SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1
พื้นฐานวิศวกรรมชลศาสตร์
(Fundamental of Hydraulic Engineering)
1.1 ความหมายและความสําคัญของวิศวกรรมชลศาสตร์
วิศวกรรมชลศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวกับนํ้าเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้
ในการออกแบบอาคารด้านชลศาสตร์ อาทิ อ่างเก็บนํ้า เขื่อน ฝาย ทํานบ ประตูระบายนํ้า คู คลอง
ท่อส่งนํ้า ระบบระบายนํ้า ระบบป้องกันนํ้าท่วม และอาคารประกอบอื่น ๆ เพื่อการจัดการทรัพยากร
นํ้าทั้งระบบนํ้าใช้และนํ้าที่ต้องระบายทิ้ง
ยิ่งปัญหาเรื่องภัยแล้งและนํ้าท่วมทวีความรุนแรงมากขึ้นเท่าใด งานทางด้านวิศวกรรม
ชลศาสตร์ก็จะยิ่งเข้ามามีบทบาทมากขึ้นตามไปด้วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น วิศวกรผู้รับผิดชอบ
จึงต้องมีความรู้ความสามารถที่จะจัดการกับปัญหาเหล่านั้นได้อย่างดีพอ
1.2 ระบบและหน่วยที่ใช้วัด
ระบบและหน่วยที่ใช้วัดปริมาณในงานวิศวกรรมชลศาสตร์ที่พบในตําราทั่วไป มีอยู่ 2 ระบบ
คือ (1) ระบบ SI (international system of unit) และ (2) ระบบอังกฤษ (British engineering or
traditional system) ส่วนหน่วยที่ใช้เรียกค่าต่าง ๆ ประกอบด้วย
1.2.1 หน่วยปริมาณฐาน (base unit) เป็นหน่วยปริมาณที่ได้จากเครื่องมือวัดโดยตรงมี 7 ชนิด
คือ ความยาว มวล เวลา ปริมาณสาร ความเข้มของการส่องสว่าง อุณหภูมิ และกระแสไฟฟ้า เป็นต้น
นิยามทั่วไปของมวล คือ จํานวนอนุภาคที่บรรจุอยู่ในวัตถุนั้น ๆ อนุภาคที่กล่าวถึง
คือ อิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน รวมเรียกว่า อะตอม
1.2.2 หน่วยปริมาณอนุพันธ์ (derived unit)ได้จากการคูณหรือหารหน่วยพื้นฐานเข้าด้วยกัน
ได้แก่ แรงหรือนํ้าหนัก = มวล x ความเร่ง หรือ ความเร็ว =
เวลา
ความยาว
เป็นต้น
ตารางที่ 1.1 ปริมาณฐานในระบบ SI และระบบอังกฤษที่ควรจดจํา
ระบบ SI ระบบอังกฤษ
10 มิลลิเมตร (mm) = 1 เซนติเมตร (cm)
100 เซนติเมตร (cm) = 1 เมตร (m)
1,000 เมตร (m) = 1 กิโลเมตร (km)
12 นิ้ว (in) = 1 ฟุต (ft)
3 ฟุต (ft) = 1 หลา (yd)
1,760 หลา (yd) = 1 ไมล์(mi)
1 นิ้ว (in) = 2.54 เซนติเมตร (cm)
1 ฟุต (ft) = 0.3048 เมตร (m)
1 เมตร (m) = 3.28 ฟุต (ft)
1 กิโลเมตร (km) = 0.621 ไมล์(mi)
มวล 1 กิโลกรัม (kg) = 0.0685 สลัก (slug)
มวล 1 กิโลกรัม (kg) = 2.205 ปอนด์มวล (lbm)
ตัวอย่างที่ 1.1 จงแปลงความยาว 10 mi ให้กลายเป็นหน่วย ft และ m
วิธีทํา โดยการเทียบหน่วยเมื่อ 1 mi = 1760 yd, 1 yd = 3 ft และ 1 ft = 0.3048 m
ดังนั้น 10 mi = 10 mi   
1760 yd
1 mi

yd1
ft3
= 52800 ft ตอบ
และ 52800 ft = 52800 ft  
0.3048 m
1 ft
= 16093.44 m ตอบ
ตัวอย่างที่ 1.2 จงแปลงปริมาตร 5 m3
ให้กลายเป็นหน่วย ft 3
วิธีทํา โดยการเทียบหน่วยเมื่อ 1 m = 3.28 ft
ดังนั้น (1m)3
= (3.28 ft)3
จะได้ว่า 5 m3

3
3
m)1(
ft)3.28(
= 5 m3

33
33
m)()1(
ft)()3.28(
= 176.4 ft3
ตอบ
ข้อควรจํา : การแทนค่าต่าง ๆ ในสมการต้องแทนค่าหน่วยลงไปด้วยเสมอ เพราะหากแทน
แต่ค่าตัวเลขแต่ไม่ได้ดูว่าหน่วยตัดทอนกันแล้วได้ค่าตามที่ต้องการหรือไม่ ก็จะทําให้
ผลลัพธ์ผิดไปได้จึงต้องระวังเป็นอย่างมาก
หน้า 2 บทที่ 1 พื้นฐานวิศวกรรมชลศาสตร์ .
ตารางที่ 1.2 ค่าการแปลงหน่วย จากระบบ SI เป็นระบบอังกฤษ
รายการ
การแปลงจากระบบ
หน่วย SI
คูณด้วย เป็นระบบหน่วย
อังกฤษ
พื้นที่ (area)
ความหนาแน่น (density)
ความหนืดจลน์ (kinematic viscosity)
ความหนืดพลวัต (dynamic viscosity)
ความดัน (pressure)
นํ้าหนักจําเพาะ (specific weight)
ความเร็ว (velocity)
แรง
m2
kg/m3
= 10-3
g/cm3
m2
/s = (104
St)
N-s /m2
(10 P)
N/m2
(Pa)
N/m3
m/s
N
10.76
0.00194
10.76
0.02089
0.000145
0.006365
3.28
0.225
ft2
slug/ft3
ft2
/s
lb-s /ft2
psi
lb/ft3
fps
lb
ตารางที่ 1.3 การแปลงหน่วยปริมาตร
หน่วย
ค่าตัวคูณเทียบเท่า (equivalent)
ลูกบาศก์
นิ้ว (in3
)
แกลลอน
อเมริกา
แกลลอน
อังกฤษ
ลูกบาศก์ฟุต
(ft3
)
ลูกบาศก์
เมตร (m3
)
เอเคอร์-ฟุต
(acre-ft)
วินาที-ฟุต-
วัน (sfd)
ลูกบาศก์นิ้ว
(cubic inch)
แกลลอนอเมริกา
(U.S.gallon)
แกลลอนอังกฤษ
(imperial gallon)
ลูกบาศก์ฟุต
(cubic foot)
ลูกบาศก์เมตร
(cubic meter)
เอเคอร์-ฟุต
(acre-foot)
วินาที-ฟุต-วัน
(second-foot-day)
1
231
277
1728
61,000
7.53 107
1.49  108
0.00433
1
1.20
7.48
264
3.26  105
6.46  105
0.00361
0.833
1
6.23
220
2.71  105
5.38  105
5.79  10-4
0.134
0.161
1
35.3
43560
86400
1.64  10-5
0.00379
0.00455
0.0283
1
1230
2450
1.33  10-8
3.07  10-6
3.68  10-6
2.30  10-5
8.11  10-4
1
1.98
6.70  10-9
1.55  10-6
1.86  10-6
1.16  10-5
4.09  10-4
0.504
1
วิศวกรรมชลศาสตร์ หน้า 3
ตารางที่ 1.4 การแปลงหน่วยของอัตราการไหล
หน่วย
ค่าตัวคูณเทียบเท่า (equivalent)
U.S.gpd ft3
/day U.S.gpm
imperial
gpm
acre-ft
/day
cfs m3
/s
แกลลอนอเมริกา/วัน
(U.S.gallon per day)
ลบ.ฟุต/วัน
(cubic foot per day)
แกลลอนอเมริกา/นาที
(U.S.gallon per minute)
แกลลอนอังกฤษ/นาที
(imperial gallon per
minute)
เอเคอร์-ฟุต/วัน
(acre-foot per day)
ลบ.ฟุต/วินาที
(cubic foot per second)
ลบ.เมตร/วินาที
(cubic meter per second)
1
7.48
1440
1728
3.26  105
6.46  105
2.28  107
0.134
1
193
231
43560
86400
3.05  106
6.94  10-4
5.19  10-3
1
1.20
226
449
15800
5.78  10-4
4.33  10-3
0.833
1
188
374
13200
3.07  10-6
2.30  10-5
4.42  10-3
5.31  10-3
1
1.98
70.0
1.55  10-6
1.16  10-5
2.23  10-3
2.67  10-3
0.504
1
35.3
4.38  10-8
3.28  10-7
6.31  10-5
7.57  10-5
0.0143
0.0283
1
ตัวอย่างที่ 1.3 จงแปลงค่าความดัน 10 kPa หรือ kN/m2
ให้อยู่ในหน่วย lb/in2
วิธีทํา หลักการแปลงหน่วยใช้หลักเทียบค่าของสิ่งที่เท่ากันแล้วนํามาคูณและหารเพื่อตัดหน่วยที่
ไม่ต้องการทิ้งไปให้เหลือเฉพาะหน่วยที่ต้องการดังนี้
ขั้นที่ 1 แปลง kN เป็น N จาก 1 kN = 1000 N ดังนั้น 2
kN 1000N
10
m 1 kN
  
  
  
= 





2
m
N
10000
(ข้อสังเกต จากเดิมหน่วย kN เป็นเศษ ดังนั้น ตอนเทียบค่าในวงเล็บจึงเอาไว้ข้างล่างเพื่อจะ
ได้ตัดทอนกันแล้วหายไป)
ขั้นที่ 2 แปลง N เป็น lb จากตารางที่ 1.1 จะได้ว่า 1 N = 0.225 lb ดังนั้น
2
N 0.225 lb
1000
m 1 N
  
  
  
= 





2
m
lb
2250
ขั้นที่ 3 แปลง m2
เป็น ft2
จากตารางที่ 1.1 จะได้ว่า 1 m = 3.28 ft
หน้า 4 บทที่ 1 พื้นฐานวิศวกรรมชลศาสตร์ .
ดังนั้น
2
2
lb 1 m
2250
m 3.28 ft
  
  
  
=
2
2 2
lb 1 m
2250
m 10.76 ft
  
  
  
= 





2
ft
lb
1.209
ขั้นที่ 4 แปลง N เป็น lb จากตารางที่ 1.1 จะได้ว่า 1 N = 0.225 lb ดังนั้น
2
2
lb 1 ft
209.1
ft 12 in
  
  
  
= 2
2 2
lb 1 ft
209.1
ft 144 in
  
  
  
= 





2
in
lb
45.1
ตอบ
หรือถ้าเข้าใจแล้วจะใช้หลักเทียบค่าของสิ่งที่เท่ากันแล้วนํามาคูณและหารตลอดเลยทีเดียวก็ได้คือ
2
kN 1000 N
10
m 1 kN
   
   
   
0.225 lb
1 N
 
 
 
2
1 m
3.28 ft
 
 
 
2
1 ft
12 in
 
 
 
= 





2
in
lb
45.1
ตอบ
1.3 คุณสมบัติที่สําคัญของของไหล
คุณสมบัติที่สําคัญของของไหลที่ควรกล่าวถึงและจดจํา ได้แก่
1.3.1 นํ้าหนักจําเพาะ (specific weight, ) =
ปริมาตร
นํ้าหนัก
=

W
คือ นํ้าหนักต่อหนึ่งหน่วย
ปริมาตร หน่วยในระบบ SI คือ N/m3
หรือนิวตัน/ลูกบาศก์เมตร นํ้าหนักจําเพาะของนํ้าที่ 4 C มีค่า
ประมาณ 9810 N/m3
หรือประมาณ 62.4 lb/ft3
ในระบบอังกฤษ
1.3.2 ความหนาแน่น (density, ) =
ปริมาตร
มวล
=

m
คือ อัตราส่วนของมวลต่อหนึ่งหน่วย
ปริมาตร ในระบบ SI ความหนาแน่นของนํ้าที่ 4 C เท่ากับ 1000 kg/m3
ส่วนในระบบอังกฤษ มีค่า
เท่ากับ 1.94 slug/ft3
1.3.3 ความถ่วงจําเพาะ (specific gravity, S) =
C
o
4ของนํ้าที่)าแน่นหรือความหน(พาะนํ้าหนักจําเ
ของวัตถุ)าแน่นหรือความหน(พาะนํ้าหนักจําเ
= m
w
γ
γ
หรือ m
w
ρ
ρ
ความหนาแน่นของนํ้ามีค่าเท่ากับ 1.0
1.3.4 ความหนืด (viscosity) เกิดจากการเกาะกันระหว่างโมเลกุลชนิดเดียวกันของของเหลว
(cohesive) แล้วก่อให้เกิดความต้านทานต่อการไหลขึ้น โดยปกติความหนืดของของไหลจะลดลง
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ความหนืดมี 2 ชนิด คือ
วิศวกรรมชลศาสตร์ หน้า 5
1. ความหนืดพลวัตหรือความหนืดสมบูรณ์ (dynamic or absolute viscosity, ) หรือ
 = ที่เกิดขึ้นในเนื้อของเหลวที่มีการไหล หรือ =
dy/du

มี
หน่วยเป็น (N-s) / m2
ในระบบ SI และ (lb-s) / ft2
ในระบบอังกฤษ
2. ความหนืดจลน์ (kinematic viscosity, )
 = =


มีหน่วยเป็น m2
/s ในระบบ SI และ ft2
/s ใน
ระบบอังกฤษ
1.3.5 ความดันไอ (vapor pressure) หรือความดันที่ของเหลวกลายเป็นไอ คือความดันที่เกิดจาก
อนุภาคของของเหลวในรูปไออิ่มตัว (saturated vapor) เหนือผิวหน้าของเหลวที่อุณหภูมิที่กําหนดให้
เกิดขึ้นเมื่อของเหลวอยู่ในภาชนะปิด โมเลกุลที่ระเหยจากผิวหน้าของเหลวไม่สามารถออกจากภาชนะได้
และจะรวมกันอยู่ในภาชนะเหนือผิวหน้าของเหลว ทําให้เกิดความดัน เมื่ออัตราการระเหยเท่ากับอัตราการ
ควบแน่น ความดันไอที่วัดได้เรียกว่า ความดันไอสมดุล (equilibrium vapor pressure) เรียกสั้น ๆ ว่า ความ
ดันไอ
โดยปกติค่าความดันไอจะเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิของของเหลวที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังขึ้นอยู่กับแรง
ดึงดูดระหว่างโมเลกุลของของเหลว ของเหลวใดมีแรงดึงดูดหรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยความ
ดันไอก็จะสูง ส่วนของเหลวใดที่มีแรงดึงดูดหรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากความดันไอก็จะตํ่า เช่น
นํ้ามีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากกว่าเอทานอล ดังนั้น นํ้าจึงมีความดันไอตํ่ากว่าเอทานอลที่อุณหภูมิ
เดียวกัน
1.3.6 ความดันบรรยากาศมาตรฐาน (standard atmospheric pressure, Patm) คือ ความดันเฉลี่ย
ของบรรยากาศวัดที่ระดับนํ้าทะเลปานกลาง (mean sea level) มีค่าดังที่แสดงในตารางที่ 1.5
1.3.7 ความดันมาตรหรือความดันเกจ (gauge pressure, Pg ) คือ ค่าความดันที่อ่านเทียบจากค่า
ความดันบรรยากาศ โดยให้ค่าความดันบรรยากาศทุก ๆ ที่มีค่าเป็นศูนย์( 0) เช่น ค่าความดันลมยางของล้อ
รถ เป็นต้น
1.3.8 ความดันสมบูรณ์ (absolute pressure, Pabs ) คือ ความดันที่วัดเทียบกับค่าที่เป็นศูนย์ตาม
สมการ Pabs = Patm  Pg
เมื่อ Pg = ค่าความดันที่อ่านได้จากเกจ (gauge pressure) ซึ่งอาจมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้
Patm = ค่าความดันบรรยากาศ
หน้า 6 บทที่ 1 พื้นฐานวิศวกรรมชลศาสตร์ .
ความเค้นเฉือน (shear stress)
อัตราความเครียด (srain rate)
ตารางที่ 1.5 ปริมาณและคุณสมบัติที่สําคัญ
ปริมาณ ระบบหน่วย SI ระบบหน่วยอังกฤษ
ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
ความหนาแน่นของนํ้า (39.4 F, 4 C)
นํ้าหนักจําเพาะของนํ้า
(50 F, 15 C)
ความดันบรรยากาศมาตรฐาน
ที่ระดับนํ้าทะเลปานกลาง
9.81 m/s2
1000 kg/m3
= 1 g/cm3
or 1.0 mg/m3
~ 9810 N/m3
or 9.81 kN/m3
101.32 kN/m2
, abs
760 mm Hg
10.33 m H2O
1013.2 millibars
32.2 ft/s2
1.94 slug/ft3
= 1.94 lb. ft2
s-4
62.4 lb/ft3
14.7 psia
29.92 in, Hg
33.9 ft H2O
ตารางที่ 1.6 คุณสมบัติของนํ้าในระบบหน่วย SI
อุณหภูมิ
C
นํ้าหนัก
จําเพาะ

kN/m3
ความ
หนาแน่น

kg/ m3
ความหนืด
พลวัตหรือ
ความหนืด
สมบูรณ์
  10-3
N-s /m2
ความหนืด
จลน์
  10-6
m2
/s
ความร้อน
ของการ
กลายเป็น
ไอ
J/gm
ความดัน
ไอ
PV
kN/m2
,abs
หัวความ
ดันไอ
PV / 
m (abs)
มอดุลัส
ของ
ความ
ยืดหยุ่น
EV  106
kN/m2
0
5
10
15
20
25
30
40
50
60
70
80
90
100
9.805
9.807
9.804
9.798
9.789
9.777
9.764
9.730
9.689
9.642
9.589
9.530
9.466
9.399
999.8
1000.0
999.7
999.1
998.2
997.0
995.7
992.2
988.0
983.2
977.8
971.8
965.3
958.4
1.792
1.518
1.307
1.139
1.002
0.890
0.798
0.653
0.547
0.466
0.404
0.354
0.315
0.282
1.792
1.519
1.306
1.139
1.003
0.893
0.800
0.658
0.553
0.474
0.413
0.364
0.326
0.294
2500.3
2488.6
2476.9
2465.1
2453.0
2441.3
2429.6
2405.7
2381.8
2357.6
2333.3
2308.2
2282.6
2256.7
0.61
0.87
1.13
1.60
2.34
3.17
4.24
7.38
12.33
19.92
31.16
47.34
70.10
101.33
0.06
0.09
0.12
0.17
0.25
0.33
0.44
0.76
1.26
2.03
3.20
4.96
7.18
10.33
2.02
2.06
2.10
2.15
2.18
2.22
2.25
2.28
2.29
2.28
2.25
2.20
2.14
2.07
วิศวกรรมชลศาสตร์ หน้า 7
ตารางที่ 1.7 คุณสมบัติของนํ้าในระบบหน่วยอังกฤษ
อุณหภูมิ
F
นํ้าหนัก
จําเพาะ

lb/ft3
ความ
หนาแน่น

slugs/ft3
ความหนืด
พลวัตหรือ
ความหนืด
สมบูรณ์
  10-5
lb-s/ft2
ความหนืด
จลน์
  10-5
ft2
/s
ความร้อน
ของการ
กลายเป็น
ไอ
btu/lb
ความดัน
ไอ
PV
psi (abs)
หัวความ
ดันไอ
PV / 
ft (abs)
มอดุลัส
ของความ
ยืดหยุ่น
EV  103
psi
32
40
50
60
80
90
100
120
140
160
180
200
212
62.42
62.43
62.41
62.37
62.22
62.11
62.00
61.71
61.38
61.00
60.58
60.12
59.83
1.940
1.940
1.940
1.938
1.934
1.931
1.927
1.918
1.908
1.896
1.883
1.868
1.860
3.746
3.229
2.735
2.359
1.799
1.595
1.424
1.168
0.981
0.838
0.726
0.637
0.593
1.931
1.664
1.410
1.217
0.930
0.826
0.739
0.609
0.514
0.442
0.385
0.341
0.319
1075.5
1071.0
1065.3
1059.7
1048.4
1042.7
1037.1
1025.6
1014.0
1002.2
990.2
977.9
970.3
0.09
0.12
0.18
0.26
0.51
0.70
0.95
1.69
2.89
4.74
7.51
11.52
14.70
0.20
0.28
0.41
0.59
1.17
1.61
2.19
3.91
6.67
10.95
17.33
26.59
33.90
293
294
305
311
322
323
327
333
330
326
318
308
300
1.4 แรงที่เกิดจากของเหลว
แรงหรือนํ้าหนัก ( force or weight, F or W ) = มวล  ความเร่ง หรือ F or W = mg
ในระบบ SI มีหน่วยเป็น kg-m/s2
หรือนิวตัน (Newton) และใช้อักษรย่อว่า N โดยแรง 1 N มีค่า
เท่ากับมวล 1 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 1 m/s2
หรือ 1 N = 1 kg  1 m /s2
ส่วนในระบบอังกฤษมีหน่วยเป็น ปอนด์ (pound) ใช้อักษรย่อ lb
แรงที่เกิดจากของเหลวสามารถวิเคราะห์ได้ 2 กรณี คือ แรงที่ดันสถิตเกิดขึ้นขณะของเหลวไม่
มีการไหลและแรงที่ขณะของเหลวมีการไหล
หน้า 8 บทที่ 1 พื้นฐานวิศวกรรมชลศาสตร์ .
1.4.1 แรงที่เกิดขึ้นขณะของเหลวไม่มีการไหล
1. ความดัน (pressure, P) คือ แรงหรือนํ้าหนักต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ หน่วยวัดความดัน
ในระบบ SI คือ N/m2
(นิวตันต่อตารางเมตร) ซึ่งมีชื่อเรียกใหม่ว่า ปาสกาล (Pascal) และใช้ตัวย่อว่า
Pa ระบบอังกฤษ หน่วยเป็น lb/ft2
(ปอนด์/ต่อตารางฟุต) หรือ lb/in2
(ปอนด์ต่อตารางนิ้ว)
หลักการ : 1. ความดันมีค่าแปรผันตามความลึก (P  h หรือ y)
2. ความดันและแรงดันจะกระทําตั้งฉากกับพื้นที่ที่รับแรงเสมอ
3. แรงลัพธ์ที่เกิดจากความดันบนพื้นที่ใด ๆ มีค่าเท่ากับปริมาตรของปริซึมความดัน
(ก) ไดอะแกรมความดันบนระนาบแนวดิ่ง (ข) ปริซึมความดัน
(ค) ระนาบแนวนอน (ง) ระนาบแนวดิ่ง (จ) ระนาบเอียง
รูปที่ 1.1 ไดอะแกรมความดันและปริซึมความดันบนระนาบตรงที่จมอยู่ในของเหลว
hcp
FR
h/3
h
h
cp.
h
b
h
h/3
FR
c. of pressure prism
P = h
P = h1 1
F = hA
c. and c.p.of A
h1
h2
c. of pressure prism
c. of A
c.p. of A
P = h1 1
P = h2 2F
c. of
pressure
prism
P = h1 1
h1
h2
F
c. of A
c.p. ofA
h
วิศวกรรมชลศาสตร์ หน้า 9
ความดันที่จุดใด ๆ ในเนื้อของเหลวมีค่าเท่ากับ
A
W
หรือ
A
F
=
พื้นที่
เหลวหนักของของแรงหรือนํ้า
หรือเท่ากับนํ้าหนักจําเพาะของของเหลวคูณกับความลึกจากผิวอิสระถึงจุดความลึกนั้น นั่นคือ
p =  h (1.1)
เมื่อ P = ความดันใต้ผิวของของเหลวลึก h (N/m2
, lb/ft2
)
 = นํ้าหนักจําเพาะของของเหลว (N/m3
, lb/ft3
)
h = ระดับความลึก ณ จุดใด ๆ ที่พิจารณาในแนวดิ่ง (m, ft)
2. แรงดันที่ของเหลวกระทําต่อระนาบที่จมบางส่วน
(ก) ระนาบเอียง
(ข) ระนาบโค้ง
รูปที่ 1.2 แรงดันที่ของเหลวกระทําต่อระนาบสามารถแยกเป็นแรงย่อย 2 แรงตั้งฉากกัน (อ้างอิง 19)
หน้า 10 บทที่ 1 พื้นฐานวิศวกรรมชลศาสตร์ .

More Related Content

What's hot

7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
Preeyapat Lengrabam
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
Piyanart Suebsanoh
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
wiriya kosit
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
Aey Usanee
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
เซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
Ning Thanyaphon
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
Duduan
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
Saipanya school
 

What's hot (20)

7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 

Viewers also liked

แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]Janesita Sinpiang
 
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
Rajamangala University of Technology Rattanakosin
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
Banyat Niyomvas
 
Hydraulic engineering reflected in the humanities
Hydraulic engineering reflected in the humanitiesHydraulic engineering reflected in the humanities
Hydraulic engineering reflected in the humanities
Oliver_Parodi
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัดkroojaja
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
amnesiacbend
 
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้าการวัดปริมาณทางไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
Piyanuch Plaon
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3
Lumyai Pirum
 
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2Rainymath
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
คุณครูพี่อั๋น
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวkhanida
 
Textile calculations
Textile calculationsTextile calculations
Textile calculations
Aditya singh Kushwaha
 

Viewers also liked (20)

M cmu-01-10-54-p1
M cmu-01-10-54-p1M cmu-01-10-54-p1
M cmu-01-10-54-p1
 
การแปลงหน่วย
การแปลงหน่วยการแปลงหน่วย
การแปลงหน่วย
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]
 
6 1
6 16 1
6 1
 
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
Hydraulic engineering reflected in the humanities
Hydraulic engineering reflected in the humanitiesHydraulic engineering reflected in the humanities
Hydraulic engineering reflected in the humanities
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัด
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้าการวัดปริมาณทางไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3
 
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
Textile calculations
Textile calculationsTextile calculations
Textile calculations
 

Similar to 9789740330783

Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มPornsak Tongma
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
PumPui Oranuch
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
Pipat Chooto
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
Pipat Chooto
 

Similar to 9789740330783 (8)

Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
 
9 1
9 19 1
9 1
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
9 2
9 29 2
9 2
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740330783

  • 1. บทที่ 1 พื้นฐานวิศวกรรมชลศาสตร์ (Fundamental of Hydraulic Engineering) 1.1 ความหมายและความสําคัญของวิศวกรรมชลศาสตร์ วิศวกรรมชลศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวกับนํ้าเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการออกแบบอาคารด้านชลศาสตร์ อาทิ อ่างเก็บนํ้า เขื่อน ฝาย ทํานบ ประตูระบายนํ้า คู คลอง ท่อส่งนํ้า ระบบระบายนํ้า ระบบป้องกันนํ้าท่วม และอาคารประกอบอื่น ๆ เพื่อการจัดการทรัพยากร นํ้าทั้งระบบนํ้าใช้และนํ้าที่ต้องระบายทิ้ง ยิ่งปัญหาเรื่องภัยแล้งและนํ้าท่วมทวีความรุนแรงมากขึ้นเท่าใด งานทางด้านวิศวกรรม ชลศาสตร์ก็จะยิ่งเข้ามามีบทบาทมากขึ้นตามไปด้วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น วิศวกรผู้รับผิดชอบ จึงต้องมีความรู้ความสามารถที่จะจัดการกับปัญหาเหล่านั้นได้อย่างดีพอ 1.2 ระบบและหน่วยที่ใช้วัด ระบบและหน่วยที่ใช้วัดปริมาณในงานวิศวกรรมชลศาสตร์ที่พบในตําราทั่วไป มีอยู่ 2 ระบบ คือ (1) ระบบ SI (international system of unit) และ (2) ระบบอังกฤษ (British engineering or traditional system) ส่วนหน่วยที่ใช้เรียกค่าต่าง ๆ ประกอบด้วย 1.2.1 หน่วยปริมาณฐาน (base unit) เป็นหน่วยปริมาณที่ได้จากเครื่องมือวัดโดยตรงมี 7 ชนิด คือ ความยาว มวล เวลา ปริมาณสาร ความเข้มของการส่องสว่าง อุณหภูมิ และกระแสไฟฟ้า เป็นต้น นิยามทั่วไปของมวล คือ จํานวนอนุภาคที่บรรจุอยู่ในวัตถุนั้น ๆ อนุภาคที่กล่าวถึง คือ อิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน รวมเรียกว่า อะตอม 1.2.2 หน่วยปริมาณอนุพันธ์ (derived unit)ได้จากการคูณหรือหารหน่วยพื้นฐานเข้าด้วยกัน ได้แก่ แรงหรือนํ้าหนัก = มวล x ความเร่ง หรือ ความเร็ว = เวลา ความยาว เป็นต้น
  • 2. ตารางที่ 1.1 ปริมาณฐานในระบบ SI และระบบอังกฤษที่ควรจดจํา ระบบ SI ระบบอังกฤษ 10 มิลลิเมตร (mm) = 1 เซนติเมตร (cm) 100 เซนติเมตร (cm) = 1 เมตร (m) 1,000 เมตร (m) = 1 กิโลเมตร (km) 12 นิ้ว (in) = 1 ฟุต (ft) 3 ฟุต (ft) = 1 หลา (yd) 1,760 หลา (yd) = 1 ไมล์(mi) 1 นิ้ว (in) = 2.54 เซนติเมตร (cm) 1 ฟุต (ft) = 0.3048 เมตร (m) 1 เมตร (m) = 3.28 ฟุต (ft) 1 กิโลเมตร (km) = 0.621 ไมล์(mi) มวล 1 กิโลกรัม (kg) = 0.0685 สลัก (slug) มวล 1 กิโลกรัม (kg) = 2.205 ปอนด์มวล (lbm) ตัวอย่างที่ 1.1 จงแปลงความยาว 10 mi ให้กลายเป็นหน่วย ft และ m วิธีทํา โดยการเทียบหน่วยเมื่อ 1 mi = 1760 yd, 1 yd = 3 ft และ 1 ft = 0.3048 m ดังนั้น 10 mi = 10 mi    1760 yd 1 mi  yd1 ft3 = 52800 ft ตอบ และ 52800 ft = 52800 ft   0.3048 m 1 ft = 16093.44 m ตอบ ตัวอย่างที่ 1.2 จงแปลงปริมาตร 5 m3 ให้กลายเป็นหน่วย ft 3 วิธีทํา โดยการเทียบหน่วยเมื่อ 1 m = 3.28 ft ดังนั้น (1m)3 = (3.28 ft)3 จะได้ว่า 5 m3  3 3 m)1( ft)3.28( = 5 m3  33 33 m)()1( ft)()3.28( = 176.4 ft3 ตอบ ข้อควรจํา : การแทนค่าต่าง ๆ ในสมการต้องแทนค่าหน่วยลงไปด้วยเสมอ เพราะหากแทน แต่ค่าตัวเลขแต่ไม่ได้ดูว่าหน่วยตัดทอนกันแล้วได้ค่าตามที่ต้องการหรือไม่ ก็จะทําให้ ผลลัพธ์ผิดไปได้จึงต้องระวังเป็นอย่างมาก หน้า 2 บทที่ 1 พื้นฐานวิศวกรรมชลศาสตร์ .
  • 3. ตารางที่ 1.2 ค่าการแปลงหน่วย จากระบบ SI เป็นระบบอังกฤษ รายการ การแปลงจากระบบ หน่วย SI คูณด้วย เป็นระบบหน่วย อังกฤษ พื้นที่ (area) ความหนาแน่น (density) ความหนืดจลน์ (kinematic viscosity) ความหนืดพลวัต (dynamic viscosity) ความดัน (pressure) นํ้าหนักจําเพาะ (specific weight) ความเร็ว (velocity) แรง m2 kg/m3 = 10-3 g/cm3 m2 /s = (104 St) N-s /m2 (10 P) N/m2 (Pa) N/m3 m/s N 10.76 0.00194 10.76 0.02089 0.000145 0.006365 3.28 0.225 ft2 slug/ft3 ft2 /s lb-s /ft2 psi lb/ft3 fps lb ตารางที่ 1.3 การแปลงหน่วยปริมาตร หน่วย ค่าตัวคูณเทียบเท่า (equivalent) ลูกบาศก์ นิ้ว (in3 ) แกลลอน อเมริกา แกลลอน อังกฤษ ลูกบาศก์ฟุต (ft3 ) ลูกบาศก์ เมตร (m3 ) เอเคอร์-ฟุต (acre-ft) วินาที-ฟุต- วัน (sfd) ลูกบาศก์นิ้ว (cubic inch) แกลลอนอเมริกา (U.S.gallon) แกลลอนอังกฤษ (imperial gallon) ลูกบาศก์ฟุต (cubic foot) ลูกบาศก์เมตร (cubic meter) เอเคอร์-ฟุต (acre-foot) วินาที-ฟุต-วัน (second-foot-day) 1 231 277 1728 61,000 7.53 107 1.49  108 0.00433 1 1.20 7.48 264 3.26  105 6.46  105 0.00361 0.833 1 6.23 220 2.71  105 5.38  105 5.79  10-4 0.134 0.161 1 35.3 43560 86400 1.64  10-5 0.00379 0.00455 0.0283 1 1230 2450 1.33  10-8 3.07  10-6 3.68  10-6 2.30  10-5 8.11  10-4 1 1.98 6.70  10-9 1.55  10-6 1.86  10-6 1.16  10-5 4.09  10-4 0.504 1 วิศวกรรมชลศาสตร์ หน้า 3
  • 4. ตารางที่ 1.4 การแปลงหน่วยของอัตราการไหล หน่วย ค่าตัวคูณเทียบเท่า (equivalent) U.S.gpd ft3 /day U.S.gpm imperial gpm acre-ft /day cfs m3 /s แกลลอนอเมริกา/วัน (U.S.gallon per day) ลบ.ฟุต/วัน (cubic foot per day) แกลลอนอเมริกา/นาที (U.S.gallon per minute) แกลลอนอังกฤษ/นาที (imperial gallon per minute) เอเคอร์-ฟุต/วัน (acre-foot per day) ลบ.ฟุต/วินาที (cubic foot per second) ลบ.เมตร/วินาที (cubic meter per second) 1 7.48 1440 1728 3.26  105 6.46  105 2.28  107 0.134 1 193 231 43560 86400 3.05  106 6.94  10-4 5.19  10-3 1 1.20 226 449 15800 5.78  10-4 4.33  10-3 0.833 1 188 374 13200 3.07  10-6 2.30  10-5 4.42  10-3 5.31  10-3 1 1.98 70.0 1.55  10-6 1.16  10-5 2.23  10-3 2.67  10-3 0.504 1 35.3 4.38  10-8 3.28  10-7 6.31  10-5 7.57  10-5 0.0143 0.0283 1 ตัวอย่างที่ 1.3 จงแปลงค่าความดัน 10 kPa หรือ kN/m2 ให้อยู่ในหน่วย lb/in2 วิธีทํา หลักการแปลงหน่วยใช้หลักเทียบค่าของสิ่งที่เท่ากันแล้วนํามาคูณและหารเพื่อตัดหน่วยที่ ไม่ต้องการทิ้งไปให้เหลือเฉพาะหน่วยที่ต้องการดังนี้ ขั้นที่ 1 แปลง kN เป็น N จาก 1 kN = 1000 N ดังนั้น 2 kN 1000N 10 m 1 kN          =       2 m N 10000 (ข้อสังเกต จากเดิมหน่วย kN เป็นเศษ ดังนั้น ตอนเทียบค่าในวงเล็บจึงเอาไว้ข้างล่างเพื่อจะ ได้ตัดทอนกันแล้วหายไป) ขั้นที่ 2 แปลง N เป็น lb จากตารางที่ 1.1 จะได้ว่า 1 N = 0.225 lb ดังนั้น 2 N 0.225 lb 1000 m 1 N          =       2 m lb 2250 ขั้นที่ 3 แปลง m2 เป็น ft2 จากตารางที่ 1.1 จะได้ว่า 1 m = 3.28 ft หน้า 4 บทที่ 1 พื้นฐานวิศวกรรมชลศาสตร์ .
  • 5. ดังนั้น 2 2 lb 1 m 2250 m 3.28 ft          = 2 2 2 lb 1 m 2250 m 10.76 ft          =       2 ft lb 1.209 ขั้นที่ 4 แปลง N เป็น lb จากตารางที่ 1.1 จะได้ว่า 1 N = 0.225 lb ดังนั้น 2 2 lb 1 ft 209.1 ft 12 in          = 2 2 2 lb 1 ft 209.1 ft 144 in          =       2 in lb 45.1 ตอบ หรือถ้าเข้าใจแล้วจะใช้หลักเทียบค่าของสิ่งที่เท่ากันแล้วนํามาคูณและหารตลอดเลยทีเดียวก็ได้คือ 2 kN 1000 N 10 m 1 kN             0.225 lb 1 N       2 1 m 3.28 ft       2 1 ft 12 in       =       2 in lb 45.1 ตอบ 1.3 คุณสมบัติที่สําคัญของของไหล คุณสมบัติที่สําคัญของของไหลที่ควรกล่าวถึงและจดจํา ได้แก่ 1.3.1 นํ้าหนักจําเพาะ (specific weight, ) = ปริมาตร นํ้าหนัก =  W คือ นํ้าหนักต่อหนึ่งหน่วย ปริมาตร หน่วยในระบบ SI คือ N/m3 หรือนิวตัน/ลูกบาศก์เมตร นํ้าหนักจําเพาะของนํ้าที่ 4 C มีค่า ประมาณ 9810 N/m3 หรือประมาณ 62.4 lb/ft3 ในระบบอังกฤษ 1.3.2 ความหนาแน่น (density, ) = ปริมาตร มวล =  m คือ อัตราส่วนของมวลต่อหนึ่งหน่วย ปริมาตร ในระบบ SI ความหนาแน่นของนํ้าที่ 4 C เท่ากับ 1000 kg/m3 ส่วนในระบบอังกฤษ มีค่า เท่ากับ 1.94 slug/ft3 1.3.3 ความถ่วงจําเพาะ (specific gravity, S) = C o 4ของนํ้าที่)าแน่นหรือความหน(พาะนํ้าหนักจําเ ของวัตถุ)าแน่นหรือความหน(พาะนํ้าหนักจําเ = m w γ γ หรือ m w ρ ρ ความหนาแน่นของนํ้ามีค่าเท่ากับ 1.0 1.3.4 ความหนืด (viscosity) เกิดจากการเกาะกันระหว่างโมเลกุลชนิดเดียวกันของของเหลว (cohesive) แล้วก่อให้เกิดความต้านทานต่อการไหลขึ้น โดยปกติความหนืดของของไหลจะลดลง เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ความหนืดมี 2 ชนิด คือ วิศวกรรมชลศาสตร์ หน้า 5
  • 6. 1. ความหนืดพลวัตหรือความหนืดสมบูรณ์ (dynamic or absolute viscosity, ) หรือ  = ที่เกิดขึ้นในเนื้อของเหลวที่มีการไหล หรือ = dy/du  มี หน่วยเป็น (N-s) / m2 ในระบบ SI และ (lb-s) / ft2 ในระบบอังกฤษ 2. ความหนืดจลน์ (kinematic viscosity, )  = =   มีหน่วยเป็น m2 /s ในระบบ SI และ ft2 /s ใน ระบบอังกฤษ 1.3.5 ความดันไอ (vapor pressure) หรือความดันที่ของเหลวกลายเป็นไอ คือความดันที่เกิดจาก อนุภาคของของเหลวในรูปไออิ่มตัว (saturated vapor) เหนือผิวหน้าของเหลวที่อุณหภูมิที่กําหนดให้ เกิดขึ้นเมื่อของเหลวอยู่ในภาชนะปิด โมเลกุลที่ระเหยจากผิวหน้าของเหลวไม่สามารถออกจากภาชนะได้ และจะรวมกันอยู่ในภาชนะเหนือผิวหน้าของเหลว ทําให้เกิดความดัน เมื่ออัตราการระเหยเท่ากับอัตราการ ควบแน่น ความดันไอที่วัดได้เรียกว่า ความดันไอสมดุล (equilibrium vapor pressure) เรียกสั้น ๆ ว่า ความ ดันไอ โดยปกติค่าความดันไอจะเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิของของเหลวที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังขึ้นอยู่กับแรง ดึงดูดระหว่างโมเลกุลของของเหลว ของเหลวใดมีแรงดึงดูดหรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยความ ดันไอก็จะสูง ส่วนของเหลวใดที่มีแรงดึงดูดหรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากความดันไอก็จะตํ่า เช่น นํ้ามีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากกว่าเอทานอล ดังนั้น นํ้าจึงมีความดันไอตํ่ากว่าเอทานอลที่อุณหภูมิ เดียวกัน 1.3.6 ความดันบรรยากาศมาตรฐาน (standard atmospheric pressure, Patm) คือ ความดันเฉลี่ย ของบรรยากาศวัดที่ระดับนํ้าทะเลปานกลาง (mean sea level) มีค่าดังที่แสดงในตารางที่ 1.5 1.3.7 ความดันมาตรหรือความดันเกจ (gauge pressure, Pg ) คือ ค่าความดันที่อ่านเทียบจากค่า ความดันบรรยากาศ โดยให้ค่าความดันบรรยากาศทุก ๆ ที่มีค่าเป็นศูนย์( 0) เช่น ค่าความดันลมยางของล้อ รถ เป็นต้น 1.3.8 ความดันสมบูรณ์ (absolute pressure, Pabs ) คือ ความดันที่วัดเทียบกับค่าที่เป็นศูนย์ตาม สมการ Pabs = Patm  Pg เมื่อ Pg = ค่าความดันที่อ่านได้จากเกจ (gauge pressure) ซึ่งอาจมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ Patm = ค่าความดันบรรยากาศ หน้า 6 บทที่ 1 พื้นฐานวิศวกรรมชลศาสตร์ . ความเค้นเฉือน (shear stress) อัตราความเครียด (srain rate)
  • 7. ตารางที่ 1.5 ปริมาณและคุณสมบัติที่สําคัญ ปริมาณ ระบบหน่วย SI ระบบหน่วยอังกฤษ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ความหนาแน่นของนํ้า (39.4 F, 4 C) นํ้าหนักจําเพาะของนํ้า (50 F, 15 C) ความดันบรรยากาศมาตรฐาน ที่ระดับนํ้าทะเลปานกลาง 9.81 m/s2 1000 kg/m3 = 1 g/cm3 or 1.0 mg/m3 ~ 9810 N/m3 or 9.81 kN/m3 101.32 kN/m2 , abs 760 mm Hg 10.33 m H2O 1013.2 millibars 32.2 ft/s2 1.94 slug/ft3 = 1.94 lb. ft2 s-4 62.4 lb/ft3 14.7 psia 29.92 in, Hg 33.9 ft H2O ตารางที่ 1.6 คุณสมบัติของนํ้าในระบบหน่วย SI อุณหภูมิ C นํ้าหนัก จําเพาะ  kN/m3 ความ หนาแน่น  kg/ m3 ความหนืด พลวัตหรือ ความหนืด สมบูรณ์   10-3 N-s /m2 ความหนืด จลน์   10-6 m2 /s ความร้อน ของการ กลายเป็น ไอ J/gm ความดัน ไอ PV kN/m2 ,abs หัวความ ดันไอ PV /  m (abs) มอดุลัส ของ ความ ยืดหยุ่น EV  106 kN/m2 0 5 10 15 20 25 30 40 50 60 70 80 90 100 9.805 9.807 9.804 9.798 9.789 9.777 9.764 9.730 9.689 9.642 9.589 9.530 9.466 9.399 999.8 1000.0 999.7 999.1 998.2 997.0 995.7 992.2 988.0 983.2 977.8 971.8 965.3 958.4 1.792 1.518 1.307 1.139 1.002 0.890 0.798 0.653 0.547 0.466 0.404 0.354 0.315 0.282 1.792 1.519 1.306 1.139 1.003 0.893 0.800 0.658 0.553 0.474 0.413 0.364 0.326 0.294 2500.3 2488.6 2476.9 2465.1 2453.0 2441.3 2429.6 2405.7 2381.8 2357.6 2333.3 2308.2 2282.6 2256.7 0.61 0.87 1.13 1.60 2.34 3.17 4.24 7.38 12.33 19.92 31.16 47.34 70.10 101.33 0.06 0.09 0.12 0.17 0.25 0.33 0.44 0.76 1.26 2.03 3.20 4.96 7.18 10.33 2.02 2.06 2.10 2.15 2.18 2.22 2.25 2.28 2.29 2.28 2.25 2.20 2.14 2.07 วิศวกรรมชลศาสตร์ หน้า 7
  • 8. ตารางที่ 1.7 คุณสมบัติของนํ้าในระบบหน่วยอังกฤษ อุณหภูมิ F นํ้าหนัก จําเพาะ  lb/ft3 ความ หนาแน่น  slugs/ft3 ความหนืด พลวัตหรือ ความหนืด สมบูรณ์   10-5 lb-s/ft2 ความหนืด จลน์   10-5 ft2 /s ความร้อน ของการ กลายเป็น ไอ btu/lb ความดัน ไอ PV psi (abs) หัวความ ดันไอ PV /  ft (abs) มอดุลัส ของความ ยืดหยุ่น EV  103 psi 32 40 50 60 80 90 100 120 140 160 180 200 212 62.42 62.43 62.41 62.37 62.22 62.11 62.00 61.71 61.38 61.00 60.58 60.12 59.83 1.940 1.940 1.940 1.938 1.934 1.931 1.927 1.918 1.908 1.896 1.883 1.868 1.860 3.746 3.229 2.735 2.359 1.799 1.595 1.424 1.168 0.981 0.838 0.726 0.637 0.593 1.931 1.664 1.410 1.217 0.930 0.826 0.739 0.609 0.514 0.442 0.385 0.341 0.319 1075.5 1071.0 1065.3 1059.7 1048.4 1042.7 1037.1 1025.6 1014.0 1002.2 990.2 977.9 970.3 0.09 0.12 0.18 0.26 0.51 0.70 0.95 1.69 2.89 4.74 7.51 11.52 14.70 0.20 0.28 0.41 0.59 1.17 1.61 2.19 3.91 6.67 10.95 17.33 26.59 33.90 293 294 305 311 322 323 327 333 330 326 318 308 300 1.4 แรงที่เกิดจากของเหลว แรงหรือนํ้าหนัก ( force or weight, F or W ) = มวล  ความเร่ง หรือ F or W = mg ในระบบ SI มีหน่วยเป็น kg-m/s2 หรือนิวตัน (Newton) และใช้อักษรย่อว่า N โดยแรง 1 N มีค่า เท่ากับมวล 1 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 1 m/s2 หรือ 1 N = 1 kg  1 m /s2 ส่วนในระบบอังกฤษมีหน่วยเป็น ปอนด์ (pound) ใช้อักษรย่อ lb แรงที่เกิดจากของเหลวสามารถวิเคราะห์ได้ 2 กรณี คือ แรงที่ดันสถิตเกิดขึ้นขณะของเหลวไม่ มีการไหลและแรงที่ขณะของเหลวมีการไหล หน้า 8 บทที่ 1 พื้นฐานวิศวกรรมชลศาสตร์ .
  • 9. 1.4.1 แรงที่เกิดขึ้นขณะของเหลวไม่มีการไหล 1. ความดัน (pressure, P) คือ แรงหรือนํ้าหนักต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ หน่วยวัดความดัน ในระบบ SI คือ N/m2 (นิวตันต่อตารางเมตร) ซึ่งมีชื่อเรียกใหม่ว่า ปาสกาล (Pascal) และใช้ตัวย่อว่า Pa ระบบอังกฤษ หน่วยเป็น lb/ft2 (ปอนด์/ต่อตารางฟุต) หรือ lb/in2 (ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) หลักการ : 1. ความดันมีค่าแปรผันตามความลึก (P  h หรือ y) 2. ความดันและแรงดันจะกระทําตั้งฉากกับพื้นที่ที่รับแรงเสมอ 3. แรงลัพธ์ที่เกิดจากความดันบนพื้นที่ใด ๆ มีค่าเท่ากับปริมาตรของปริซึมความดัน (ก) ไดอะแกรมความดันบนระนาบแนวดิ่ง (ข) ปริซึมความดัน (ค) ระนาบแนวนอน (ง) ระนาบแนวดิ่ง (จ) ระนาบเอียง รูปที่ 1.1 ไดอะแกรมความดันและปริซึมความดันบนระนาบตรงที่จมอยู่ในของเหลว hcp FR h/3 h h cp. h b h h/3 FR c. of pressure prism P = h P = h1 1 F = hA c. and c.p.of A h1 h2 c. of pressure prism c. of A c.p. of A P = h1 1 P = h2 2F c. of pressure prism P = h1 1 h1 h2 F c. of A c.p. ofA h วิศวกรรมชลศาสตร์ หน้า 9
  • 10. ความดันที่จุดใด ๆ ในเนื้อของเหลวมีค่าเท่ากับ A W หรือ A F = พื้นที่ เหลวหนักของของแรงหรือนํ้า หรือเท่ากับนํ้าหนักจําเพาะของของเหลวคูณกับความลึกจากผิวอิสระถึงจุดความลึกนั้น นั่นคือ p =  h (1.1) เมื่อ P = ความดันใต้ผิวของของเหลวลึก h (N/m2 , lb/ft2 )  = นํ้าหนักจําเพาะของของเหลว (N/m3 , lb/ft3 ) h = ระดับความลึก ณ จุดใด ๆ ที่พิจารณาในแนวดิ่ง (m, ft) 2. แรงดันที่ของเหลวกระทําต่อระนาบที่จมบางส่วน (ก) ระนาบเอียง (ข) ระนาบโค้ง รูปที่ 1.2 แรงดันที่ของเหลวกระทําต่อระนาบสามารถแยกเป็นแรงย่อย 2 แรงตั้งฉากกัน (อ้างอิง 19) หน้า 10 บทที่ 1 พื้นฐานวิศวกรรมชลศาสตร์ .