SlideShare a Scribd company logo
เคล็ดลับที่ 1
การหาหัวข้อวิจัย
1.1 หาหัวข้อวิจัยจากไหนดี ?
	 ผมเชื่อว่าปัญหาใหญ่ปัญหาแรกสุดส�ำหรับนิสิตนักศึกษา    
หรือนักวิจัยหลายคนนั้นก็คือ การหาหัวข้อวิจัย หลายคนใช้เวลากับ
ขั้นตอนนี้ค่อนข้างยาวนานมาก บางคนอาจใช้เวลาหลายเดือนหรือ   
อาจจะเป็นปีกว่าจะได้หัวข้อวิจัยที่สนใจมา 1 หัวข้อ แต่เมื่อได้ท�ำการ
ศึกษาไปซักระยะก็ต้องตัดสินใจทิ้งหัวข้อวิจัยนั้นเสีย เนื่องจากพบว่า
ไม่สามารถท�ำงานวิจัยในเรื่องดังกล่าวต่อไปได้ อย่างว่าล่ะครับ ขึ้นชื่อ
ว่างานวิจัย แน่นอนว่าต้องเป็นสิ่งใหม่ ๆ ดังนั้น การหาหัวข้อที่จะ
ท�ำวิจัยจึงอาจมีความยากล�ำบากอยู่บ้าง เพื่อเป็นการช่วยแก้ปัญหา
ดังกล่าว ผมจึงขอแนะน�ำ 5 แนวทางที่ผมมักจะใช้ในการหาหัวข้อ
วิจัยดังต่อไปนี้
2 เขียนข้อเสนอวิจัย (Proposal) ท�ำได้ง่าย ๆ
	 1)	 พิจารณาจากปัญหาที่พบในการท�ำงาน
	 วิธีการดังกล่าวเป็นวิธีการคิดหัวข้อวิจัยที่ดี เนื่องจากหัวข้อวิจัยที่
ได้จะเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริง เหมาะกับกรณีที่นักวิจัยมี
ประสบการณ์ท�ำงาน หรือถ้าไม่มีประสบการณ์ก็อาจใช้การอ่านจากข่าวหรือ
วารสารที่เกี่ยวข้อง หรืออาจใช้วิธีสอบถามหรือพูดคุยกับผู้ที่ท�ำงานในด้านที่
สนใจอยู่ก็ได้
	 2)	 การศึกษาขอบเขตและข้อเสนอแนะของงานวิจัยที่ท�ำ        
ก่อนหน้า
	 ขอบเขตของงานวิจัย ซึ่งจะอยู่ในบทน�ำ (บทที่ 1) ของงานวิจัย จะเป็น
ส่วนที่ผู้วิจัยจะบอกให้ผู้อ่านทราบว่าในงานวิจัยที่อ่านอยู่นั้น ผู้วิจัยจะท�ำการ
วิจัยส่วนใด และส่วนใดไม่ท�ำ ซึ่งบางครั้งผู้วิจัยของงานวิจัยที่ท�ำก่อนหน้าจ�ำเป็น
ต้องจ�ำกัดขอบเขตด้านเนื้อหา ด้านพื้นที่ที่ท�ำการศึกษา หรือด้านผู้ที่ให้ข้อมูล
ให้อยู่ในวงที่ไม่กว้างมากนัก เพื่อให้ผลการวิจัยที่ได้มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ
หรือในหลาย ๆ ครั้งมีขอบเขตของเวลาหรือทุนวิจัยมาบีบขอบเขตของงาน
วิจัยให้แคบลง ซึ่งหากนักวิจัยเห็นว่าขอบเขตใด ๆ ที่ผู้วิจัยของงานวิจัยที่ท�ำ
ก่อนหน้ายังไม่ได้ท�ำการวิจัย และเห็นว่าเป็นประเด็นที่น่าสนใจ มีความเป็น
ไปได้ และคุ้มค่ากับการน�ำมาท�ำการวิจัย นักวิจัยสามารถน�ำงานวิจัยดังกล่าว
มาท�ำการวิจัยต่อยอดได้	
	 นอกจากนี้ อีกส่วนประกอบของงานวิจัยที่ท�ำก่อนหน้าที่ท�ำหน้าที่เป็น
เหมือนโคมไฟส่องให้เราพบกับหัวข้อวิจัยได้คือ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้ง
ต่อไปซึ่งอยู่ในบทสุดท้ายของรายงานวิจัย ซึ่งในส่วนดังกล่าวผู้วิจัยของงาน
วิจัยที่ท�ำก่อนหน้าจะบอกข้อเสนอแนะไปถึงผู้วิจัยที่ก�ำลังสนใจมาท�ำงานวิจัย
3เคล็ดลับที่ 1 การหาหัวข้อวิจัย
ต่อยอดงานวิจัยของตน โดยสามารถน�ำข้อเสนอแนะดังกล่าวไปพิจารณาหา
แนวทางท�ำวิจัยต่อไปได้ครับ
	 การพิจารณาหาหัวข้อวิจัยจากส่วนประกอบของงานวิจัยที่ท�ำก่อนหน้า
ทั้ง 2 ส่วนดังกล่าวข้างต้น นอกจากนักวิจัยจะได้พบหัวข้อวิจัยที่มีความเป็นไป
ได้ในทางปฏิบัติแล้ว นักวิจัยยังอาจน�ำแนวทางการท�ำการวิจัยของงานวิจัยที่
ท�ำก่อนหน้ามาปรับใช้ได้ อีกทั้งยังสามารถอ้างอิงงานวิจัยที่ท�ำก่อนหน้าได้อีก
ด้วยครับ
	 3)	 พิจารณาจากหัวข้อวิจัยจากผู้ให้ทุนวิจัยต่าง ๆ
	 ทุนวิจัยบางทุนจะมีการก�ำหนดหัวข้อวิจัยไว้ให้แล้ว เนื่องจากผู้ให้ทุน
วิจัยค่อนข้างคาดหวังและต้องการแสวงหาค�ำตอบของปัญหาที่ถูกตั้งขึ้นเพื่อน�ำ
ไปใช้ต่อไป ซึ่งหากผู้อ่านและอาจารย์ที่ปรึกษาของผู้อ่าน (ในบางทุน ผู้ขอรับ
ทุนจะต้องเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา) มีคุณสมบัติตรงกับคุณสมบัติที่ก�ำหนดไว้โดย
ผู้ให้ทุนวิจัย ก็สามารถขอรับทุนวิจัยดังกล่าวได้
	 4)	 การเปรียบเทียบกับต่างอุตสาหกรรมหรือต่างประเทศ
	 หากเราสังเกตดี ๆ จะพบว่า ไม่ว่าจะเป็นในอุตสาหกรรมใด ๆ ในประเทศ
ใด ๆ ก็มักจะหนีไม่พ้นความพยายามแก้ปัญหาอย่างเดียวกัน นั่นคือ การเพิ่ม
ยอดขาย บริหารระยะเวลา ลดต้นทุน หรือการบริหารคุณภาพของผลิตภัณฑ์
หรือบริการ ดังนั้น องค์ความรู้หรือเทคโนโลยีที่มีการคิดค้นขึ้นมาใหม่ เมื่อถูก
น�ำมาใช้ในอุตสาหกรรมหนึ่ง ๆ หรือในประเทศหนึ่ง ๆ แล้วประสบผลส�ำเร็จ
ก็มักจะมีผู้น�ำมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมหรือประเทศที่มีความใกล้เคียงกัน
ซึ่งอาจมีเงื่อนไขหรือสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันอยู่เสมอ ๆ ยกตัวอย่างเช่น
การน�ำเทคนิคการบริหารงานแบบทันเวลา (Just In Time: JIT) หรือแนวคิด
4 เขียนข้อเสนอวิจัย (Proposal) ท�ำได้ง่าย ๆ
แบบลีน (Lean Thinking) จากอุตสาหกรรมการผลิตมาใช้ในอุตสาหกรรม
ก่อสร้าง หรือการที่ประเทศไทยมีการน�ำนวัตกรรมต่าง ๆ จากต่างประเทศมา
ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมแบบไทย ๆ เช่น รูปแบบสัญญามาตรฐาน
ใหม่ ๆ หรือแบบจ�ำลองทางธุรกิจใหม่ ๆ หรือถ้ายกอีกตัวอย่างที่เห็นได้ง่าย ๆ
หากผู้อ่านมองทางด้านเกษตรกรรมจะพบว่ามีการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยี
การเกษตรให้สามารถปลูกต้นไม้ ที่เดิมต้องน�ำเข้าดอกผลจากต่างประเทศภาย
ใต้สภาพแวดล้อมในประเทศไทย เป็นต้น ซึ่งหากผู้อ่านเข้าใจความจริงข้อนี้
แล้วก็จะพบว่ามีหัวข้อวิจัยที่น่าสนใจอีกมากมายรอให้ผู้อ่านค้นพบและน�ำไป
ท�ำการวิจัยต่อไปครับ
	 5)	 การสร้างสถิติใหม่ ๆ
	 ตัวอย่างหัวข้อวิจัยกลุ่มนี้ เช่น การวิจัยเพื่อหาส่วนผสมคอนกรีตที่ท�ำให้
คอนกรีตมีก�ำลังอัดสูงกว่าที่มีผู้อื่นเคยท�ำได้ การหาวิธีออกแบบห้องชุดให้มีพื้นที่
เล็กที่สุดแต่ยังคงหน้าที่ใช้สอยได้ ซึ่งวิธีดังกล่าวเป็นวิธีหาหัวข้อวิจัยที่ใช้วิธีคิด
แบบง่าย ๆ และมีประโยชน์ แต่มีข้อควรระวังคือ การหาค�ำตอบของโจทย์วิจัย
ในลักษณะนี้จะค่อนข้างยาก เพราะต้องท�ำแข่งขันกับคนอื่น ซึ่งผู้ท�ำวิจัยจะต้อง
มีแนวคิดและอาจรวมถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ดีกว่าผู้อื่นเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า นัก
วิจัยจึงควรประเมินถึงความเป็นไปได้ในการท�ำงานวิจัยให้แล้วเสร็จด้วย
	 เอาล่ะครับ ตอนนี้ผู้อ่านก็ได้ทราบแนวทางส�ำหรับหาหัวข้อวิจัยทั้ง 5
แนวทางแล้ว ลองคิดหัวข้อวิจัยที่สนใจไว้นะครับ โดยอาจคิดหัวข้อที่เข้าเค้าไว้
ซักหลาย ๆ หัวข้อก็ได้ ในหัวข้อต่อไปผมจะบอกวิธีในการเลือกว่าหัวข้อไหน
เป็นหัวข้อวิจัยที่ควรท�ำหรือไม่ควรท�ำ หรือมีความน่าสนใจมากน้อยเพียงไร
โปรดติดตามตอนต่อไปครับ
5เคล็ดลับที่ 1 การหาหัวข้อวิจัย
1.2 เทคนิคการเลือกหัวข้อวิจัย
	 หัวข้อวิจัยใด ๆ จะเป็นหัวข้อที่ควรน�ำมาท�ำวิจัยหรือไม่ เป็นอีกเรื่อง
หนึ่งที่นักวิจัยควรทราบ จากประสบการณ์ของผมที่ผ่านมา ผมมีหลักเกณฑ์ที่
ใช้ในการพิจารณา 5 ประการ จึงขอน�ำมาเล่าสู่กันฟังดังนี้ครับ
	 1)	 ต้องเป็นองค์ความรู้ใหม่ (originality)
	 เนื่องจากการวิจัยเป็นการหาค�ำตอบของโจทย์ที่ตั้งไว้โดยใช้กระบวนการ
เก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และสรุปผลข้อมูลตามหลักวิชาการ โจทย์
วิจัยที่จะท�ำการวิจัยจึงควรเป็นโจทย์วิจัยที่ยังไม่เคยมีการหาค�ำตอบมาก่อน
มิฉะนั้นจะกลายเป็นการหาค�ำตอบในโจทย์ที่มีผู้ได้ท�ำการตอบไปแล้ว ไม่    
ก่อให้เกิดประโยชน์แต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม หากนักวิจัยพบว่างานวิจัยที่ท�ำ
ก่อนหน้ายังตอบโจทย์วิจัยได้ไม่ครบถ้วน เช่น ผู้วิจัยก่อนหน้าใช้วิธีการที่ยังไม่
เหมาะสม หรือยังไม่ได้ค�ำนึงถึงตัวแปรที่ส�ำคัญบางตัว หรือระยะเวลาที่ท�ำการ
วิจัยผ่านไปนานจนผลการวิจัยน่าจะไม่สามารถตอบค�ำถามที่ตั้งไว้ในปัจจุบันได้
อย่างถูกต้องแล้ว ผู้อ่านอาจเลือกโจทย์วิจัยนั้นมาท�ำการวิจัยใหม่ได้ แต่ขอย�้ำ
นะครับว่า ผู้อ่านต้องมีความมั่นใจจริง ๆ และมีข้อมูลมารองรับมากพอที่จะ
บอกว่างานวิจัยที่ท�ำก่อนหน้าไม่ทันสมัยแล้วหรือไม่ถูกต้อง
	 2)	 ต้องมีความเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ผู้อ่านก�ำลังศึกษาอยู่
	 ในกรณีที่เป็นงานวิจัยในการศึกษาระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก
หรืองานวิจัยเพื่อขอรับทุนวิจัย ผู้อ่านควรตรวจสอบว่าหัวข้อวิจัยนั้นมีความ
เกี่ยวข้องกับหลักสูตรที่ผู้อ่านก�ำลังศึกษาหรือต้องการขอรับทุนหรือไม่ มิฉะนั้น
อาจจะโดนคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์หรือคณะกรรมการพิจารณาทุน
6 เขียนข้อเสนอวิจัย (Proposal) ท�ำได้ง่าย ๆ
โต้แย้งหัวข้อวิจัยนั้นในภายหลัง ในกรณีที่เลวร้ายอาจต้องเปลี่ยนหัวข้อวิจัย
ใหม่หรือโดนปฏิเสธการให้ทุนเลยก็ได้
	 3)	 ต้องมีความเป็นไปได้ในการท�ำวิจัย
	 ถ้ามองกันให้ดี ๆ แล้ว การท�ำวิจัยถือเป็นการท�ำโครงการโครงการหนึ่ง
ซึ่งผู้ท�ำวิจัยควรมีการประเมินความเป็นไปได้ในการท�ำงานวิจัยดังกล่าวให้แล้ว
เสร็จเหมือนกับการที่นักลงทุนหรือผู้บริหารโครงการต้องท�ำการศึกษาความเป็น
ไปได้ของโครงการก่อนลงมือท�ำจริง ซึ่งประการนี้ผู้อ่านควรให้ความส�ำคัญใน
การพิจารณาหาหัวข้อวิจัยเป็นอย่างมาก ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความล้มเหลวที่อาจ
จะเกิดขึ้นในภายหลัง ในการท�ำการวิจัยควรท�ำการประเมินความเป็นไปได้ใน
หลาย ๆ ด้าน ได้แก่
	 	 3.1)	 ความเป็นไปได้ด้านระยะเวลา
	 	 งานวิจัยมักจะมีข้อจ�ำกัดด้านเวลาก�ำหนดไว้เสมอ เช่น ระยะเวลา
ตามหลักสูตรการศึกษา หรือระยะเวลาที่ก�ำหนดโดยผู้ให้ทุนวิจัย ซึ่งผู้อ่านควร
ประมาณระยะเวลาที่ต้องใช้และเปรียบเทียบกับข้อจ�ำกัดด้านเวลาที่มีว่าน่าจะ
สามารถท�ำให้แล้วเสร็จก่อนระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ได้หรือไม่ เพื่อเป็นเกณฑ์ใน
การตัดสินใจท�ำวิจัยทุกครั้ง
	 	 3.2)	 ความเป็นไปได้ด้านงบประมาณ
	 	 การท�ำวิจัยประกอบด้วยขั้นตอนหลายขั้นตอน ตั้งแต่การตั้งโจทย์
วิจัย การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และสรุปผลข้อมูล ซึ่งกิจกรรมแต่ละขั้น
ตอนจะมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นทั้งสิ้น ซึ่งหากผู้อ่านไม่ได้ท�ำการประเมินงบประมาณ
ที่จะต้องใช้ว่าจะต้องใช้งบประมาณเท่าใด และต้องใช้แหล่งเงินทุนจากที่ใดล่วง
7เคล็ดลับที่ 1 การหาหัวข้อวิจัย
หน้าแล้ว ผู้อ่านอาจประสบปัญหาในระหว่างการท�ำวิจัยในภายหลังได้ หรือ
บางทีงานวิจัยต้องหยุดชะงักเนื่องจากทุนวิจัยหมด ซึ่งทุก ๆ ครั้งก่อนจะเริ่ม
ท�ำงานวิจัย ผู้วิจัยควรแบ่งกระบวนการท�ำวิจัยออกเป็นกิจกรรมย่อย ๆ เพื่อ
ประมาณหางบประมาณที่คาดว่าจะใช้ และเผื่องบประมาณไว้กรณีฉุกเฉิน
ร้อยละ 10-15 ของงบประมาณที่ตั้งขึ้น ทั้งนี้ เพื่อให้มีงบประมาณเพียงพอใน
การท�ำวิจัยให้แล้วเสร็จ
	 	 3.3)	 ความเป็นไปได้ในการรวบรวมข้อมูล
	 	 จากประสบการณ์ผมทางด้านงานวิจัยพบว่า การท�ำวิจัยในบาง
เรื่อง เช่น เรื่องที่เกี่ยวข้องกับต้นทุน ค่าใช้จ่าย หรือเคล็ดลับการด�ำเนินธุรกิจ
(know-how) หรือประเด็นในด้านลบของบริษัทหรือองค์กร มักจะมีความ
ยากล�ำบากในการเก็บรวบรวมข้อมูล เนื่องจากผู้ให้ข้อมูลไม่ค่อยเต็มใจที่จะให้
หรือบางทีข้อมูลที่ให้มาไม่ได้เป็นข้อมูลที่แท้จริง หรือได้ข้อมูลมาวิจัยเพียงบาง
ส่วน อาจเนื่องจากผู้ให้ข้อมูลมักจะกลัวว่าข้อมูลดังกล่าวอาจก่อให้เกิดผลเสีย
ต่อองค์กรของตน หรือไม่แน่ใจว่าผู้บังคับบัญชาจะอนุญาตให้เปิดเผยข้อมูลได้
หรือไม่ ซึ่งผู้อ่านควรมีการประเมินความเป็นไปได้ในกรณีดังกล่าวและคิดหา
วิธีแก้ไขปัญหาไว้ล่วงหน้า เช่น การเพิ่มจ�ำนวนผู้ให้ข้อมูลที่ขอเก็บข้อมูล การ
แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาของผู้ให้ข้อมูลทราบล่วงหน้าและขอความร่วมมือให้ช่วย
มอบหมายผู้ให้ข้อมูลที่เหมาะสมให้การพิจารณาเลือกใช้ความคลาดเคลื่อนที่
ยอมรับได้ที่เหมาะสม (เนื่องจากในทางสถิติ ความคลาดเคลื่อนของผลลัพธ์ที่
ได้จะเพิ่มขึ้นหากจ�ำนวนตัวอย่างที่ใช้มีจ�ำนวนน้อยลง) หรือแม้แต่การตัดสินใจ
ไม่เลือกหัวข้อดังกล่าวมาท�ำวิจัยตั้งแต่ต้นก็เป็นวิธีการหนึ่งที่อาจเป็นทางเลือก
ที่ดีที่สุดก็เป็นได้
8 เขียนข้อเสนอวิจัย (Proposal) ท�ำได้ง่าย ๆ
	 	 3.4)	 ความเป็นไปได้ในด้านองค์ความรู้ที่รองรับการวิจัย
	 	 การท�ำวิจัยคือการต่อยอดความรู้ที่มีอยู่เพื่อหาค�ำตอบของโจทย์
วิจัยที่ผู้วิจัยตั้งไว้ ซึ่งวิธีที่จะน�ำมาใช้หาค�ำตอบดังกล่าวจะต้องเป็นวิธีที่ถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ มีแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือรองรับ แต่ในบางกรณีหากผู้อ่าน
ตั้งโจทย์วิจัยไกลจากองค์ความรู้ที่มีอยู่มากเกินไป ผู้อ่านก็จะไม่สามารถหา
ค�ำตอบของโจทย์วิจัยนั้นได้ หรือถ้าหาได้ก็อาจจะไม่มีน�้ำหนักน่าเชื่อถือเท่าที่
ควร ตัวอย่างเช่น ผู้อ่านไม่ควรตั้งโจทย์วิจัยถึงแนวทางการเลือกวิธีการลงทุน
ที่ให้ผลตอบแทนที่ดีที่สุด หากยังไม่สามารถหาข้อมูลได้ว่ารูปแบบการลงทุนมี
รูปแบบใดบ้าง
	 	 สิ่งที่ต้องระวังในการพิจารณาเรื่องความเป็นไปได้ในเรื่ององค์ความ
รู้ที่รองรับการวิจัย ได้แก่ การที่ผู้อ่านจะสรุปได้ว่า องค์ความรู้ที่มีอยู่มีไม่เพียง
พอที่จะท�ำการวิจัยต่อไปได้ ผู้อ่านจ�ำเป็นต้องท�ำการทบทวนวรรณกรรมให้
มากเพียงพอ มิฉะนั้นจะไม่สามารถสรุปว่างานวิจัยมีข้อจ�ำกัดดังกล่าวหรือเป็น
เพราะผู้อ่านยังทบทวนวรรณกรรมมาไม่ดีพอ (ถ้าไปบอกว่าหัวข้อที่คิดอยู่มีข้อ
จ�ำกัดเรื่ององค์ความรู้ที่มีอยู่แล้วโดนอาจารย์ที่ปรึกษาย้อนถามแบบนี้ อาจจะ
รู้สึกเครียดได้ครับ เพราะฉะนั้นทบทวนวรรณกรรมไปให้ดี ๆ ก่อนครับ)
	 	 3.5)	 ความเป็นไปได้ด้านกฎหมายและจริยธรรม
	 	 การท�ำการรวบรวมข้อมูลในบางกรณีอาจจะไม่สามารถท�ำได้ตาม
กฎหมาย หรืออาจเป็นการผิดจริยธรรมในการท�ำวิจัยหากผู้วิจัยจะด�ำเนินการ
ดังกล่าว เช่น การท�ำการทดลองหาผลลัพธ์ของสารเคมีบางชนิดกับมนุษย์หรือ
สิ่งมีชีวิต หรือการเก็บข้อมูลโดยที่ผู้ให้ข้อมูลไม่ให้ความยินยอมในการให้ข้อมูล
9เคล็ดลับที่ 1 การหาหัวข้อวิจัย
	 4)	 ต้องมีความเหมาะสมของปริมาณงานที่จะต้องท�ำ
	 ผู้อ่านควรพิจารณาปริมาณงานที่ต้องท�ำให้เหมาะสมกับประเภทของ
งานวิจัยที่ก�ำลังด�ำเนินการ เนื่องจากงานวิจัยตามข้อก�ำหนดในหลักสูตรการ
ศึกษาจะมีหลายประเภท ได้แก่ การค้นคว้าอิสระ สารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์
ระดับปริญญาโท และวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ซึ่งจะมีปริมาณงานและ
ความลึกซึ้งมากขึ้นตามล�ำดับ (วิธีการหนึ่งที่ผมใช้พิจารณาในการเปรียบเทียบ
ส�ำหรับงานวิจัยตามหลักสูตรการศึกษาคือ ใช้การสังเกตปริมาณงานที่ผู้วิจัย
ควรจะต้องท�ำจากจ�ำนวนหน่วยกิตของงานวิจัย ดังจะกล่าวถึงในล�ำดับต่อไป)
ซึ่งหลักเกณฑ์ที่ใช้แบ่งว่าหัวข้อใดควรเป็นงานวิจัยแบบใดนั้น ไม่มีหลักเกณฑ์
ตายตัว แต่อาจารย์ที่ปรึกษาจะเป็นผู้ที่ช่วยดูความเหมาะสมให้ โดยเบื้องต้น
ผู้อ่านอาจดูว่าปริมาณงานเหมาะสมแล้วหรือไม่จากการลองเปรียบเทียบกับ
งานวิจัยอื่น ๆ ในระดับเดียวกันของหลักสูตรที่ผู้อ่านก�ำลังศึกษาอยู่
	 ขอย้อนกลับมาเรื่องการพิจารณาปริมาณงานจากหน่วยกิตของงานวิจัย
ส�ำหรับงานวิจัยที่เป็นข้อก�ำหนดในหลักสูตรการศึกษา ในฐานะที่ผมได้มีโอกาส
ท�ำหน้าที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาของงานวิจัยหลายประเภท ทั้งการค้นคว้าอิสระ
วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท และวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกในเวลาเดียวกัน
ผมจึงจ�ำเป็นต้องมีการก�ำหนดปริมาณงานของงานวิจัยในแต่ละประเภทให้มี
ความเหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไปจนเกิดปัญหา เช่น วิทยานิพนธ์ปริญญา
โทควรมีปริมาณงานมากกว่าการค้นคว้าอิสระ แต่น้อยกว่าวิทยานิพนธ์ระดับ
ปริญญาเอก ซึ่งหลักเกณฑ์หนึ่งซึ่งผมใช้ในการพิจารณาความเหมาะสมของ
ปริมาณงานได้แก่ การเปรียบเทียบจ�ำนวนหน่วยกิตของงานวิจัยแต่ละประเภท
โดยไม่นับหน่วยกิตที่ใช้ในการจัดท�ำข้อเสนอวิจัย (แม้ว่าผู้ที่ท�ำวิทยานิพนธ์จะ
10 เขียนข้อเสนอวิจัย (Proposal) ท�ำได้ง่าย ๆ
ต้องทบทวนวรรณกรรมมากกว่าผู้ที่ท�ำการค้นคว้าอิสระเนื่องจากจ�ำนวนตัวแปร
มากกว่า อาจถือว่าพอ ๆ กัน ไม่ต่างกันเท่าไร) เช่น ในหลักสูตรปริญญาโทที่
ผมสอนอยู่ การค้นคว้าอิสระระดับปริญญาโทจะมีหน่วยกิตในช่วงการลงมือ
ท�ำเท่ากับ 3 หน่วยกิต (หน่วยกิตทั้งหมด 6 หน่วยกิต แบ่งเป็น 2 เทอม เทอม
ละ 3 หน่วยกิต) ในขณะที่วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทมีจ�ำนวนหน่วยกิตใน
ช่วงการลงมือท�ำการวิจัยเท่ากับ 9 หน่วยกิต (หน่วยกิตทั้งหมด 12 หน่วยกิต
แบ่งเป็น 2 เทอม โดยมีจ�ำนวนหน่วยกิต 3 และ 9 หน่วยกิต ตามล�ำดับ)
ดังนั้น ในวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทจึงควรมีเนื้องาน (หรือความยาก) เป็น
ประมาณ 2-3 เท่าของการค้นคว้าอิสระ ขอย�้ำอีกครั้งว่าหลักเกณฑ์นี้ไม่ใช่หลัก
เกณฑ์ตายตัว แต่เป็นเกณฑ์เบื้องต้นที่ผมใช้พิจารณาจากประสบการณ์การเป็น
อาจารย์ที่ปรึกษาที่ผ่านมาเท่านั้น
	 ส�ำหรับงานวิจัยประเภทอื่น ๆ ซึ่งไม่ใช่งานวิจัยตามข้อก�ำหนดของ
หลักสูตรการศึกษา หลัก ๆ แล้วผู้อ่านควรค�ำนึงถึงความเหมาะสมกับระยะ
เวลาและงบประมาณในการวิจัยซึ่งผู้อ่านมีอยู่ โดยปกติแล้วขอบเขตของงาน
วิจัยย่อมแปรผันตรงกับระยะเวลาและงบประมาณนะครับ
	 5)	 ต้องมีความสามารถในการน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ในกรณี      
อื่น ๆ (generalization)
	 งานวิจัยที่ดีควรสามารถน�ำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในโอกาสอื่น ๆ
ได้ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงควรมีการก�ำหนดขอบเขตของการศึกษาให้เหมาะสม หาก
ก�ำหนดขอบเขตแคบเกินไปอาจจะท�ำให้เกิดค�ำถามว่าองค์ความรู้ที่ได้จะสามารถ
น�ำไปใช้กับกรณีอื่น ๆ ได้จริงหรือไม่ เช่น เมื่อผมได้มีโอกาสเป็นกรรมการ
สอบวิทยานิพนธ์ของงานวิจัยที่มีการระบุขอบเขตของงานวิจัย ตัวอย่างเช่น

More Related Content

What's hot

การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
อรุณศรี
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
ไพรวัล ดวงตา
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
rubtumproject.com
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6pompameiei
 
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน10044911 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน100449onchalermpong
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
DuangdenSandee
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดบทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดChowwalit Chookhampaeng
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
Aimy Blythe
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นJiraprapa Suwannajak
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยnoinasang
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
Marine Meas
 

What's hot (18)

การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน10044911 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดบทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
 
Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
 

Viewers also liked

9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432
CUPress
 
Introduction to the Cell Cycle (Tutorial)
Introduction to the Cell Cycle (Tutorial)Introduction to the Cell Cycle (Tutorial)
Introduction to the Cell Cycle (Tutorial)
Christiane Riedinger
 
Mcq abd thorax
Mcq abd thoraxMcq abd thorax
Mcq abd thorax
Robert Edwards
 
Anatomy mcqs thorax
Anatomy mcqs thoraxAnatomy mcqs thorax
Anatomy mcqs thorax
Muhammad Ramzan Ul Rehman
 
Lower limb .mcqs
Lower limb .mcqsLower limb .mcqs
Lower limb .mcqs
Muhammad Ramzan Ul Rehman
 
Mdh june 2013
Mdh   june 2013Mdh   june 2013
Mdh june 2013
adrioz
 
Physiology Selection book helps a student make his study exam oriented
 Physiology Selection book helps a student make his study exam oriented Physiology Selection book helps a student make his study exam oriented
Physiology Selection book helps a student make his study exam oriented
Raghu Veer
 
Physiology PG Questions
Physiology PG QuestionsPhysiology PG Questions
Physiology PG Questions
Raghu Veer
 
Neurology mcq
Neurology mcqNeurology mcq
Neurology mcq
amroisam
 
MCQs on CNS physiology
MCQs on CNS physiologyMCQs on CNS physiology
MCQs on CNS physiology
Farhan Ali
 
Physiology MBBS part 2 solved paper uhs
Physiology MBBS part 2 solved paper uhs Physiology MBBS part 2 solved paper uhs
Physiology MBBS part 2 solved paper uhs
Muhammad Ramzan Ul Rehman
 
upper limb viva questions
upper limb viva questionsupper limb viva questions
upper limb viva questions
Muhammad Ramzan Ul Rehman
 
Important questions of physiology for 1st year mbbs students by dr. mudassar ...
Important questions of physiology for 1st year mbbs students by dr. mudassar ...Important questions of physiology for 1st year mbbs students by dr. mudassar ...
Important questions of physiology for 1st year mbbs students by dr. mudassar ...
Dr. Mudassar Ali Roomi
 
Lower limb MCQs
Lower limb MCQsLower limb MCQs
Lower limb MCQs
Muhammad Ramzan Ul Rehman
 
Anatomy bones of upper limbs
Anatomy bones of upper limbsAnatomy bones of upper limbs
Anatomy bones of upper limbs
Shifa medicine collage
 
General principles of surgery - medical finals revision notes
General principles of surgery - medical finals revision notesGeneral principles of surgery - medical finals revision notes
General principles of surgery - medical finals revision notes
Christiane Riedinger
 
Upper limb mcqs
Upper limb mcqsUpper limb mcqs
Upper limb mcqs
Muhammad Ramzan Ul Rehman
 
Mcq 1060 questions
Mcq 1060 questionsMcq 1060 questions
Mcq 1060 questions
adrioz
 
Physiology paper UG
Physiology paper UGPhysiology paper UG
Physiology paper UG
Raghu Veer
 
An easy way to learn upper limb muscles
An easy way to learn upper limb musclesAn easy way to learn upper limb muscles
An easy way to learn upper limb muscles
Christiane Riedinger
 

Viewers also liked (20)

9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432
 
Introduction to the Cell Cycle (Tutorial)
Introduction to the Cell Cycle (Tutorial)Introduction to the Cell Cycle (Tutorial)
Introduction to the Cell Cycle (Tutorial)
 
Mcq abd thorax
Mcq abd thoraxMcq abd thorax
Mcq abd thorax
 
Anatomy mcqs thorax
Anatomy mcqs thoraxAnatomy mcqs thorax
Anatomy mcqs thorax
 
Lower limb .mcqs
Lower limb .mcqsLower limb .mcqs
Lower limb .mcqs
 
Mdh june 2013
Mdh   june 2013Mdh   june 2013
Mdh june 2013
 
Physiology Selection book helps a student make his study exam oriented
 Physiology Selection book helps a student make his study exam oriented Physiology Selection book helps a student make his study exam oriented
Physiology Selection book helps a student make his study exam oriented
 
Physiology PG Questions
Physiology PG QuestionsPhysiology PG Questions
Physiology PG Questions
 
Neurology mcq
Neurology mcqNeurology mcq
Neurology mcq
 
MCQs on CNS physiology
MCQs on CNS physiologyMCQs on CNS physiology
MCQs on CNS physiology
 
Physiology MBBS part 2 solved paper uhs
Physiology MBBS part 2 solved paper uhs Physiology MBBS part 2 solved paper uhs
Physiology MBBS part 2 solved paper uhs
 
upper limb viva questions
upper limb viva questionsupper limb viva questions
upper limb viva questions
 
Important questions of physiology for 1st year mbbs students by dr. mudassar ...
Important questions of physiology for 1st year mbbs students by dr. mudassar ...Important questions of physiology for 1st year mbbs students by dr. mudassar ...
Important questions of physiology for 1st year mbbs students by dr. mudassar ...
 
Lower limb MCQs
Lower limb MCQsLower limb MCQs
Lower limb MCQs
 
Anatomy bones of upper limbs
Anatomy bones of upper limbsAnatomy bones of upper limbs
Anatomy bones of upper limbs
 
General principles of surgery - medical finals revision notes
General principles of surgery - medical finals revision notesGeneral principles of surgery - medical finals revision notes
General principles of surgery - medical finals revision notes
 
Upper limb mcqs
Upper limb mcqsUpper limb mcqs
Upper limb mcqs
 
Mcq 1060 questions
Mcq 1060 questionsMcq 1060 questions
Mcq 1060 questions
 
Physiology paper UG
Physiology paper UGPhysiology paper UG
Physiology paper UG
 
An easy way to learn upper limb muscles
An easy way to learn upper limb musclesAn easy way to learn upper limb muscles
An easy way to learn upper limb muscles
 

Similar to 9789740335795

จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
korakate
 
Com 4
Com 4Com 4
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
Narut Keatnima
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
Felinicia
 
Appreciative Inquiry Research A-Z
Appreciative Inquiry Research A-ZAppreciative Inquiry Research A-Z
Appreciative Inquiry Research A-Z
Pinyo Rattanaphan รักในหลวง
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
Paranee Srikhampaen
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานPawarit Jitakul
 
Semina
SeminaSemina
Seminasuknin
 
โครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรโครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไร
Thanakorn Poomisit
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ppisoot07
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศThank Chiro
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้pompameiei
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
Kittipun Udomseth
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
pingkung
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 

Similar to 9789740335795 (20)

จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
Com 4
Com 4Com 4
Com 4
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
Appreciative Inquiry Research A-Z
Appreciative Inquiry Research A-ZAppreciative Inquiry Research A-Z
Appreciative Inquiry Research A-Z
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Semina
SeminaSemina
Semina
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรโครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไร
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740335795

  • 1. เคล็ดลับที่ 1 การหาหัวข้อวิจัย 1.1 หาหัวข้อวิจัยจากไหนดี ? ผมเชื่อว่าปัญหาใหญ่ปัญหาแรกสุดส�ำหรับนิสิตนักศึกษา หรือนักวิจัยหลายคนนั้นก็คือ การหาหัวข้อวิจัย หลายคนใช้เวลากับ ขั้นตอนนี้ค่อนข้างยาวนานมาก บางคนอาจใช้เวลาหลายเดือนหรือ อาจจะเป็นปีกว่าจะได้หัวข้อวิจัยที่สนใจมา 1 หัวข้อ แต่เมื่อได้ท�ำการ ศึกษาไปซักระยะก็ต้องตัดสินใจทิ้งหัวข้อวิจัยนั้นเสีย เนื่องจากพบว่า ไม่สามารถท�ำงานวิจัยในเรื่องดังกล่าวต่อไปได้ อย่างว่าล่ะครับ ขึ้นชื่อ ว่างานวิจัย แน่นอนว่าต้องเป็นสิ่งใหม่ ๆ ดังนั้น การหาหัวข้อที่จะ ท�ำวิจัยจึงอาจมีความยากล�ำบากอยู่บ้าง เพื่อเป็นการช่วยแก้ปัญหา ดังกล่าว ผมจึงขอแนะน�ำ 5 แนวทางที่ผมมักจะใช้ในการหาหัวข้อ วิจัยดังต่อไปนี้
  • 2. 2 เขียนข้อเสนอวิจัย (Proposal) ท�ำได้ง่าย ๆ 1) พิจารณาจากปัญหาที่พบในการท�ำงาน วิธีการดังกล่าวเป็นวิธีการคิดหัวข้อวิจัยที่ดี เนื่องจากหัวข้อวิจัยที่ ได้จะเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริง เหมาะกับกรณีที่นักวิจัยมี ประสบการณ์ท�ำงาน หรือถ้าไม่มีประสบการณ์ก็อาจใช้การอ่านจากข่าวหรือ วารสารที่เกี่ยวข้อง หรืออาจใช้วิธีสอบถามหรือพูดคุยกับผู้ที่ท�ำงานในด้านที่ สนใจอยู่ก็ได้ 2) การศึกษาขอบเขตและข้อเสนอแนะของงานวิจัยที่ท�ำ ก่อนหน้า ขอบเขตของงานวิจัย ซึ่งจะอยู่ในบทน�ำ (บทที่ 1) ของงานวิจัย จะเป็น ส่วนที่ผู้วิจัยจะบอกให้ผู้อ่านทราบว่าในงานวิจัยที่อ่านอยู่นั้น ผู้วิจัยจะท�ำการ วิจัยส่วนใด และส่วนใดไม่ท�ำ ซึ่งบางครั้งผู้วิจัยของงานวิจัยที่ท�ำก่อนหน้าจ�ำเป็น ต้องจ�ำกัดขอบเขตด้านเนื้อหา ด้านพื้นที่ที่ท�ำการศึกษา หรือด้านผู้ที่ให้ข้อมูล ให้อยู่ในวงที่ไม่กว้างมากนัก เพื่อให้ผลการวิจัยที่ได้มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ หรือในหลาย ๆ ครั้งมีขอบเขตของเวลาหรือทุนวิจัยมาบีบขอบเขตของงาน วิจัยให้แคบลง ซึ่งหากนักวิจัยเห็นว่าขอบเขตใด ๆ ที่ผู้วิจัยของงานวิจัยที่ท�ำ ก่อนหน้ายังไม่ได้ท�ำการวิจัย และเห็นว่าเป็นประเด็นที่น่าสนใจ มีความเป็น ไปได้ และคุ้มค่ากับการน�ำมาท�ำการวิจัย นักวิจัยสามารถน�ำงานวิจัยดังกล่าว มาท�ำการวิจัยต่อยอดได้ นอกจากนี้ อีกส่วนประกอบของงานวิจัยที่ท�ำก่อนหน้าที่ท�ำหน้าที่เป็น เหมือนโคมไฟส่องให้เราพบกับหัวข้อวิจัยได้คือ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้ง ต่อไปซึ่งอยู่ในบทสุดท้ายของรายงานวิจัย ซึ่งในส่วนดังกล่าวผู้วิจัยของงาน วิจัยที่ท�ำก่อนหน้าจะบอกข้อเสนอแนะไปถึงผู้วิจัยที่ก�ำลังสนใจมาท�ำงานวิจัย
  • 3. 3เคล็ดลับที่ 1 การหาหัวข้อวิจัย ต่อยอดงานวิจัยของตน โดยสามารถน�ำข้อเสนอแนะดังกล่าวไปพิจารณาหา แนวทางท�ำวิจัยต่อไปได้ครับ การพิจารณาหาหัวข้อวิจัยจากส่วนประกอบของงานวิจัยที่ท�ำก่อนหน้า ทั้ง 2 ส่วนดังกล่าวข้างต้น นอกจากนักวิจัยจะได้พบหัวข้อวิจัยที่มีความเป็นไป ได้ในทางปฏิบัติแล้ว นักวิจัยยังอาจน�ำแนวทางการท�ำการวิจัยของงานวิจัยที่ ท�ำก่อนหน้ามาปรับใช้ได้ อีกทั้งยังสามารถอ้างอิงงานวิจัยที่ท�ำก่อนหน้าได้อีก ด้วยครับ 3) พิจารณาจากหัวข้อวิจัยจากผู้ให้ทุนวิจัยต่าง ๆ ทุนวิจัยบางทุนจะมีการก�ำหนดหัวข้อวิจัยไว้ให้แล้ว เนื่องจากผู้ให้ทุน วิจัยค่อนข้างคาดหวังและต้องการแสวงหาค�ำตอบของปัญหาที่ถูกตั้งขึ้นเพื่อน�ำ ไปใช้ต่อไป ซึ่งหากผู้อ่านและอาจารย์ที่ปรึกษาของผู้อ่าน (ในบางทุน ผู้ขอรับ ทุนจะต้องเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา) มีคุณสมบัติตรงกับคุณสมบัติที่ก�ำหนดไว้โดย ผู้ให้ทุนวิจัย ก็สามารถขอรับทุนวิจัยดังกล่าวได้ 4) การเปรียบเทียบกับต่างอุตสาหกรรมหรือต่างประเทศ หากเราสังเกตดี ๆ จะพบว่า ไม่ว่าจะเป็นในอุตสาหกรรมใด ๆ ในประเทศ ใด ๆ ก็มักจะหนีไม่พ้นความพยายามแก้ปัญหาอย่างเดียวกัน นั่นคือ การเพิ่ม ยอดขาย บริหารระยะเวลา ลดต้นทุน หรือการบริหารคุณภาพของผลิตภัณฑ์ หรือบริการ ดังนั้น องค์ความรู้หรือเทคโนโลยีที่มีการคิดค้นขึ้นมาใหม่ เมื่อถูก น�ำมาใช้ในอุตสาหกรรมหนึ่ง ๆ หรือในประเทศหนึ่ง ๆ แล้วประสบผลส�ำเร็จ ก็มักจะมีผู้น�ำมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมหรือประเทศที่มีความใกล้เคียงกัน ซึ่งอาจมีเงื่อนไขหรือสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันอยู่เสมอ ๆ ยกตัวอย่างเช่น การน�ำเทคนิคการบริหารงานแบบทันเวลา (Just In Time: JIT) หรือแนวคิด
  • 4. 4 เขียนข้อเสนอวิจัย (Proposal) ท�ำได้ง่าย ๆ แบบลีน (Lean Thinking) จากอุตสาหกรรมการผลิตมาใช้ในอุตสาหกรรม ก่อสร้าง หรือการที่ประเทศไทยมีการน�ำนวัตกรรมต่าง ๆ จากต่างประเทศมา ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมแบบไทย ๆ เช่น รูปแบบสัญญามาตรฐาน ใหม่ ๆ หรือแบบจ�ำลองทางธุรกิจใหม่ ๆ หรือถ้ายกอีกตัวอย่างที่เห็นได้ง่าย ๆ หากผู้อ่านมองทางด้านเกษตรกรรมจะพบว่ามีการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยี การเกษตรให้สามารถปลูกต้นไม้ ที่เดิมต้องน�ำเข้าดอกผลจากต่างประเทศภาย ใต้สภาพแวดล้อมในประเทศไทย เป็นต้น ซึ่งหากผู้อ่านเข้าใจความจริงข้อนี้ แล้วก็จะพบว่ามีหัวข้อวิจัยที่น่าสนใจอีกมากมายรอให้ผู้อ่านค้นพบและน�ำไป ท�ำการวิจัยต่อไปครับ 5) การสร้างสถิติใหม่ ๆ ตัวอย่างหัวข้อวิจัยกลุ่มนี้ เช่น การวิจัยเพื่อหาส่วนผสมคอนกรีตที่ท�ำให้ คอนกรีตมีก�ำลังอัดสูงกว่าที่มีผู้อื่นเคยท�ำได้ การหาวิธีออกแบบห้องชุดให้มีพื้นที่ เล็กที่สุดแต่ยังคงหน้าที่ใช้สอยได้ ซึ่งวิธีดังกล่าวเป็นวิธีหาหัวข้อวิจัยที่ใช้วิธีคิด แบบง่าย ๆ และมีประโยชน์ แต่มีข้อควรระวังคือ การหาค�ำตอบของโจทย์วิจัย ในลักษณะนี้จะค่อนข้างยาก เพราะต้องท�ำแข่งขันกับคนอื่น ซึ่งผู้ท�ำวิจัยจะต้อง มีแนวคิดและอาจรวมถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ดีกว่าผู้อื่นเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า นัก วิจัยจึงควรประเมินถึงความเป็นไปได้ในการท�ำงานวิจัยให้แล้วเสร็จด้วย เอาล่ะครับ ตอนนี้ผู้อ่านก็ได้ทราบแนวทางส�ำหรับหาหัวข้อวิจัยทั้ง 5 แนวทางแล้ว ลองคิดหัวข้อวิจัยที่สนใจไว้นะครับ โดยอาจคิดหัวข้อที่เข้าเค้าไว้ ซักหลาย ๆ หัวข้อก็ได้ ในหัวข้อต่อไปผมจะบอกวิธีในการเลือกว่าหัวข้อไหน เป็นหัวข้อวิจัยที่ควรท�ำหรือไม่ควรท�ำ หรือมีความน่าสนใจมากน้อยเพียงไร โปรดติดตามตอนต่อไปครับ
  • 5. 5เคล็ดลับที่ 1 การหาหัวข้อวิจัย 1.2 เทคนิคการเลือกหัวข้อวิจัย หัวข้อวิจัยใด ๆ จะเป็นหัวข้อที่ควรน�ำมาท�ำวิจัยหรือไม่ เป็นอีกเรื่อง หนึ่งที่นักวิจัยควรทราบ จากประสบการณ์ของผมที่ผ่านมา ผมมีหลักเกณฑ์ที่ ใช้ในการพิจารณา 5 ประการ จึงขอน�ำมาเล่าสู่กันฟังดังนี้ครับ 1) ต้องเป็นองค์ความรู้ใหม่ (originality) เนื่องจากการวิจัยเป็นการหาค�ำตอบของโจทย์ที่ตั้งไว้โดยใช้กระบวนการ เก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และสรุปผลข้อมูลตามหลักวิชาการ โจทย์ วิจัยที่จะท�ำการวิจัยจึงควรเป็นโจทย์วิจัยที่ยังไม่เคยมีการหาค�ำตอบมาก่อน มิฉะนั้นจะกลายเป็นการหาค�ำตอบในโจทย์ที่มีผู้ได้ท�ำการตอบไปแล้ว ไม่ ก่อให้เกิดประโยชน์แต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม หากนักวิจัยพบว่างานวิจัยที่ท�ำ ก่อนหน้ายังตอบโจทย์วิจัยได้ไม่ครบถ้วน เช่น ผู้วิจัยก่อนหน้าใช้วิธีการที่ยังไม่ เหมาะสม หรือยังไม่ได้ค�ำนึงถึงตัวแปรที่ส�ำคัญบางตัว หรือระยะเวลาที่ท�ำการ วิจัยผ่านไปนานจนผลการวิจัยน่าจะไม่สามารถตอบค�ำถามที่ตั้งไว้ในปัจจุบันได้ อย่างถูกต้องแล้ว ผู้อ่านอาจเลือกโจทย์วิจัยนั้นมาท�ำการวิจัยใหม่ได้ แต่ขอย�้ำ นะครับว่า ผู้อ่านต้องมีความมั่นใจจริง ๆ และมีข้อมูลมารองรับมากพอที่จะ บอกว่างานวิจัยที่ท�ำก่อนหน้าไม่ทันสมัยแล้วหรือไม่ถูกต้อง 2) ต้องมีความเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ผู้อ่านก�ำลังศึกษาอยู่ ในกรณีที่เป็นงานวิจัยในการศึกษาระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก หรืองานวิจัยเพื่อขอรับทุนวิจัย ผู้อ่านควรตรวจสอบว่าหัวข้อวิจัยนั้นมีความ เกี่ยวข้องกับหลักสูตรที่ผู้อ่านก�ำลังศึกษาหรือต้องการขอรับทุนหรือไม่ มิฉะนั้น อาจจะโดนคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์หรือคณะกรรมการพิจารณาทุน
  • 6. 6 เขียนข้อเสนอวิจัย (Proposal) ท�ำได้ง่าย ๆ โต้แย้งหัวข้อวิจัยนั้นในภายหลัง ในกรณีที่เลวร้ายอาจต้องเปลี่ยนหัวข้อวิจัย ใหม่หรือโดนปฏิเสธการให้ทุนเลยก็ได้ 3) ต้องมีความเป็นไปได้ในการท�ำวิจัย ถ้ามองกันให้ดี ๆ แล้ว การท�ำวิจัยถือเป็นการท�ำโครงการโครงการหนึ่ง ซึ่งผู้ท�ำวิจัยควรมีการประเมินความเป็นไปได้ในการท�ำงานวิจัยดังกล่าวให้แล้ว เสร็จเหมือนกับการที่นักลงทุนหรือผู้บริหารโครงการต้องท�ำการศึกษาความเป็น ไปได้ของโครงการก่อนลงมือท�ำจริง ซึ่งประการนี้ผู้อ่านควรให้ความส�ำคัญใน การพิจารณาหาหัวข้อวิจัยเป็นอย่างมาก ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความล้มเหลวที่อาจ จะเกิดขึ้นในภายหลัง ในการท�ำการวิจัยควรท�ำการประเมินความเป็นไปได้ใน หลาย ๆ ด้าน ได้แก่ 3.1) ความเป็นไปได้ด้านระยะเวลา งานวิจัยมักจะมีข้อจ�ำกัดด้านเวลาก�ำหนดไว้เสมอ เช่น ระยะเวลา ตามหลักสูตรการศึกษา หรือระยะเวลาที่ก�ำหนดโดยผู้ให้ทุนวิจัย ซึ่งผู้อ่านควร ประมาณระยะเวลาที่ต้องใช้และเปรียบเทียบกับข้อจ�ำกัดด้านเวลาที่มีว่าน่าจะ สามารถท�ำให้แล้วเสร็จก่อนระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ได้หรือไม่ เพื่อเป็นเกณฑ์ใน การตัดสินใจท�ำวิจัยทุกครั้ง 3.2) ความเป็นไปได้ด้านงบประมาณ การท�ำวิจัยประกอบด้วยขั้นตอนหลายขั้นตอน ตั้งแต่การตั้งโจทย์ วิจัย การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และสรุปผลข้อมูล ซึ่งกิจกรรมแต่ละขั้น ตอนจะมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นทั้งสิ้น ซึ่งหากผู้อ่านไม่ได้ท�ำการประเมินงบประมาณ ที่จะต้องใช้ว่าจะต้องใช้งบประมาณเท่าใด และต้องใช้แหล่งเงินทุนจากที่ใดล่วง
  • 7. 7เคล็ดลับที่ 1 การหาหัวข้อวิจัย หน้าแล้ว ผู้อ่านอาจประสบปัญหาในระหว่างการท�ำวิจัยในภายหลังได้ หรือ บางทีงานวิจัยต้องหยุดชะงักเนื่องจากทุนวิจัยหมด ซึ่งทุก ๆ ครั้งก่อนจะเริ่ม ท�ำงานวิจัย ผู้วิจัยควรแบ่งกระบวนการท�ำวิจัยออกเป็นกิจกรรมย่อย ๆ เพื่อ ประมาณหางบประมาณที่คาดว่าจะใช้ และเผื่องบประมาณไว้กรณีฉุกเฉิน ร้อยละ 10-15 ของงบประมาณที่ตั้งขึ้น ทั้งนี้ เพื่อให้มีงบประมาณเพียงพอใน การท�ำวิจัยให้แล้วเสร็จ 3.3) ความเป็นไปได้ในการรวบรวมข้อมูล จากประสบการณ์ผมทางด้านงานวิจัยพบว่า การท�ำวิจัยในบาง เรื่อง เช่น เรื่องที่เกี่ยวข้องกับต้นทุน ค่าใช้จ่าย หรือเคล็ดลับการด�ำเนินธุรกิจ (know-how) หรือประเด็นในด้านลบของบริษัทหรือองค์กร มักจะมีความ ยากล�ำบากในการเก็บรวบรวมข้อมูล เนื่องจากผู้ให้ข้อมูลไม่ค่อยเต็มใจที่จะให้ หรือบางทีข้อมูลที่ให้มาไม่ได้เป็นข้อมูลที่แท้จริง หรือได้ข้อมูลมาวิจัยเพียงบาง ส่วน อาจเนื่องจากผู้ให้ข้อมูลมักจะกลัวว่าข้อมูลดังกล่าวอาจก่อให้เกิดผลเสีย ต่อองค์กรของตน หรือไม่แน่ใจว่าผู้บังคับบัญชาจะอนุญาตให้เปิดเผยข้อมูลได้ หรือไม่ ซึ่งผู้อ่านควรมีการประเมินความเป็นไปได้ในกรณีดังกล่าวและคิดหา วิธีแก้ไขปัญหาไว้ล่วงหน้า เช่น การเพิ่มจ�ำนวนผู้ให้ข้อมูลที่ขอเก็บข้อมูล การ แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาของผู้ให้ข้อมูลทราบล่วงหน้าและขอความร่วมมือให้ช่วย มอบหมายผู้ให้ข้อมูลที่เหมาะสมให้การพิจารณาเลือกใช้ความคลาดเคลื่อนที่ ยอมรับได้ที่เหมาะสม (เนื่องจากในทางสถิติ ความคลาดเคลื่อนของผลลัพธ์ที่ ได้จะเพิ่มขึ้นหากจ�ำนวนตัวอย่างที่ใช้มีจ�ำนวนน้อยลง) หรือแม้แต่การตัดสินใจ ไม่เลือกหัวข้อดังกล่าวมาท�ำวิจัยตั้งแต่ต้นก็เป็นวิธีการหนึ่งที่อาจเป็นทางเลือก ที่ดีที่สุดก็เป็นได้
  • 8. 8 เขียนข้อเสนอวิจัย (Proposal) ท�ำได้ง่าย ๆ 3.4) ความเป็นไปได้ในด้านองค์ความรู้ที่รองรับการวิจัย การท�ำวิจัยคือการต่อยอดความรู้ที่มีอยู่เพื่อหาค�ำตอบของโจทย์ วิจัยที่ผู้วิจัยตั้งไว้ ซึ่งวิธีที่จะน�ำมาใช้หาค�ำตอบดังกล่าวจะต้องเป็นวิธีที่ถูกต้อง ตามหลักวิชาการ มีแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือรองรับ แต่ในบางกรณีหากผู้อ่าน ตั้งโจทย์วิจัยไกลจากองค์ความรู้ที่มีอยู่มากเกินไป ผู้อ่านก็จะไม่สามารถหา ค�ำตอบของโจทย์วิจัยนั้นได้ หรือถ้าหาได้ก็อาจจะไม่มีน�้ำหนักน่าเชื่อถือเท่าที่ ควร ตัวอย่างเช่น ผู้อ่านไม่ควรตั้งโจทย์วิจัยถึงแนวทางการเลือกวิธีการลงทุน ที่ให้ผลตอบแทนที่ดีที่สุด หากยังไม่สามารถหาข้อมูลได้ว่ารูปแบบการลงทุนมี รูปแบบใดบ้าง สิ่งที่ต้องระวังในการพิจารณาเรื่องความเป็นไปได้ในเรื่ององค์ความ รู้ที่รองรับการวิจัย ได้แก่ การที่ผู้อ่านจะสรุปได้ว่า องค์ความรู้ที่มีอยู่มีไม่เพียง พอที่จะท�ำการวิจัยต่อไปได้ ผู้อ่านจ�ำเป็นต้องท�ำการทบทวนวรรณกรรมให้ มากเพียงพอ มิฉะนั้นจะไม่สามารถสรุปว่างานวิจัยมีข้อจ�ำกัดดังกล่าวหรือเป็น เพราะผู้อ่านยังทบทวนวรรณกรรมมาไม่ดีพอ (ถ้าไปบอกว่าหัวข้อที่คิดอยู่มีข้อ จ�ำกัดเรื่ององค์ความรู้ที่มีอยู่แล้วโดนอาจารย์ที่ปรึกษาย้อนถามแบบนี้ อาจจะ รู้สึกเครียดได้ครับ เพราะฉะนั้นทบทวนวรรณกรรมไปให้ดี ๆ ก่อนครับ) 3.5) ความเป็นไปได้ด้านกฎหมายและจริยธรรม การท�ำการรวบรวมข้อมูลในบางกรณีอาจจะไม่สามารถท�ำได้ตาม กฎหมาย หรืออาจเป็นการผิดจริยธรรมในการท�ำวิจัยหากผู้วิจัยจะด�ำเนินการ ดังกล่าว เช่น การท�ำการทดลองหาผลลัพธ์ของสารเคมีบางชนิดกับมนุษย์หรือ สิ่งมีชีวิต หรือการเก็บข้อมูลโดยที่ผู้ให้ข้อมูลไม่ให้ความยินยอมในการให้ข้อมูล
  • 9. 9เคล็ดลับที่ 1 การหาหัวข้อวิจัย 4) ต้องมีความเหมาะสมของปริมาณงานที่จะต้องท�ำ ผู้อ่านควรพิจารณาปริมาณงานที่ต้องท�ำให้เหมาะสมกับประเภทของ งานวิจัยที่ก�ำลังด�ำเนินการ เนื่องจากงานวิจัยตามข้อก�ำหนดในหลักสูตรการ ศึกษาจะมีหลายประเภท ได้แก่ การค้นคว้าอิสระ สารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท และวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ซึ่งจะมีปริมาณงานและ ความลึกซึ้งมากขึ้นตามล�ำดับ (วิธีการหนึ่งที่ผมใช้พิจารณาในการเปรียบเทียบ ส�ำหรับงานวิจัยตามหลักสูตรการศึกษาคือ ใช้การสังเกตปริมาณงานที่ผู้วิจัย ควรจะต้องท�ำจากจ�ำนวนหน่วยกิตของงานวิจัย ดังจะกล่าวถึงในล�ำดับต่อไป) ซึ่งหลักเกณฑ์ที่ใช้แบ่งว่าหัวข้อใดควรเป็นงานวิจัยแบบใดนั้น ไม่มีหลักเกณฑ์ ตายตัว แต่อาจารย์ที่ปรึกษาจะเป็นผู้ที่ช่วยดูความเหมาะสมให้ โดยเบื้องต้น ผู้อ่านอาจดูว่าปริมาณงานเหมาะสมแล้วหรือไม่จากการลองเปรียบเทียบกับ งานวิจัยอื่น ๆ ในระดับเดียวกันของหลักสูตรที่ผู้อ่านก�ำลังศึกษาอยู่ ขอย้อนกลับมาเรื่องการพิจารณาปริมาณงานจากหน่วยกิตของงานวิจัย ส�ำหรับงานวิจัยที่เป็นข้อก�ำหนดในหลักสูตรการศึกษา ในฐานะที่ผมได้มีโอกาส ท�ำหน้าที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาของงานวิจัยหลายประเภท ทั้งการค้นคว้าอิสระ วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท และวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกในเวลาเดียวกัน ผมจึงจ�ำเป็นต้องมีการก�ำหนดปริมาณงานของงานวิจัยในแต่ละประเภทให้มี ความเหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไปจนเกิดปัญหา เช่น วิทยานิพนธ์ปริญญา โทควรมีปริมาณงานมากกว่าการค้นคว้าอิสระ แต่น้อยกว่าวิทยานิพนธ์ระดับ ปริญญาเอก ซึ่งหลักเกณฑ์หนึ่งซึ่งผมใช้ในการพิจารณาความเหมาะสมของ ปริมาณงานได้แก่ การเปรียบเทียบจ�ำนวนหน่วยกิตของงานวิจัยแต่ละประเภท โดยไม่นับหน่วยกิตที่ใช้ในการจัดท�ำข้อเสนอวิจัย (แม้ว่าผู้ที่ท�ำวิทยานิพนธ์จะ
  • 10. 10 เขียนข้อเสนอวิจัย (Proposal) ท�ำได้ง่าย ๆ ต้องทบทวนวรรณกรรมมากกว่าผู้ที่ท�ำการค้นคว้าอิสระเนื่องจากจ�ำนวนตัวแปร มากกว่า อาจถือว่าพอ ๆ กัน ไม่ต่างกันเท่าไร) เช่น ในหลักสูตรปริญญาโทที่ ผมสอนอยู่ การค้นคว้าอิสระระดับปริญญาโทจะมีหน่วยกิตในช่วงการลงมือ ท�ำเท่ากับ 3 หน่วยกิต (หน่วยกิตทั้งหมด 6 หน่วยกิต แบ่งเป็น 2 เทอม เทอม ละ 3 หน่วยกิต) ในขณะที่วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทมีจ�ำนวนหน่วยกิตใน ช่วงการลงมือท�ำการวิจัยเท่ากับ 9 หน่วยกิต (หน่วยกิตทั้งหมด 12 หน่วยกิต แบ่งเป็น 2 เทอม โดยมีจ�ำนวนหน่วยกิต 3 และ 9 หน่วยกิต ตามล�ำดับ) ดังนั้น ในวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทจึงควรมีเนื้องาน (หรือความยาก) เป็น ประมาณ 2-3 เท่าของการค้นคว้าอิสระ ขอย�้ำอีกครั้งว่าหลักเกณฑ์นี้ไม่ใช่หลัก เกณฑ์ตายตัว แต่เป็นเกณฑ์เบื้องต้นที่ผมใช้พิจารณาจากประสบการณ์การเป็น อาจารย์ที่ปรึกษาที่ผ่านมาเท่านั้น ส�ำหรับงานวิจัยประเภทอื่น ๆ ซึ่งไม่ใช่งานวิจัยตามข้อก�ำหนดของ หลักสูตรการศึกษา หลัก ๆ แล้วผู้อ่านควรค�ำนึงถึงความเหมาะสมกับระยะ เวลาและงบประมาณในการวิจัยซึ่งผู้อ่านมีอยู่ โดยปกติแล้วขอบเขตของงาน วิจัยย่อมแปรผันตรงกับระยะเวลาและงบประมาณนะครับ 5) ต้องมีความสามารถในการน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ในกรณี อื่น ๆ (generalization) งานวิจัยที่ดีควรสามารถน�ำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในโอกาสอื่น ๆ ได้ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงควรมีการก�ำหนดขอบเขตของการศึกษาให้เหมาะสม หาก ก�ำหนดขอบเขตแคบเกินไปอาจจะท�ำให้เกิดค�ำถามว่าองค์ความรู้ที่ได้จะสามารถ น�ำไปใช้กับกรณีอื่น ๆ ได้จริงหรือไม่ เช่น เมื่อผมได้มีโอกาสเป็นกรรมการ สอบวิทยานิพนธ์ของงานวิจัยที่มีการระบุขอบเขตของงานวิจัย ตัวอย่างเช่น