยบายเป็นประโยชน์และ ควรนำ�มาปรับปรุงใช้กับระบบการศึกษาในประเทศของเรา เช่น การมอบหมายให้ครูต้องพัฒนาตนเองในช่วงปิดเทอม โดยกำ�หนดชั่วโมงอย่างตํ่าที่ต้องเข้ารับการพัฒนาและให้ทุน สนับสนุน เป็นต้น ซึงจะทำ�ให้ครูกระตือรือร้นในการพัฒนางาน ่ ของตนเองและเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ตลอดเวลา ปัจจุบันต่างประเทศกำ�ลังพยายามจัดความรู้เกี่ยวกับ ฟิสิกส์อนุภาค ลงในหลักสูตรการศึกษา ซึ่งในอนาคตประเทศ ของเราก็ควรต้องทำ�เช่นกัน จึงควรเตรียมกำ�ลังคน (ครูผู้สอน) ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับฟิสิกส์อนุภาคอย่างเร่งด่วน หากประเทศของเราสามารถส่งครูฟสกส์หรือนักศึกษาเข้าร่วม ิิ กิจกรรมในทุกๆ ปี ประเทศอื่นๆ ก็จะเล็งเห็นศักยภาพของ คนไทยและประเทศไทย ซึ่งมีคุณภาพไม่แพ้ชาติใดในโลกนี้ เช่นกัน
  • 7. ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553 แผนการดำ�เนินการหลังจากเข้าร่วมโครงการ ข้าพเจ้าจะถ่ายทอดประสบการณ์ให้กับเพื่อนครูและ นักเรียนในโรงเรียน ผ่านทางสื่อต่างๆ รวมถึงถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ ที่ ข้ า พเจ้ า ได้ รั บ ให้ แ ก่ เ พื่ อ นครู ท่ า นอื่ น ๆ เพื่อสร้างเครือข่ายการพัฒนาการเรียนการสอนฟิสิกส์ระดับ มัธยมศึกษาให้เกิดขึ้นและการพัฒนาเยาวชนของชาติต่อไป ข้าพเจ้าจึงวางแผนจัดประชุมเชิงปฏิบัติการฟิสิกส์อนุภาค ในโรงเรี ย น โดยกำ � หนดให้ โรงเรี ย นที่ ป ระสงค์ จ ะเข้ า ร่ ว ม โครงการส่งนักเรียนระดับ ม.ปลาย โรงเรียนละ 2 คน พร้อม ครูฟสกส์ 1 คน เข้าร่วมกิจกรรม โดยครอบคลุมเนือหาเกียวกับ ิิ ้ ่ ฟิสกส์อนุภาค การฝึกปฏิบตการทดลองสร้าง Cloud Chamber ิ ัิ และแนะนำ�ให้รู้จักกับสถาบันวิจัยเซิร์นซึ่งมีเครื่องเร่งอนุภาค LHC อุปกรณ์วจยระดับโลก และสถาบันวิจยแสงซินโครตรอน ิั ั ซึ่งมีเครื่องเร่งอนุภาคระดับชาติ โดยวางแผนจะดำ�เนินการ ดังกล่าวในภาคเรียนที่ 2/2553 นี้ คำ�แนะนำ�สำ�หรับผู้เข้าร่วมโครงการรุ่นต่อไป 1. การคัดเลือกครูฟสกส์รนต่อไปควรให้ความสำ�คัญ ิ ิ ุ่ กับผู้ที่สอนในระดับชั้น ม.6 หรือสอนฟิสิกส์อะตอม เพื่อการ เชือมโยงความรูและโอกาสในการถ่ายทอดความรูให้กบนักเรียน ่ ้ ้ ั 2. เนื้ อ หาความรู้ พื้ น ฐานที่ จำ � เป็ น ต่ อ การเข้ า ร่ ว ม โครงการ ได้แก่ กลศาสตร์ ฟิสิกส์อะตอม ฟิสิกส์ยุคใหม่ ไฟฟ้า แม่เหล็ก และผู้เข้าร่วมโครงการควรตั้งใจศึกษาความรู้ในช่วง การเตรียมความพร้อมที่สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน เพราะ สามารถช่วยในการทำ�ความเข้าใจได้ง่ายขึ้น 3. ระยะเวลาในการเข้าร่วมโครงการเป็นช่วงเปิด ภาคเรียนที่ 1 จึงควรเตรียมการสอนนักเรียนโดยสอนล่วงหน้า หรือมอบหมายงานให้นกเรียนในช่วงระยะเวลาทีครูไม่อยู่ ั ่ 4. การเตรี ย มเอกสารต่ า งๆ โดยเฉพาะการขอ อนุญาตเดินทางไปต่างประเทศและการรายงานตัวกลับจาก ต่างประเทศ ต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร เพราะต้องทำ�หนังสือ ขออนุญาตไปยัง สพท. และ สพฐ. แล้วรอคำ�สั่งอนุญาต ให้ข้าราชการไปต่างประเทศ ส่วนการรายงานตัวกลับจาก ต่างประเทศ ให้กรอกแบบรายงานตัวกลับจากต่างประเทศ พร้อมแนบรายงานการศึกษาดูงาน เกียรติบัตร สำ�เนาบัญชี ลงเวลาปฏิบัติราชการวันแรก ส่งไปยังต้นสังกัด วารสาร สควค. 7 5. การทำ�วีซ่า ควรเตรียมเอกสารให้พร้อมตามที่ สถานฑูตกำ�หนด โดยเฉพาะเอกสารรับรองจากโรงเรียนเป็น ภาษาอังกฤษ เอกสารเชิญจากสถาบันเซิร์น 6. การติดต่อประสานงานกับสถาบันเซิร์น ส่วนใหญ่ เป็นการติดต่อประสานงานทางอีเมล์ จึงควรให้อีเมล์ที่ติดต่อ ได้และควรตรวจสอบข้อความบ่อยๆ 7. การเข้าออกภายในสถาบันเซิร์น ซึ่งมีระบบรักษา ความปลอดภั ย ที่ เข้ ม งวด หากไม่ ใช่ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เซิ ร์ น ก็ไม่สามารถเข้าออกได้เด็ดขาด ดังนั้น ในครั้งแรกให้ผู้เข้าร่วม โครงการยื่ น เอกสารเชิ ญ เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมให้ กั บ เจ้ า หน้ า ที่ เขาจะมอบกุญแจห้องและเอกสารต่างๆ ให้กับเรา รวมทั้ง ID Cards ชัวคราว การเดินทางเข้าออกทุกครัง ผูเข้าร่วมโครงการ ่ ้ ้ ควรนำ�พาสปอร์ตและ ID Cards ติดตัวตลอดเวลา 8. สถานที่พักตั้งอยู่ภายในสถาบันเซิร์น ภายในห้อง สะดวกสบายและมีสัญญาณอินเทอร์เน็ต ห้องครัวและห้อง ซักรีดอยู่ชั้นล่าง ผู้เข้าร่วมโครงการอาจนำ�จาน ช้อน หม้อ กระทะ ไปทำ�อาหารเองได้ โดยสามารถซื้อของสดหรือซื้อของ มาอุนด้วยเตาไมโครเวฟได้ มีนาดืม (นําเปล่า) ทังเย็น และร้อน ่ ํ้ ่ ้ ้ ฟรีในบริเวณที่พักและบริเวณอาคารทั่วๆ ไปภายในเซิร์น 9. การแต่งกาย เนืองจากเป็นช่วงฤดูรอน ครูสามารถ ่ ้ แต่งตัวตามสบายได้ ควรเตรียมหมวก และควรนำ�รองเท้าผ้าใบ ไปด้วย เนื่องจากในการเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ ภายในเซิร์น ต้องสวมรองเท้าหุ้มส้นเพื่อความปลอดภัย และในการเข้าร่วม กิจกรรมต้องเดินเป็นระยะทางไกลทุกวัน 10. ครูฟิสิกส์ที่ได้รับเงินสนับสนุนจากสถาบันเซิร์น ควรเตรียมเงินสำ�รองไว้ใช้ประมาณ 1 สัปดาห์ โดยในแต่ละวัน จะใช้เงินไม่เกิน 50 ฟรังสวิส (ประมาณ 1,500 บาท ขึ้นกับ อัตราการแลกเปลี่ยนเงินในขณะนั้น) โดยเอกสารรับเงินใช้ เฉพาะพาสปอร์ต รับเงินที่ไปรษณีย์ภายในเซิร์น 11. การสือสารภาษาอังกฤษควรเน้นเกียวกับการบอก ่ ่ ตำ�แหน่งและทิศทางสำ�คัญมาก นอกจากภาษาอังกฤษแล้ว ควรศึกษาภาษาฝรั่งเศสบ้างจะเป็นประโยชน์มาก 12. เว็บไซต์ ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าร่วมโครงการคือ http://teachers.cern.ch/ ซึ่งสามารถดาวน์โหลดเอกสาร ได้ ฟ รี ห รื อ ลิ ง ค์ ไ ปยั ง เว็ บ ไซต์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ต่างๆ ได้
  • 8. 8 วารสาร สควค. บทความ ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553 ประสบการณ์จากการเข้าร่วมโครงการครูฟิสิกส์ ภาคฤดูร้อนเซิร์น ของครูพิมพร ผาพรม พิมพร ผาพรม สควค. รุ่น 7 ครู คศ.1 ร.ร.ท่าคันโทวิทยาคาร จ.กาฬสินธุ์ กิจกรรมครูฟิสิกส์ภาคฤดูร้อน ระหว่างวันที่ 4-23 กรกฎาคม 2553 แบ่งเป็น 4 กิจกรรมหลัก ได้แก่ การฟัง บรรยายเนื้อหาฟิสิกส์ การเข้าเยี่ยมชมสถานที่ภายในสถาบัน เซิร์น การปฏิบัติการทดลอง การนำ�เสนอข้อมูลและผลการ ทำ � กิ จ กรรมกลุ่ ม และกิ จ กรรมอื่ น ๆ มากมาย โดยสำ � หรั บ การฝึกปฏิบัติการทดลองและทำ�กิจกรรมกลุ่ม มีดังนี้ 1. Build a Cloud Chamber ฝึกสร้างเครือง cloud ่ chamber 2. Introducing the Teachers Lab ศึกษาการ ทดลอง และวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลอง 3. working Groups แยกกลุ่มย่อยศึกษาตามหัวข้อ ที่สนใจ ซึ่งมีจำ�นวน 6 กลุ่ม ดังนี้ 1) Teachers Lab การทดลองด้านฟิสกส์อนุภาค ิ เพือนำ�ไปใช้ในชันเรียน มีทปรึกษาและผูสนับสนุนด้านอุปกรณ์ ่ ้ ี่ ้ การทดลอง คือ บริษัท Phywe 2) Teaching Module คือ การจัดทำ�เนือหา และ ้ สื่อการสอนด้านฟิสิกส์อนุภาค 3) Master classes คือ สร้างเนือหาและหลักสูตร ้ การสอน 4) The International Baccalaureate Diploma (IB) การสร้างเนื้อหา แบบฝึก กิจกรรมการเรียน การสอนฟิสิกส์สำ�หรับนักเรียนในโรงเรียนนานาชาติ 5) Pre-Visit Pack การจัดทำ�โปรแกรมสำ�หรับ การศึกษาดูงาน สาหรับผู้ต้องการเยี่ยมชมเซิร์น ในช่วงเวลา สั้นๆ 6) How do you know? การค้นหาวิธีการ หรือ แหล่งข้อมูลอธิบายความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับฟิสิกส์อนุภาค โดยข้าพเจ้าเลือกกลุ่ม IB เพื่อเรียนรู้การจัดหลักสูตร เนื้อหา รวมถึงแบบฝึกหัดสำ�หรับการจัดการเรียนการสอน ฟิสิกส์ระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียนนานาชาติ ซึ่งได้มีการ บรรจุเนื้อหาด้านฟิสิกส์อนุภาคในหลักสูตรแล้ว ทั้งนี้เพื่อเป็น แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนและอาจปรับใช้ กับโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทยต่อไป โดยมีการ แบ่งหัวข้อสำ�หรับการดำ�เนินการ ดังนี้ 1. ประชุมเพือทำ�ความเข้าใจลักษณะและจุดประสงค์ ่ ของงาน 2. เลือกเนื้อหาและแบ่งหัวข้อย่อย 3. ศึกษาค้นคว้า พัฒนาสื่อ แบบฝึกหัดที่รับผิดชอบ 4. รวบรวมเนื้อหาและสื่อเพื่อสรุปเป็นเนื้อหา 5. นำ�เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ 6. เสนอเนื้อหาลงในเว็บไซต์ของเซิร์น เนื่องจากประเด็นที่กลุ่ม IB จะดำ�เนินการนั้นมีอยู่ จำ�นวนมาก จึงไม่สามารถดำ�เนินการให้เสร็จได้ภายในช่วงเวลา ที่อบรมอยู่ ดังนั้น จึงวางแผนการทำ�งานให้ถึงเพียงขั้นตอน การกำ�หนดเนื้อหาและสร้างสื่ออย่างง่าย เพื่อนำ�เสนอให้ เพื่อนครูกลุ่มอื่นๆ เข้าใจและรับรู้เกี่ยวกับภาพรวมของกลุ่ม IB ส่วนขั้นตอนการสร้างและจัดทำ�เนื้อหาโดยละเอียด ต้องรอ ตรวจจากผู้เชี่ยวชาญซึ่งต้องดำ�เนินการภายหลัง การสร้าง เนื้ อ หาและแบบฝึ ก หั ด หรื อ กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน ให้สัมพันธ์กับหลักสูตรวิชาฟิสิกส์นั้น กลุ่ม IB เน้นที่ฟิสิกส์ อนุภาค สำ�หรับนักเรียนอายุระหว่าง 16-19 ปี จำ�นวน 2,183 โรงเรียนจาก 138 ประเทศ เนื่องจากฟิสิกส์อนุภาคเป็นเนื้อหา ทางเลือกหนึ่งของวิชาฟิสิกส์ในระดับ higher level ดังนั้น โปรแกรมครูฟสกส์ภาคฤดูรอนจึงได้สร้างเนือหาและจัดเอกสาร ิิ ้ ้ ต่างๆ เพื่ออำ�นวยความสะดวกและพัฒนาการเรียนการสอน โดยได้ด�เนินการต่อเนืองมาประจำ�ทุกปี มีจดประสงค์หลัก คือ ำ ่ ุ 1. สร้างแหล่งเรียนรู้ที่มีเนื้อหาถูกต้อง แม่นยำ� และ เป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน ผ่านสื่อที่หลากหลาย เช่น เนื้อหา ที่อยู่ในรูปแบบ Power point, แบบฝึกหัด, คู่มือการทดลอง เป็นต้น 2. กระตุนและส่งเสริมให้ครูสอนเนือหาฟิสกส์อนุภาค ้ ้ ิ มากขึ้น 3. พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนฟิสิกส์ อนุภาคให้ดียิ่งขึ้น ทังนีโครงสร้างของวิชาฟิสกส์ และเนือหาทีเ่ รียนทีเ่ ซิรน ้ ้ ิ ้ ์ กำ�หนด ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 22 ชั่วโมง ผู้สนใจสามารถเลือก ดาวน์โหลดเอกสารดังกล่าวได้ที่ http://teachers.cern.ch และที่ www.krusmart.com นอกจากนียงมีการนำ�เสนอระบบการศึกษาของแต่ละ ้ั ประเทศโดยมีคำ�ถามเป็นตัวกำ�หนดเนื้อหา เช่น โรงเรียนของ ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นของรัฐบาลหรือเอกชน จำ�นวนนักเรียน ในโรงเรียนและนักเรียนต่อห้อง จำ�นวนวิชาฟิสิกส์ต่อสัปดาห์
  • 9. ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553 สัดส่วนเนือหาวิชาฟิสกส์กบวิชาอืนๆ ในหลักสูตรของโรงเรียน ้ ิ ั ่ สัดส่วนเนื้อหาของฟิสิกส์อนุภาคต่อเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ทั้งหมด อุปกรณ์การทดลองเพียงพอหรือไม่ การสนับสนุนเด็กทีมความ ่ี สามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ของรัฐบาลเป็นอย่างไร วุฒการ ิ ศึกษาของครูและคุณสมบัติอื่นๆ ในการเป็นครูวิทยาศาสตร์ และครูฟิสิกส์ การนำ�เสนอใช้เวลาประมาณ 10 นาที ไม่เน้น ความเป็นทางการมากนัก 4. กิจกรรมอื่นๆ เช่น - Pool and Pizza เป็นกิจกรรมตอนเย็นหลังเลิก จากการอบรม คือ การว่ายนํ้า (ไม่บังคับ) และร่วมทานพิซซ่า ที่ร้านใกล้ๆ เซิร์น และชมบรรยากาศสภาพทั่วไปรอบๆ เซิร์น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นไร่ทานตะวัน งา ข้าว และข้าวโพด เป็นต้น - Discover Geneva Treasure Hunt แบ่งกลุ่ม (แบบสุ่ม) เพื่อท่องเที่ยวเจนีวาในวันหยุด เพื่อเป็นการแนะนำ� สถานที่ท่องเที่ยวที่สำ�คัญของเจนีวา และเสริมสร้างความ สามัคคีของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยมีการแจกเอกสารให้แต่ละ กลุ่มเดินตามหาคำ�ตอบ ตามเส้นทางที่กำ�หนดและจบด้วย การทาน ฟองดู (Fon due) อาหารขึ้นชื่อของสวิตเซอร์แลนด์ - International Evening การแสดงแลกเปลียน ่ วัฒนธรรมของชาติต่างๆ โดยครูที่เข้าร่วมโครงการจะเป็น ผู้จัดสถานที่และการเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อนครูส่วนใหญ่ ทำ�อาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติตนเองให้เพื่อนๆ ลองชิม เช่น ช็อกโกแล็ตชาเขียวของญี่ปุ่น ชีสหลากชนิดของฝรั่งเศส ขนมหวานจากมาซิโดเนีย บางชาติก็มีการแสดงหรือกิจกรรม ให้ร่วมกันทำ� เช่น การหัดเต้นแบบสเปน ตุรกี เคนยา และการ แสดงรำ�ไทยของประเทศไทยโดยนางสาวสุพัตรา ทองเนื้อห้า ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของครูทุกคน - Jura picnic กิจกรรมปิคนิคที่ยอดเขาจูรา ยอดเขาจูรา เป็นยอดเขาหนึ่งของเทือกเขาแอลป์ อยู่บริเวณ ไม่ไกลจากเซิร์นมากนัก โดยทุกคนต้องเดินจากจุดจอดรถ ถึงยอดเขาและช่วยกันถือสิ่งของที่เป็นของส่วนรวมไปด้วย เมื่อถึงยอดเขา ครูผู้หญิงจะเตรียมอาหาร จากนั้นร่วมกัน ทานอาหาร ผลไม้ ที่เตรียมมา บนยอดเขาจูราสามารถมอง เห็นทะเลสาบเจนีวาและวิวที่สวยงามด้านฝรั่งเศส อากาศเย็น ลมแรง เป็ น กิ จ กรรมที่ ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งความสามั ค คี ไ ด้ อี ก รูปแบบหนึ่ง วารสาร สควค. 9 - Farewell BBQ กิ จ กรรมเลี้ ย งส่ ง ด้ ว ยบาบี คิ ว ในคื น สุ ด ท้ า ยหลั ง ปิ ด โครงการ โดย Dr.rolf Landau ผู้อำ�นวยการโครงการ HST 2010 ลงมือบริการปิ้งบาบีคิวด้วย ตนเองและไม่ยอมให้ใครช่วยเหลือ ทุกคนแสดงความขอบคุณ ทีมงานที่ให้ความรู้และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง เมือถึงเวลาเลิกงาน ทุกคนกล่าวลาด้วยคำ�ว่า “แล้วพบกันอีก” ่ ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ได้รบความรูเพิมเติม ในเนือหาด้านฟิสกส์อนุภาค ั ้ ่ ้ ิ 2. ทราบแนวทาง และมีประสบการณ์ ในการทดลอง และการสร้างสื่อการสอนฟิสิกส์ 3. รู้และเข้าใจ จุดประสงค์ เป้าหมาย และบทบาท ของเซิร์นมากยิ่งขึ้น 4. ได้ แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ก ารเรี ย นการสอนฟิ สิ ก ส์ กับครูฟิสิกส์ในประเทศต่างๆ เพื่อนำ�มาปรับปรุงการเรียน การสอนในชั้นเรียนของตน 5. มี เ ครื อ ข่ า ยครู ฟิ สิ ก ส์ เ พื่ อ แลกเปลี่ ย นกิ จ กรรม การสอนและสื่อการเรียนการสอนในโอกาสต่อไป แผนการดำ�เนินการหลังจากเข้าร่วมโครงการ 1. จั ด อบรมความรู้ แ ละขยายผลแก่ ค รู นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา ที่ ส นใจเกี่ ย วกั บ การสร้ า งสื่ อ การเรี ย นการสอน ด้านฟิสิกส์อนุภาค สำ�หรับครูในภูมิภาคหรือในงานประชุม วิชาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ในโรงเรียน เป็นต้น 2. สร้างสื่อการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์ในชั้นเรียน ให้น่าสนใจ ใช้แหล่งข้อมูลที่มีอยู่เผยแพร่ความรู้ด้านฟิสิกส์ อนุภาค ผ่านทางเว็บไซต์ 3. ติดต่อ ประสานงานกับเครือข่ายครูในกลุ่ม IB Group จัดทำ�เนื้อหาในช่วงต่อไป ข้าพเจ้าและนางสาวสุพัตรา ทองเนื้อหา ล้วนสานึก ในพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าฯ อันหาที่สุดมิได้ในสมเด็จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ที่ ไ ด้ ท รง พระราชทานโอกาสในการเป็นตัวแทนครูฟสกส์ไทยให้เข้าร่วม ิิ โครงการครูฟิสิกส์ฤดูร้อนเซิร์น ประจำ�ปี 2553 และ ขอกราบ ขอบพระคุณคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ที่คัดเลือกและมอบ โอกาสที่สำ�คัญยิ่ง แก่ข้าพเจ้าและนางสาวสุพัตรา ทองเนื้อหา ซึ่งเป็นครู สควค. ในการเข้าร่วมโครงการครั้งนี้
  • 10. 10 วารสาร สควค. ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553 นวัตกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายน้ำ� จารุวรรณ เตชะสุทธิรัฐ สควค. รุ่น 5 ครู คศ.1 ร.ร.วัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) จ.นครปฐม 1. ที่มาและความสำ�คัญ โรงเรียนวัดดอนหวาย(นครรัฐประสาท) จ.นครปฐม ได้เปิดโอกาสให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น รวมกลุ่ม นักเรียนที่มีความสนใจร่วมกันจัดตั้งเป็นชุมนุมวิทยาศาสตร์ และชุมนุมนักสิ่งแวดล้อมรุ่นเยาว์ เพื่อสนับสนุนให้นักเรียน ได้เรียนรู้และเพิ่มทักษะทางวิทยาศาสตร์ และจัดกิจกรรม ทีใช้ความรูทางวิทยาศาสตร์ให้เป็นประโยชน์รวมกัน ประกอบ ่ ้ ่ กับโรงเรียนวัดดอนหวายของพวกเรา ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่นํ้าท่าจีน ดังนั้น สมาชิกชุมนุมวิทยาศาสตร์ และชุมนุมนักสิ่งแวดล้อม รุ่นเยาว์ได้ร่วมกันสำ�รวจ ศึกษา วิเคราะห์ ตลอดจนศึกษา ปัญหาและอุปสรรคที่ก่อเกิดกับแม่นํ้าท่าจีน และได้มีการ กำ�หนดวิธีการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อม ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อหาแนวทางในการ พัฒนากลุ่มนักเรียนและเครือข่ายที่สนใจให้มีศักยภาพสูงขึ้น ใช้เวลาในการพัฒนา 3 ปี (ปีการศึกษา 2551-2553) 2. รูปแบบกิจกรรม คณะผู้ดำ�เนินการได้แก่ สมาชิกชุมนุมวิทยาศาสตร์ ชุมนุมนักสิ่งแวดล้อมรุ่นเยาว์ และคณะครูที่ปรึกษาได้ร่วมกัน ออกแบบการเรียนรู้กิจกรรมการพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนํ้า รวมทั้งสิ้น 16 กิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมเส้นเวลา ประวัติและความสำ�คัญของ แม่นํ้าท่าจีน 2) กิจกรรมเส้นทางคุณขยะ ศิลปะจากเศษกระดาษ 3) กิจกรรมตะกอนซ่อนหา และค่าการนำ�ไฟฟ้าของนํา ้ 4) กิจกรรมการสำ�รวจสัตว์นาในระบบนิเวศแม่นาท่าจีน ํ้ ํ้ 5) กิจกรรมการสำ�รวจพืชนําในระบบนิเวศแม่นาท่าจีน ้ ้ํ 6) กิจกรรมนํ้ามือใคร นํ้าสะอาดได้อย่างไร 7) กิจกรรมร้อนๆ เย็นๆ การสำ�รวจอุณหภูมินํ้าใน แหล่งนํ้า 8) กิจกรรมสารพัดพิษ (ฟอสเฟต) 9) กิจกรรมธรรมชาติสอน การอนุรักษ์และพัฒนา ภูมิปัญญาท้องถิ่น 10) กิจกรรม pH สภาพทางเคมีของแหล่งนํ้า 11) กิจกรรมเพิ่มลมหายใจให้ กุ้งปลา D.O. 12) กิจกรรมหวนคืนท่าจีน เช่น เขียนเรียงความ คำ�ขวัญ 13) กิจกรรมโครงการ “เรือสื่อรักท่าจีน” 14) กิ จ กรรมพั ฒ นาแหล่ ง การเรี ย นรู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กับสุขภาพชุมชน การท่องเที่ยว วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น วันสำ�คัญทางพระพุทธศาสนา และการเรียนรู้จากโครงงาน 15) กิจกรรมศูนย์ท่าจีนศึกษา 16) กิจกรรมลำ�นํ้า โดยเป็นการเฝ้าระวังคุณภาพนํ้า ด้วยวิธการตรวจสอบคุณภาพนําด้านกายภาพ เคมี และชีวภาพ ี ้ อย่างต่อเนือง ตลอดจนการเรียนรูเ้ พือการอยูรวมกับธรรมชาติ ่ ่ ่่ อย่างยั่งยืน 3. ผลของการพัฒนา 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากแหล่งการเรียนรู้แม่นํ้าท่าจีนของ นักเรียน โดยใช้ค่าเฉลี่ย ( X ) มีการพัฒนาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง 2) ผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจในการเข้ า ร่ ว ม กิจกรรมการพัฒนาเครือข่ายการเรียนรูวทยาศาสตร์ ห้องเรียน ้ิ สายนํ้า จากแหล่งการเรียนรู้แม่นํ้าท่าจีน ของผู้ร่วมกิจกรรม โดยภาพรวมอยู่ในระดับน่าพึงพอใจ 3) การพัฒนางานเชิงคุณภาพในการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนํ้า ส่งผลให้ผู้ร่วมกิจกรรม ผ่านการเรียนรู้ ตามมาตรฐานการ เรียนรู้ ดังนี้ 3.1) ผู้ร่วมกิจกรรม สามารถเลือกเรียนตามความ ถนัดและความสนใจได้อย่างหลากหลายโดยผ่านการเรียนรู้ จากแหล่งการเรียนรู้แม่นํ้าท่าจีน 3.2) ผู้ร่วมกิจกรรม มีความสามารถสร้างองค์ ความรู้ได้ด้วยตนเองโดยใช้แหล่งการเรียนรู้แม่นํ้าท่าจีน 3.3) ผู้ร่วมกิจกรรม มีผลงานดีเด่นที่เกิดจากการ พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนํ้า อย่างต่อเนื่อง 3.4) ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรม มี ทั ก ษะกระบวนการ ทางวิ ท ยาศาสตร์ เป็ น ผู้ นำ � ด้ า นวิ ช าการท้ อ งถิ่ น สามารถ นำ�เสนอปัญหาที่เกิดจากแหล่งการเรียนรู้ท้องถิ่นและวิธีการ แก้ไขปัญหาร่วมกับชุมชนและเครือข่ายได้อย่างต่อเนื่อง
  • 11. ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553 3.5) ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรม มี ค วามสามารถเชื่ อ มโยง เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์เพื่อนำ�สู่การแก้ปัญหาของท้องถิ่น โดยผ่านกระบวนการกลุมสนใจ เช่น ชุมนุมวิทยาศาสตร์ ชุมนุม ่ นักสิ่งแวดล้อมรุ่นเยาว์ และวิทยากรนักสืบสายนํ้าแม่นํ้าท่าจีน 3.6) ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรม มี ค วามสามารถในการ นำ�เสนอองค์ความรูทเี่ กิดจากการเรียนรูอย่างต่อเนืองสมําเสมอ ้ ้ ่ ่ และใช้ทรัพยากรและภูมิปัญญาในท้องถิ่นช่วยในการพัฒนา คุณภาพชีวต และนำ�เสนอผลงาน เผยแพร่ผลงานสูสาธารณชน ิ ่ ในสื่อสารมวลชน องค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง 3.7) ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรม มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ มี จิ ต วิ ท ยาศาสตร์ โดยผ่ า นกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมและมีการใช้ ทรัพยากรท้องถิ่นอย่างคุ้มค่า 3.8) ผรวมกิจกรรม มีความสามารถในการจัดการ ู้ ่ ความรู้ จัดกระบวนการเรียนรูดวยกิจกรรมการปฏิบตจริง เช่น ้้ ัิ กิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพนํ้าแม่นํ้าท่าจีน กิจกรรมคลองสวย นํ้าใส กิจกรรมสานเครือข่ายเยาวชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง 3.9) ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรม สามารถประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น สิ่งใหม่ (Innovation) พอใจในผลงาน และเป็นผู้สร้างสรรค์ (Creative) มีผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ และผลิตภัณฑ์ จากภูมปญญา ผลงานดีเด่นจากหน่วยงานต่างๆ อย่างต่อเนือง ิ ั ่ 4. คุณค่าที่ได้รับจากโครงการ 1) คุณค่าต่อนักเรียน 1.1) การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนํ้า กระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้ร่วมกิจกรรมได้ ลงมือปฏิบตเิ พือสืบเสาะหาความรูในสภาพแวดล้อมในท้องถิน ั ่ ้ ่ ทั้งดิน นํ้า อากาศ และสิ่งมีชีวิตที่ตนเองสนใจ โดยเน้นการ สำ�รวจ การสังเกต การตั้งคำ�ถามวิจัย การสืบค้นข้อมูล การ ตรวจวัด การวิเคราะห์ การอภิปราย และสรุปผล เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบหลักของโลก (ดิน นํ้า อากาศ และสิ่งมีชีวิต) และการเปลี่ยนแปลง 1.2) การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้ อ งเรี ย นสายนํ้ า ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรมจะได้ พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ กระบวนการคิ ด วิ เ คราะห์ แ ละการคิ ด เป็ น ระบบอย่ า งเป็ น องค์รวม การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ ทักษะในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ วารสาร สควค. 11 ความสามารถในการสือสาร การทำ�งานร่วมกันเป็นทีม ่ การนำ�ความรูทได้รบไปประยุกต์ใช้ในชีวตประจำ�วัน ตลอดจน ้ ี่ ั ิ มีจิตวิทยาศาสตร์ เจตคติ คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม 2) คุณค่าต่อครูและโรงเรียน ครู ผู้ ส อนและโรงเรี ย นเป็ น ปั จ จั ย สำ � คั ญ ในการ สนั บสนุ นการเรี ย นรู้ ในทุ ก ๆ ด้ า นของผู้ ร่ วมกิ จ กรรม โดย สามารถนำ�กิจกรรมการเรียนรู้จากกระบวนการการพัฒนา เครือข่ายการเรียนรูวทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนําไปประยุกต์ใช้ ้ิ ้ เป็นกิจกรรมการเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมธรรมชาติ ในโรงเรียนและในท้องถินได้หลายรูปแบบ เช่น จัดเป็นรายวิชา ่ เพิ่มเติม (รายปี) กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ หรือนำ�เนื้อหาบางส่วนบูรณาการเข้าไปกับวิชาวิทยาศาสตร์ ซึงกิจกรรมดังกล่าวสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขันพืนฐาน ่ ้ ้ พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำ�หรับ นักเรียนชั้น ป. 4-6 และ ม. 1-3 3) คุณค่าต่อชุมชนและองค์กรอื่นๆ การเรียนรู้จากกระบวนการ การพัฒนาเครือข่าย การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายนํ้าส่งเสริมให้ชุมชน และทุ ก หน่ ว ยงานทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม ในการทำ�ความเข้าใจปัญหา และแก้ปญหาเกียวกับสิงแวดล้อม ั ่ ่ ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น รวมถึงรับผิดชอบในฐานะสมาชิกคนหนึ่ง ขององค์ ป ระกอบสำ � คั ญ ของโลก ที่ จ ะต้ อ งร่ ว มมื อ ป้ อ งกั น อนุรกษ์ ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดล้อมในท้องถิน ั ่ ่ ของตนและของโลกให้คงอยู่อย่างยั่งยืนตลอดไป ผู้สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ Tel.034-393659 Fax. 034-288068 ผู้ประสานงานโครงการ ครูบุญมี อบเชย Tel. 08-9789-1824 E-mail:sciencedonwai@gmail.com
  • 12. 12 วารสาร สควค. ปีที่ 4 ฉบับที่ 15 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2553 สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ด้วยครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายครู สควค. ภาคใต้ วิสุทธิ์ คงกัลป์ สควค. รุ่น 6 ครู คศ.1 ร.ร. นครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 19-21 พ.ค. 2553 ชมรมครู สควค. สาขา ภาคใต้ ได้กำ�หนดจัดกิจกรรม “สัมมนาวิชาการและประชุม ใหญ่สามัญประจำ�ปี 2553 ชมรมครู สควค. ภาคใต้ เรื่อง การพัฒนาครู สควค. สูครูมออาชีพเพือการเรียนรูวทยาศาสตร์ ่ ื ่ ้ิ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี” ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ทักษิณ จังหวัดสงขลา ครูจากโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถ พิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) เป็นทีคาดหวัง ่ ของสังคมและประเทศชาติว่า จะช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลน ครู วิ ท ยาศาสตร์ แ ละคณิ ต ศาสตร์ ทั้ ง ปริ ม าณและคุ ณ ภาพ และยกมาตรฐานการศึกษาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ให้ สูงขึ้น ฉะนั้นการที่ครู สควค. จะปฏิบัติหน้าที่ได้ตามความ คาดหวังดังกล่าว ต้องได้รบการพัฒนาอย่างต่อเนือง และมีการ ั ่ สร้างเครือข่ายการทำ�งานร่วมกันเพื่อเป็นผลักดันการศึกษา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์อย่างชัดเจน ชมรมครู สควค. ภาคใต้จงจัดสัมมนาวิชาการขึน โดยการสนับสนุนงบประมาณ ึ ้ จาก สสวท. จำ�นวน 150,000 บาท มีครู สควค. เข้าร่วมกิจกรรม จำ�นวน 130 คน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1. ประชุมใหญ่สามัญ ประจำ�ปี 2553 ชมรมครู สควค. ภาคใต้ 2. เพื่อให้ผู้เข้าสัมมนาได้แลกเปลี่ยนความรู้ เพิ่มพูน ประสบการณ์ในการทำ�งาน 3. เพื่อให้ผู้สัมมนาได้พัฒนาตนเอง สู่การเป็นครู มืออาชีพ 4. เพือวางแนวทางในการพัฒนาการศึกษาวิทยาศาสตร์ ่ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ชมรมครู สควค. ภาคใต้ ได้กำ�หนดจัดกิจกรรม ดังนี้ 19 พฤษภาคม 2553 มีกิจกรรม ดังนี้ - พิธเี ปิดและบรรยายพิเศษ “ความคาดหวังของสังคม กับครู สควค.” โดย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ ม.ทักษิณ - บรรยายเรื่อง การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง - ประชุมแนะนำ�คณะกรรมการชมรมฯ และสัมมนา เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาชมรม ครู สควค. ภาคใต้ 20 พฤษภาคม 2553 :: มีกจกรรมการอบรมปฏิบตการ ิ ัิ ตามหัวข้อ ดังนี้ - การเขียนรายงานโครงการและการปฏิบัติงานทาง วิชาการในโรงเรียน - การควบคุมชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ - การจั ด การเรี ย นรู้ แ บบวิ จั ย ในชั้ น เรี ย นที่ เ น้ น กระบวนการคิด - กิจกรรม “จิตสาธารณะสำ�หรับครู สควค.” - กิจกรรม สร้างเครือข่ายครู สควค. ที่เข็มแข้ง 21 พฤษภาคม 2553 มีกิจกรรม ดังนี้ - แลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำ�เสนอผลงานแยกตาม สาขาวิชา - ประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปี 2553 และอภิปราย แนวทางการจัดกิจกรรมของชมรมเพื่อพัฒนาการศึกษา - ศึกษาดูงานการจัดการเรียนการสอน ณ โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ อำ�เภอหาดใหญ่ จากการจั ด กิ จ กรรมพบว่ า ได้ รั บ การตอบรั บ จาก ครู สควค. ภาคใต้ ให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมจำ�นวน มาก และทำ�ให้เรามีเว็บไซต์ของชมรมครู สควค. ภาคใต้ ผู้เข้า ร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเสนอแนะข้อคิดเห็น ที่มีประโยชน์ ซึ่งประสบการณ์และความสำ�เร็จที่ได้รับ จะเป็น พื้นฐานให้เราได้ออกแบบจัดกิจกรรมให้ดียิ่งขึ้นในปีต่อไป ชมรมครู สควค. ภาคใต้ จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้าง เครือข่ายและส่งเสริมความสามัคคีระหว่างครู สควค. ภาคใต้ ส่ ง เสริ ม มาตรฐานการดำ � เนิ น งานให้ เ ป็ น ไป ในแนวทางเดียวกัน เป็นศูนย์รวมในการดำ�เนินงานและ แก้ปัญหาร่วมกัน เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาการจัดการ ศึกษาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์แก่เยาวชนของชาติ ร่วมมือกับรัฐบาล หน่วยงาน ผู้บริหารสถานศึกษา และ สถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ในอันที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ทางการพัฒนาการจัดการ ศึกษาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของชาติ และส่งเสริม ความรู้และพัฒนาความก้าวหน้าแก่สมาชิก ดูรายละเอียดที่ http://www.nara1.org/sorkorworkor