SlideShare a Scribd company logo
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
9.1 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล
9.1.1 คุณสมบัติของของไหล
ของไหลที่อยู่คงที่จะมีคุณสมบัติไม่เปลี่ยนแปลง ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ซึ่งจะทาให้
เปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดัน จะไม่ขอกล่าวถึงวัสดุหรือสสารทุกชนิดจับกับเป็นรูปทรงได้ เนื่องจากเนื้อวัสดุ
หรือมวลเกาะยึดกันแน่น ยิ่งมีจานวนมวลของวัสดุมาก การเกาะก็ยิ่งมากตามไปด้วย แต่ถ้าแยกการเกาะยึดออกจากกัน
หมายถึงทาให้วัสดุนั้นแยกห่างขาดออกจากกัน
ของไหล ( Fluid ) หมายถึง วัสดุหรือสสารที่สามารถไหลได้ โดยมีรูปร่างที่เปลี่ยนแปลงไปได้ตามภาชนะที่
บรรจุ ของไหลไม่สามารถรับแรงเฉือนได้ไม่ว่าจะมีขนาดเท่าใดก็ตาม และยุบตัวตามความกดดันได้เล็กน้อย
ของไหล แบ่งออกได้ 3 ชนิดคือ
1. ของไหลที่ไม่มีการยุบตัวตามความดัน ซึ่งหมายถึงของไหลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตร ถึงแม้ว่าจะมีความ
ดันเปลี่ยนแปลง
2. ของเหลวที่สามารถยุบตัวได้ตามความเปลี่ยนแปลงความดัน หมายถึง แก๊สที่เปลี่ยนแปลงปริมาตรได้
3. แก๊สที่ได้รับความร้อนเพิ่มขึ้น จะทาให้แก๊สนั้นเพิ่มปริมาตรและความดันด้วย
ความหนาแน่น ( Density ) ใช้อักษรกรีก ρ ( Rho อ่าน โร ) เป็นสัญลักษณ์แทนลักษณะเฉพาะของสสาร
ชนิดหนึ่ง ๆ ซึ่งสามารถแสดงคุณสมบัติทางกายภาพของตัวมันเองได้ ซึ่งหมายถึงปริมาณของมวลสารต่อหนึ่ง
หน่วยปริมาตร
ρ =
v
m
เมื่อ ρ = ความหนาแน่นของสาร ( kg/m3
)
m = มวลของสาร ( kg )
v = ปริมาตรของสาร ( m3
)
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
เราสามารถพิจารณาค่าความหนาแน่นของสารที่เป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ บางชนิดได้ ดังตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 9.1 แสดงความหนาแน่นของของแข็งและของเหลวบางชนิด
ชื่อสาร ความหนาแน่นที่ O
c ( kg/m3
)
ปรอท
ตะกั่ว
ทองแดง
เหล็ก
อลูมิเนียม
คอนกรีต ( 1 : 2 : 4 )
น้ามันก๊าด
แอลกอฮอล์ ( เมทานอล )
น้ามันเบนซิน
13550
11290
8920
7860
2700
1900 – 2300
820
790
690
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหา ความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตารางที่ 9.2 แสดงความหนาแน่นของของก๊าซบางชนิด
ชื่อสาร ความหนาแน่นที่ O
c และ
ความดันบรรยากาศ ( kg/m3
)
คาร์บอนไดออกไซด์
อาร์กอน
ออกซิเจน
อากาศ
อะเซทิลีน
บิวเทน
มีเทน
โพรเพน
1977
1784
1429
1293
0.6181 ( -32
c )
0.6012
0.5788 ( 20
c )
0.5547
0.5005 (20
c )
หมายเหตุ ความหนาแน่นของก๊าซเป็นความหนาแน่นที่ O
c และความดันบรรยากาศ ยกเว้นกรณีที่ระบุ
อุณหภูมิเป็นอย่างอื่น
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ในการบอกความหนาแน่นของวัตถุต้องกาหนดอุณหภูมิด้วย เนื่องจากโดยทั่ว ๆ ไปแล้ววัตถุจะเกิดการขยายตัว
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ดังนั้น ปริมาตรของวัตถุก้อนเดียวกัน เมื่อวัดที่อุณหภูมิสูงจะมีค่ามากกว่า เมื่อวัดที่อุณหภูมิต่า
หน่วยของความหนาแน่น
ระบบอังกฤษ ระบบ SI
m ( มวล ) ugs kg
v ( ปริมาตร ) 3
ft m3
ρ ( ความหนาแน่น) ugs / 3
ft kg/m3
หมายเหตุ 1 slug = 1 lb.sec /ft
ρ ของน้า = 1.937/ 3
ft = 1000 kg/m3
น้าหนักจาเพาะ ( Specific Weight ) หมายถึง แรงดึงดูดของโลกที่กระทาต่อมวลสารต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ใช้
อักษรกรีก γ อ่าน แกมม่า
น้าหนักจาเพาะ (γ ) =
v
W
ปริมาตร
น้าหนัก

W = mg
γ = 3
m/N
v
mg
ปริมาตร
อัตราเร่งมวล


γ = น้าหนักจาเพาะ
W = น้าหนัก
v = ปริมาตร
g = อัตราเร่ง เนื่องจากแรงดึงดูดของโลก
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
หน่วยของน้าหนักจาเพาะ
ระบบอังกฤษ ระบบ SI
w ( น้าหนัก ) 1b N
v ( ปริมาตร ) 3
ft m3
γ ( น้าหนักจาเพาะ) lb/ 3
ft N/m3
ความสัมพันธ์ระหว่างความหนาแน่น และน้าหนักจาเพาะ
ρ =
g
γ
หรือ γ = ρg
เมื่อ ρ = ความหนาแน่น
γ = น้าหนักจาเพาะ
g = อัตราเร่ง เนื่องจากแรงดึงดูดของโลก
ปริมาตรจาเพาะ ( Specific Volume ) หมายถึง ปริมาตรต่อหนึ่งหน่วยมวลสาร
ปริมาตรจาเพาะ ( sV ) =
m
V
มวล
ปริมาตร
 m3
/ kg
sV = ปริมาตรจาเพาะ
v = ปริมาตรมีระบบ SI หน่วยเป็น m3
ระบบอังกฤษ หน่วยเป็น 3
ft
m = มวล ระบบ SI หน่วยเป็น kg
ระบบอังกฤษ หน่วยเป็น m
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ความถ่วงจาเพาะ ( Specific Gravity ) หมายถึง อัตราส่วนของมวลสารต่อมวลของน้าที่มีปริมาตรเท่ากัน ซึ่งตัวเลข
ที่ใช้แสดงค่าสสารนั้นมีน้าหนักเบากว่าน้าเป็นกี่เท่า
ความถ่วงจาเพาะ ( s ) =
มวลของน้า
มวลของสาร
เมื่อมีปริมาตรเท่ากัน
=
น้า
สาร
m
m
เมื่อ v เท่ากัน
S =
น้า
สาร
m
m
=
น้า
สาร
ρ
ρ
=
น้า
สาร
γ
γ
S =
น้า
สาร
ρ
ρ
เมื่อ S = ความถ่วงจาเพาะ
สารρ = ความหนาแน่นของสาร kg/m3
น้าρ = ความหนาแน่นของน้าที่ 4
c
( 1000 kg/m3
)
ความถ่วงจาเพาะของของเหลว อาจใช้เครื่องมือวัด ซึ่งเรียกว่า ไฮโดรมิเตอร์ วัดได้
ตัวอย่างที่ 9.1 ถังน้าหนัก 3 m3
มีมวล 950 kg จงหา
ก. ความหนาแน่น
ข. น้าหนักจาเพาะ
ค. ปริมาตรจาเพาะ
ง. ความถ่วงจาเพาะ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
วิธีทา ก. ความหนาแน่น ρ =
v
m
m = 950 kg
v = 3 m3
ρ =
3
950
= 316.67 kg/m3
∴ ความหนาแน่นจาเพาะ = 316.67 kg/m3
ตอบ
ข. น้าหนักจาเพาะ γ =
v
mg
v
m
= ρ
γ = ρ g
ρ = 316.67 kg/m3
g = 9.81 m/ sec2
แทนค่า γ = 316.679.81 = 3106.50 kg/m2
sec2
แต่ 1 N = 1 kg m/ sec2
∴ γ = 3106.53 N/m3
∴น้าหนักจาเพาะ = 3106.53 N/m3
ตอบ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ค. ปริมาตรจาเพาะ ( sV ) =
m
v
v = 3 m3
m = 950 kg
แทนค่า sV =
950
3
sV = 0.0032 kg/m3
∴ ปริมาตรจาเพาะ = 0.0032 kg/m3
ตอบ
ง. ความถ่วงจาเพาะ ( s )
s =
น้า
สาร
ρ
ρ
สารρ = 950 kg/m3
น้าρ = 1000 kg/m3
แทนค่า s =
1000
950
s = 0.95
∴ ความถ่วงจาเพาะ = 0.95 ตอบ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหา ความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 9.2 น้ามันชนิดหนึ่งมีความถ่วงจาเพาะ 0.90 ปริมาตร 3 m3
จงหาน้าหนักของน้ามันจานวนดังกล่าว
วิธีทา ความถ่วงจาเพาะ ( s )
S =
น้า
สาร
γ
γ
S = 0.90
γ ของน้า = 9.81 kN/m3
( น้า 1000 ลิตร = 1 m3
. และ γ น้า = 9.81 kN/m3
)
แทนค่า 0.9 = 3
สาร
1081.9 
γ
สารγ = 0.9 3
1081.9 
น้าหนักของน้ามัน = vγ น้ามัน 
= 0.9 31081.9 3
∴ น้าหนักของน้ามัน = 26487 kg ตอบ
9.1.2 ความดันของของเหลว
การที่ของเหลวสามารถไหลหรือพุ่งออกจากภาชนะตามรอยรั่ว หรือตามรูต่าง ๆ ได้ เป็นเพราะของเหลวมี
ความดัน นั้นหมายถึงจะต้องมีแรงกระทาต่อน้าที่อยู่ในภาชนะนั้น เมื่อภาชนะมีรูเปิดแรงดันจะดันให้น้าพุ่งออกมา และ
จะมีทิศทางตั้งฉากกับผนังของภาชนะเสมอไม่ว่าผนังภาชนะจะอยู่แนวใด ถ้าเราปิดรู แรงกระทาก็ยังมีอยู่เช่นเดิม
ตลอดเวลา โดยจะกระทาต่อผนังภาชนะทุกส่วนที่สัมผัส ของเหลวและทิศทางตั้งฉากกับผนังนั้น ๆ เรียกขนาดของแรง
ในของเหลวที่กระทาตั้งฉากต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ผนังของภาชนะนี้ว่า ความดันในของเหลว
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
พิจารณาของแรงที่กระทาต่อผนังภาชนะและต่อวัตถุที่จมอยู่ในของเหลว
รูปที่ 9.1 แสดงทิศของแรงที่กระทาต่อผนังภาชนะและต่อวัตถุที่จมอยู่ในของเหลว
9.1.3 หน่วยวัดความดันของของเหลว
นักวิทยาศาสตร์ได้ให้นิยามว่า ความดัน คือ อัตราส่วนระหว่างแรงกับพื้นที่ที่ตั้งฉากกับแรงกระทา นั่นคือ
P =
A
F
หรือ F = PA
เมื่อ P = ความดันที่เกิดจากของเหลวกระทาบนพื้นที่
( N/m3
หรือ Pa ; ปาสคัล )
F = แรงที่ของเหลวกระทาตั้งฉากบนพื้นที่ A ( N )
A = พื้นที่ ( m2
)
ความดัน 1 N หรือ 1 Pa ( ปาสคัล ) เป็นความดันที่มีค่าน้อยมาก ความดันที่ใช้ในงานช่างส่วนใหญ่มีค่า
มากกว่า 105
ปาสคัล ดังนั้น จึงได้มีการกาหนดหน่วยของความดันขึ้นมา อีกหน่วยหนึ่งคือ บาร์
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
โดยกาหนดว่า 1 bar = 105
Pa = 105
N/m2
ความดันเป็นคุณสมบัติอย่างหนึ่งของของไหล ซึ่งมีกาหนดว่า
1. ในระดับเดียวกันความดันของของไหลจะเท่ากันทุกจุด
2. ความดันที่เกิดขึ้นจะมีค่าเท่ากันทุกทิศทาง
3. ความดันจะกระทาตั้งฉากกับผิวของภาชนะที่บรรจุ
ดังนั้น ความดันของของเหลว จะเท่ากับน้าหนักตัวเองต่อพื้นที่ที่กระทาอยู่นั่นเอง
จาก P =
A
F
F = ความหนาแน่น (ρ)ความเร่ง (g)พื้นที่ (A) ความสูง (h)
P =
A
gAhρ
N/m2
P = ghρ N/m2
หรือ P = γ h N/m2
ตัวอย่างที่ 9.3 จงหาความดันที่ก้นขวดแก้วขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 cm มีของเหลวอยู่สูง 60 cm.
ก. เมื่อของเหลวคือน้า
ข. เมื่อของเหลวคือปรอท
โดยกาหนดความหนาแน่นของน้า = 1000 kg/m3
และของปรอท 13500 kg/m3
, g = 9.81 m/s2
ก. น้า สูตร P = ghρ
ρ = 1000 kg/m3
g = 9.81 m/s2
h = 60 cm ( ทาเป็น m 100 )
=
100
60
= 0.6 m
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
แทนค่า P = 1000 6.081.9  m
s
m
m
kg
23 
P = 5886 N/m2
 ความดันของน้า = 5886 N/m2
ตอบ
ข. ปรอท สูตร P = ghρ
ρ = 13500 kg/m3
g = 9.81 m/s2
h = 60 cm ( ทาให้เป็น m 100 )
= 0.6 m
แทนค่า P = 13500 6.081.9  m
m
m
kg
23 s

P = 79461 N/m2
 ความดันของปรอท = 79461 N/m2
ตอบ
h =
g

วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
9.1.4 คานวณหาความดันของเหลว
กาหนดให้
P1 = ความดันที่ผิวของของเหลว ( N/m3
)
P2 = ความดันที่ความสูงระดับหนึ่ง ( N/m3
)
h = ระยะจากผิวของของเหลวถึง P2 ( m )
ρ = ความหนาแน่นของของเหลว ( kg/m3
)
รูป แสดงความสัมพันธ์ของ g = 9.81  10 m/s2
ความดัน กับความสูง
จากสูตร P1 - P2 = ghρ N/m3
ในกรณีที่ของเหลวบรรจุอยู่ในภาชนะที่ด้านหนึ่งเปิดสู่บรรยากาศ
ดังนั้น P1 = 0
P = ghρ
ตัวอย่างที่ 9.4 ถังเก็บน้าประปาแห่งหนึ่งสูงจากพื้นดินถึงก้นถึง 30 ม. ความสูงของน้าในถัง 2 ม. ประตูน้าที่วางอยู่
บนพื้นดินจะต้องรับความกดดันเท่าใด
วิธีทา ρ น้า = 1000 kg/m3
h = 30 + 2 = 32 m
g = 9.81 m/ s2
ρ = ghρ
= 1000 3281.9  N/m2
= 3139
= 3.139 bar
 จะต้องรับความกดดัน = 3.139 bar ตอบ
P = ghρ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 9.5 ถังปิดใบหนึ่งบรรจุเบนซินไว้ โดยที่ความกดดันที่ผิวของเบนซินมีค่า 69 kPa คานวณหา ความกดดัน
ที่ระดับ 5 m จากผิวลงมา ( เบนซินมีความหนาแน่น=700 kg/m3
)
วิธีทา ρ = 700 kg/m3
1ρ = 69 kPa
h = 5 m
2ρ - 1ρ = ghρ
2ρ - 69 = 700 581.9 
2ρ = 34335 + 69 kPa
= 34404 kPa
 ความดันที่ระดับ 5 m = 34404 kPa ตอบ
ตัวอย่างที่ 9.6 จงหาแรงดันที่น้ากระทาต่อพื้นที่สี่เหลี่ยม ก ข ค ง
จากสูตร ถังเปิด P = ghρ
วิธีทา ρ น้า = 1000 kg/m3
, g = 9.81  10 m/s2
h = 8 + 1 = 9 cm = 0.09 m
ρ = 1000 09.010
= 900 N/m2
ก
ง ∴แรงดันน้าที่กระทาต่อ = ก ข ค ง
= P A
= 900 0.02 0.02
= 0.36 N.
∴ แรงดันน้าที่กระทาต่อ = ก ข ค ง = 0.36 N. ตอบ
ข
ขค
ข
2
ข
2
ข
2
ข

More Related Content

What's hot

ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1luanrit
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
ของไหล
ของไหลของไหล
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหลพลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล
Satit Originator
 
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียนแบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียนsomchao
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
lOOPIPER
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
9789740332831
97897403328319789740332831
9789740332831
CUPress
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
Chakkrawut Mueangkhon
 
Ass6
Ass6Ass6

What's hot (20)

ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหลพลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล
 
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียนแบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ของไหล ม.5
ของไหล ม.5ของไหล ม.5
ของไหล ม.5
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
9789740332831
97897403328319789740332831
9789740332831
 
ใบความรู้ 2
ใบความรู้ 2ใบความรู้ 2
ใบความรู้ 2
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 
Sci30203-Pressure
Sci30203-PressureSci30203-Pressure
Sci30203-Pressure
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
Ass6
Ass6Ass6
Ass6
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

Viewers also liked

Video Sharing: From marketing messages to stakeholder engagement
Video Sharing: From marketing messages to stakeholder engagementVideo Sharing: From marketing messages to stakeholder engagement
Video Sharing: From marketing messages to stakeholder engagement
TwoBees: Digital Media Training & Consultancy
 
5 λογοι για να επισκεφθεις την ελλαδα
5 λογοι για να επισκεφθεις την ελλαδα5 λογοι για να επισκεφθεις την ελλαδα
5 λογοι για να επισκεφθεις την ελλαδα
5ο Γυμνάσιο Ξάνθης
 
20130426patagonia_symposium_oceanconservation
20130426patagonia_symposium_oceanconservation20130426patagonia_symposium_oceanconservation
20130426patagonia_symposium_oceanconservationsurfriderjapan
 
Content mechanism
Content  mechanismContent  mechanism
Content mechanismjirupi
 
Electronics Tester
Electronics TesterElectronics Tester
Electronics TesterKyle Waste
 
ความแข็งแรง3 1
ความแข็งแรง3 1ความแข็งแรง3 1
ความแข็งแรง3 1Pannathat Champakul
 
D8 dispatcher / subscriber
D8 dispatcher / subscriberD8 dispatcher / subscriber
D8 dispatcher / subscriber
joshirohit100
 
ความแข็งแรง8 1
ความแข็งแรง8 1ความแข็งแรง8 1
ความแข็งแรง8 1Pannathat Champakul
 
Shared decision making: Changing the relationship between doctor and patient
Shared decision making: Changing the relationship between doctor and patientShared decision making: Changing the relationship between doctor and patient
Shared decision making: Changing the relationship between doctor and patient
Markus Oei
 
History ukraine2017
History ukraine2017History ukraine2017
History ukraine2017
sergius3000
 
Урок-свято «Прощавай перший клас” у 1-Б класі. Вчитель Олійник А.М.
Урок-свято «Прощавай перший клас” у 1-Б класі. Вчитель Олійник А.М.Урок-свято «Прощавай перший клас” у 1-Б класі. Вчитель Олійник А.М.
Урок-свято «Прощавай перший клас” у 1-Б класі. Вчитель Олійник А.М.
Tetiana Taranchuk
 
RELATIONSHIP BETWEEN FOREIGN DIRECT INVESTMENT AND ECONOMIC GROWTH, CASE STUD...
RELATIONSHIP BETWEEN FOREIGN DIRECT INVESTMENT AND ECONOMIC GROWTH, CASE STUD...RELATIONSHIP BETWEEN FOREIGN DIRECT INVESTMENT AND ECONOMIC GROWTH, CASE STUD...
RELATIONSHIP BETWEEN FOREIGN DIRECT INVESTMENT AND ECONOMIC GROWTH, CASE STUD...giorgi lomidze
 
Báo cáo thực tập ngành may xây dựng quy trình sản xuất áo jacket
Báo cáo thực tập ngành may   xây dựng quy trình sản xuất áo jacketBáo cáo thực tập ngành may   xây dựng quy trình sản xuất áo jacket
Báo cáo thực tập ngành may xây dựng quy trình sản xuất áo jacket
TÀI LIỆU NGÀNH MAY
 
ABC2016 Spring: Mobile App UX & Design Sprint
ABC2016 Spring: Mobile App UX & Design SprintABC2016 Spring: Mobile App UX & Design Sprint
ABC2016 Spring: Mobile App UX & Design Sprint
Nobuya Sato
 

Viewers also liked (20)

CHARLES-CV-REF
CHARLES-CV-REFCHARLES-CV-REF
CHARLES-CV-REF
 
Video Sharing: From marketing messages to stakeholder engagement
Video Sharing: From marketing messages to stakeholder engagementVideo Sharing: From marketing messages to stakeholder engagement
Video Sharing: From marketing messages to stakeholder engagement
 
5 λογοι για να επισκεφθεις την ελλαδα
5 λογοι για να επισκεφθεις την ελλαδα5 λογοι για να επισκεφθεις την ελλαδα
5 λογοι για να επισκεφθεις την ελλαδα
 
20130426patagonia_symposium_oceanconservation
20130426patagonia_symposium_oceanconservation20130426patagonia_symposium_oceanconservation
20130426patagonia_symposium_oceanconservation
 
Content mechanism
Content  mechanismContent  mechanism
Content mechanism
 
Css
CssCss
Css
 
Electronics Tester
Electronics TesterElectronics Tester
Electronics Tester
 
ความแข็งแรง3 1
ความแข็งแรง3 1ความแข็งแรง3 1
ความแข็งแรง3 1
 
8 2
8 28 2
8 2
 
D8 dispatcher / subscriber
D8 dispatcher / subscriberD8 dispatcher / subscriber
D8 dispatcher / subscriber
 
Acheivements
AcheivementsAcheivements
Acheivements
 
ความแข็งแรง8 1
ความแข็งแรง8 1ความแข็งแรง8 1
ความแข็งแรง8 1
 
Shared decision making: Changing the relationship between doctor and patient
Shared decision making: Changing the relationship between doctor and patientShared decision making: Changing the relationship between doctor and patient
Shared decision making: Changing the relationship between doctor and patient
 
History ukraine2017
History ukraine2017History ukraine2017
History ukraine2017
 
Урок-свято «Прощавай перший клас” у 1-Б класі. Вчитель Олійник А.М.
Урок-свято «Прощавай перший клас” у 1-Б класі. Вчитель Олійник А.М.Урок-свято «Прощавай перший клас” у 1-Б класі. Вчитель Олійник А.М.
Урок-свято «Прощавай перший клас” у 1-Б класі. Вчитель Олійник А.М.
 
RELATIONSHIP BETWEEN FOREIGN DIRECT INVESTMENT AND ECONOMIC GROWTH, CASE STUD...
RELATIONSHIP BETWEEN FOREIGN DIRECT INVESTMENT AND ECONOMIC GROWTH, CASE STUD...RELATIONSHIP BETWEEN FOREIGN DIRECT INVESTMENT AND ECONOMIC GROWTH, CASE STUD...
RELATIONSHIP BETWEEN FOREIGN DIRECT INVESTMENT AND ECONOMIC GROWTH, CASE STUD...
 
2 2
2 22 2
2 2
 
9.gitar program3
9.gitar program39.gitar program3
9.gitar program3
 
Báo cáo thực tập ngành may xây dựng quy trình sản xuất áo jacket
Báo cáo thực tập ngành may   xây dựng quy trình sản xuất áo jacketBáo cáo thực tập ngành may   xây dựng quy trình sản xuất áo jacket
Báo cáo thực tập ngành may xây dựng quy trình sản xuất áo jacket
 
ABC2016 Spring: Mobile App UX & Design Sprint
ABC2016 Spring: Mobile App UX & Design SprintABC2016 Spring: Mobile App UX & Design Sprint
ABC2016 Spring: Mobile App UX & Design Sprint
 

Similar to 9 1 (8)

3 3
3 33 3
3 3
 
9 2
9 29 2
9 2
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
9 3
9 39 3
9 3
 
Problem1363
Problem1363Problem1363
Problem1363
 
Sc1362
Sc1362Sc1362
Sc1362
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
5 2
5 25 2
5 2
 

More from Pannathat Champakul

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
Pannathat Champakul
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

Recently uploaded

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

9 1

  • 1. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน 9.1 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล 9.1.1 คุณสมบัติของของไหล ของไหลที่อยู่คงที่จะมีคุณสมบัติไม่เปลี่ยนแปลง ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ซึ่งจะทาให้ เปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดัน จะไม่ขอกล่าวถึงวัสดุหรือสสารทุกชนิดจับกับเป็นรูปทรงได้ เนื่องจากเนื้อวัสดุ หรือมวลเกาะยึดกันแน่น ยิ่งมีจานวนมวลของวัสดุมาก การเกาะก็ยิ่งมากตามไปด้วย แต่ถ้าแยกการเกาะยึดออกจากกัน หมายถึงทาให้วัสดุนั้นแยกห่างขาดออกจากกัน ของไหล ( Fluid ) หมายถึง วัสดุหรือสสารที่สามารถไหลได้ โดยมีรูปร่างที่เปลี่ยนแปลงไปได้ตามภาชนะที่ บรรจุ ของไหลไม่สามารถรับแรงเฉือนได้ไม่ว่าจะมีขนาดเท่าใดก็ตาม และยุบตัวตามความกดดันได้เล็กน้อย ของไหล แบ่งออกได้ 3 ชนิดคือ 1. ของไหลที่ไม่มีการยุบตัวตามความดัน ซึ่งหมายถึงของไหลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตร ถึงแม้ว่าจะมีความ ดันเปลี่ยนแปลง 2. ของเหลวที่สามารถยุบตัวได้ตามความเปลี่ยนแปลงความดัน หมายถึง แก๊สที่เปลี่ยนแปลงปริมาตรได้ 3. แก๊สที่ได้รับความร้อนเพิ่มขึ้น จะทาให้แก๊สนั้นเพิ่มปริมาตรและความดันด้วย ความหนาแน่น ( Density ) ใช้อักษรกรีก ρ ( Rho อ่าน โร ) เป็นสัญลักษณ์แทนลักษณะเฉพาะของสสาร ชนิดหนึ่ง ๆ ซึ่งสามารถแสดงคุณสมบัติทางกายภาพของตัวมันเองได้ ซึ่งหมายถึงปริมาณของมวลสารต่อหนึ่ง หน่วยปริมาตร ρ = v m เมื่อ ρ = ความหนาแน่นของสาร ( kg/m3 ) m = มวลของสาร ( kg ) v = ปริมาตรของสาร ( m3 )
  • 2. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน เราสามารถพิจารณาค่าความหนาแน่นของสารที่เป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ บางชนิดได้ ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 9.1 แสดงความหนาแน่นของของแข็งและของเหลวบางชนิด ชื่อสาร ความหนาแน่นที่ O c ( kg/m3 ) ปรอท ตะกั่ว ทองแดง เหล็ก อลูมิเนียม คอนกรีต ( 1 : 2 : 4 ) น้ามันก๊าด แอลกอฮอล์ ( เมทานอล ) น้ามันเบนซิน 13550 11290 8920 7860 2700 1900 – 2300 820 790 690
  • 3. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหา ความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน ตารางที่ 9.2 แสดงความหนาแน่นของของก๊าซบางชนิด ชื่อสาร ความหนาแน่นที่ O c และ ความดันบรรยากาศ ( kg/m3 ) คาร์บอนไดออกไซด์ อาร์กอน ออกซิเจน อากาศ อะเซทิลีน บิวเทน มีเทน โพรเพน 1977 1784 1429 1293 0.6181 ( -32 c ) 0.6012 0.5788 ( 20 c ) 0.5547 0.5005 (20 c ) หมายเหตุ ความหนาแน่นของก๊าซเป็นความหนาแน่นที่ O c และความดันบรรยากาศ ยกเว้นกรณีที่ระบุ อุณหภูมิเป็นอย่างอื่น
  • 4. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน ในการบอกความหนาแน่นของวัตถุต้องกาหนดอุณหภูมิด้วย เนื่องจากโดยทั่ว ๆ ไปแล้ววัตถุจะเกิดการขยายตัว เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ดังนั้น ปริมาตรของวัตถุก้อนเดียวกัน เมื่อวัดที่อุณหภูมิสูงจะมีค่ามากกว่า เมื่อวัดที่อุณหภูมิต่า หน่วยของความหนาแน่น ระบบอังกฤษ ระบบ SI m ( มวล ) ugs kg v ( ปริมาตร ) 3 ft m3 ρ ( ความหนาแน่น) ugs / 3 ft kg/m3 หมายเหตุ 1 slug = 1 lb.sec /ft ρ ของน้า = 1.937/ 3 ft = 1000 kg/m3 น้าหนักจาเพาะ ( Specific Weight ) หมายถึง แรงดึงดูดของโลกที่กระทาต่อมวลสารต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ใช้ อักษรกรีก γ อ่าน แกมม่า น้าหนักจาเพาะ (γ ) = v W ปริมาตร น้าหนัก  W = mg γ = 3 m/N v mg ปริมาตร อัตราเร่งมวล   γ = น้าหนักจาเพาะ W = น้าหนัก v = ปริมาตร g = อัตราเร่ง เนื่องจากแรงดึงดูดของโลก
  • 5. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน หน่วยของน้าหนักจาเพาะ ระบบอังกฤษ ระบบ SI w ( น้าหนัก ) 1b N v ( ปริมาตร ) 3 ft m3 γ ( น้าหนักจาเพาะ) lb/ 3 ft N/m3 ความสัมพันธ์ระหว่างความหนาแน่น และน้าหนักจาเพาะ ρ = g γ หรือ γ = ρg เมื่อ ρ = ความหนาแน่น γ = น้าหนักจาเพาะ g = อัตราเร่ง เนื่องจากแรงดึงดูดของโลก ปริมาตรจาเพาะ ( Specific Volume ) หมายถึง ปริมาตรต่อหนึ่งหน่วยมวลสาร ปริมาตรจาเพาะ ( sV ) = m V มวล ปริมาตร  m3 / kg sV = ปริมาตรจาเพาะ v = ปริมาตรมีระบบ SI หน่วยเป็น m3 ระบบอังกฤษ หน่วยเป็น 3 ft m = มวล ระบบ SI หน่วยเป็น kg ระบบอังกฤษ หน่วยเป็น m
  • 6. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน ความถ่วงจาเพาะ ( Specific Gravity ) หมายถึง อัตราส่วนของมวลสารต่อมวลของน้าที่มีปริมาตรเท่ากัน ซึ่งตัวเลข ที่ใช้แสดงค่าสสารนั้นมีน้าหนักเบากว่าน้าเป็นกี่เท่า ความถ่วงจาเพาะ ( s ) = มวลของน้า มวลของสาร เมื่อมีปริมาตรเท่ากัน = น้า สาร m m เมื่อ v เท่ากัน S = น้า สาร m m = น้า สาร ρ ρ = น้า สาร γ γ S = น้า สาร ρ ρ เมื่อ S = ความถ่วงจาเพาะ สารρ = ความหนาแน่นของสาร kg/m3 น้าρ = ความหนาแน่นของน้าที่ 4 c ( 1000 kg/m3 ) ความถ่วงจาเพาะของของเหลว อาจใช้เครื่องมือวัด ซึ่งเรียกว่า ไฮโดรมิเตอร์ วัดได้ ตัวอย่างที่ 9.1 ถังน้าหนัก 3 m3 มีมวล 950 kg จงหา ก. ความหนาแน่น ข. น้าหนักจาเพาะ ค. ปริมาตรจาเพาะ ง. ความถ่วงจาเพาะ
  • 7. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน วิธีทา ก. ความหนาแน่น ρ = v m m = 950 kg v = 3 m3 ρ = 3 950 = 316.67 kg/m3 ∴ ความหนาแน่นจาเพาะ = 316.67 kg/m3 ตอบ ข. น้าหนักจาเพาะ γ = v mg v m = ρ γ = ρ g ρ = 316.67 kg/m3 g = 9.81 m/ sec2 แทนค่า γ = 316.679.81 = 3106.50 kg/m2 sec2 แต่ 1 N = 1 kg m/ sec2 ∴ γ = 3106.53 N/m3 ∴น้าหนักจาเพาะ = 3106.53 N/m3 ตอบ
  • 8. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน ค. ปริมาตรจาเพาะ ( sV ) = m v v = 3 m3 m = 950 kg แทนค่า sV = 950 3 sV = 0.0032 kg/m3 ∴ ปริมาตรจาเพาะ = 0.0032 kg/m3 ตอบ ง. ความถ่วงจาเพาะ ( s ) s = น้า สาร ρ ρ สารρ = 950 kg/m3 น้าρ = 1000 kg/m3 แทนค่า s = 1000 950 s = 0.95 ∴ ความถ่วงจาเพาะ = 0.95 ตอบ
  • 9. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหา ความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 9.2 น้ามันชนิดหนึ่งมีความถ่วงจาเพาะ 0.90 ปริมาตร 3 m3 จงหาน้าหนักของน้ามันจานวนดังกล่าว วิธีทา ความถ่วงจาเพาะ ( s ) S = น้า สาร γ γ S = 0.90 γ ของน้า = 9.81 kN/m3 ( น้า 1000 ลิตร = 1 m3 . และ γ น้า = 9.81 kN/m3 ) แทนค่า 0.9 = 3 สาร 1081.9  γ สารγ = 0.9 3 1081.9  น้าหนักของน้ามัน = vγ น้ามัน  = 0.9 31081.9 3 ∴ น้าหนักของน้ามัน = 26487 kg ตอบ 9.1.2 ความดันของของเหลว การที่ของเหลวสามารถไหลหรือพุ่งออกจากภาชนะตามรอยรั่ว หรือตามรูต่าง ๆ ได้ เป็นเพราะของเหลวมี ความดัน นั้นหมายถึงจะต้องมีแรงกระทาต่อน้าที่อยู่ในภาชนะนั้น เมื่อภาชนะมีรูเปิดแรงดันจะดันให้น้าพุ่งออกมา และ จะมีทิศทางตั้งฉากกับผนังของภาชนะเสมอไม่ว่าผนังภาชนะจะอยู่แนวใด ถ้าเราปิดรู แรงกระทาก็ยังมีอยู่เช่นเดิม ตลอดเวลา โดยจะกระทาต่อผนังภาชนะทุกส่วนที่สัมผัส ของเหลวและทิศทางตั้งฉากกับผนังนั้น ๆ เรียกขนาดของแรง ในของเหลวที่กระทาตั้งฉากต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ผนังของภาชนะนี้ว่า ความดันในของเหลว
  • 10. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน พิจารณาของแรงที่กระทาต่อผนังภาชนะและต่อวัตถุที่จมอยู่ในของเหลว รูปที่ 9.1 แสดงทิศของแรงที่กระทาต่อผนังภาชนะและต่อวัตถุที่จมอยู่ในของเหลว 9.1.3 หน่วยวัดความดันของของเหลว นักวิทยาศาสตร์ได้ให้นิยามว่า ความดัน คือ อัตราส่วนระหว่างแรงกับพื้นที่ที่ตั้งฉากกับแรงกระทา นั่นคือ P = A F หรือ F = PA เมื่อ P = ความดันที่เกิดจากของเหลวกระทาบนพื้นที่ ( N/m3 หรือ Pa ; ปาสคัล ) F = แรงที่ของเหลวกระทาตั้งฉากบนพื้นที่ A ( N ) A = พื้นที่ ( m2 ) ความดัน 1 N หรือ 1 Pa ( ปาสคัล ) เป็นความดันที่มีค่าน้อยมาก ความดันที่ใช้ในงานช่างส่วนใหญ่มีค่า มากกว่า 105 ปาสคัล ดังนั้น จึงได้มีการกาหนดหน่วยของความดันขึ้นมา อีกหน่วยหนึ่งคือ บาร์
  • 11. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน โดยกาหนดว่า 1 bar = 105 Pa = 105 N/m2 ความดันเป็นคุณสมบัติอย่างหนึ่งของของไหล ซึ่งมีกาหนดว่า 1. ในระดับเดียวกันความดันของของไหลจะเท่ากันทุกจุด 2. ความดันที่เกิดขึ้นจะมีค่าเท่ากันทุกทิศทาง 3. ความดันจะกระทาตั้งฉากกับผิวของภาชนะที่บรรจุ ดังนั้น ความดันของของเหลว จะเท่ากับน้าหนักตัวเองต่อพื้นที่ที่กระทาอยู่นั่นเอง จาก P = A F F = ความหนาแน่น (ρ)ความเร่ง (g)พื้นที่ (A) ความสูง (h) P = A gAhρ N/m2 P = ghρ N/m2 หรือ P = γ h N/m2 ตัวอย่างที่ 9.3 จงหาความดันที่ก้นขวดแก้วขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 cm มีของเหลวอยู่สูง 60 cm. ก. เมื่อของเหลวคือน้า ข. เมื่อของเหลวคือปรอท โดยกาหนดความหนาแน่นของน้า = 1000 kg/m3 และของปรอท 13500 kg/m3 , g = 9.81 m/s2 ก. น้า สูตร P = ghρ ρ = 1000 kg/m3 g = 9.81 m/s2 h = 60 cm ( ทาเป็น m 100 ) = 100 60 = 0.6 m
  • 12. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน แทนค่า P = 1000 6.081.9  m s m m kg 23  P = 5886 N/m2  ความดันของน้า = 5886 N/m2 ตอบ ข. ปรอท สูตร P = ghρ ρ = 13500 kg/m3 g = 9.81 m/s2 h = 60 cm ( ทาให้เป็น m 100 ) = 0.6 m แทนค่า P = 13500 6.081.9  m m m kg 23 s  P = 79461 N/m2  ความดันของปรอท = 79461 N/m2 ตอบ
  • 13. h = g  วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน 9.1.4 คานวณหาความดันของเหลว กาหนดให้ P1 = ความดันที่ผิวของของเหลว ( N/m3 ) P2 = ความดันที่ความสูงระดับหนึ่ง ( N/m3 ) h = ระยะจากผิวของของเหลวถึง P2 ( m ) ρ = ความหนาแน่นของของเหลว ( kg/m3 ) รูป แสดงความสัมพันธ์ของ g = 9.81  10 m/s2 ความดัน กับความสูง จากสูตร P1 - P2 = ghρ N/m3 ในกรณีที่ของเหลวบรรจุอยู่ในภาชนะที่ด้านหนึ่งเปิดสู่บรรยากาศ ดังนั้น P1 = 0 P = ghρ ตัวอย่างที่ 9.4 ถังเก็บน้าประปาแห่งหนึ่งสูงจากพื้นดินถึงก้นถึง 30 ม. ความสูงของน้าในถัง 2 ม. ประตูน้าที่วางอยู่ บนพื้นดินจะต้องรับความกดดันเท่าใด วิธีทา ρ น้า = 1000 kg/m3 h = 30 + 2 = 32 m g = 9.81 m/ s2 ρ = ghρ = 1000 3281.9  N/m2 = 3139 = 3.139 bar  จะต้องรับความกดดัน = 3.139 bar ตอบ P = ghρ
  • 14. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 9.5 ถังปิดใบหนึ่งบรรจุเบนซินไว้ โดยที่ความกดดันที่ผิวของเบนซินมีค่า 69 kPa คานวณหา ความกดดัน ที่ระดับ 5 m จากผิวลงมา ( เบนซินมีความหนาแน่น=700 kg/m3 ) วิธีทา ρ = 700 kg/m3 1ρ = 69 kPa h = 5 m 2ρ - 1ρ = ghρ 2ρ - 69 = 700 581.9  2ρ = 34335 + 69 kPa = 34404 kPa  ความดันที่ระดับ 5 m = 34404 kPa ตอบ ตัวอย่างที่ 9.6 จงหาแรงดันที่น้ากระทาต่อพื้นที่สี่เหลี่ยม ก ข ค ง จากสูตร ถังเปิด P = ghρ วิธีทา ρ น้า = 1000 kg/m3 , g = 9.81  10 m/s2 h = 8 + 1 = 9 cm = 0.09 m ρ = 1000 09.010 = 900 N/m2 ก ง ∴แรงดันน้าที่กระทาต่อ = ก ข ค ง = P A = 900 0.02 0.02 = 0.36 N. ∴ แรงดันน้าที่กระทาต่อ = ก ข ค ง = 0.36 N. ตอบ ข ขค ข 2 ข 2 ข 2 ข