SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1
หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
Aj.Oranuch Ketsungnoen
Faculty of Medical Science, Nakhonratchasima College
2
1.1 บทนา
1.2 หน่วยของการวัด
1.3 พื้นฐานเวกเตอร์
บทนำ : ฟิสิกส์คืออะไร
PHYSICS = φυσική (physikos)
= “natural”
= ของธรรมชำติ
ฟิสิกส์เป็นวิทยำศำสตร์ของโลกแห่งธรรมชำติ
ศึกษำควำมเป็นไปของธรรมชำติ
4
บทนำ : What is Physics?
หน่วยวัด และ การวัด
สิ่งสาคัญของการเรียนวิชาฟิสิกส์ คือ การวัด
https://www.youtube.com/watch?v=ZNXbI_R4XMc
 การวัด คือ การคานวณค่าปริมาณที่ไม่ทราบค่าว่ามีปริมาณที่
กาหนดคงที่เท่าใด ปริมาณที่กาหนดคงที่นี้เรียกว่า หน่วย (unit)
ฉะนั้นการวัดจึงต้องมีระบบหน่วยวัดที่ถูกต้องเชื่อถือได้ และใช้
สะดวก เพื่อให้เป็นสากลทั่วโลกหน่วยวัดจึงต้องใช้ค่าเหมือนกัน
ซึ่งจาเป็นต้องมีคาจากัดความที่ชัดเจนเกี่ยวกับหน่วยวัดและวิธี
คานวณปรับเทียบกับระบบวัด ลักษณะนี้เรียกว่า มาตรฐาน
(standard) เป็น การ
ปรับเทียบ (calibration) คือ การตรวจสอบระบบวัดให้ตรงกับ
มาตรฐานเมื่อระบบอยู่ในสภาพที่สอดคล้องกับสภาพที่กาหนดไว้ใน
มาตรฐาน
การวัด
 ปี ค.ศ. 1960 การประชุม The 11th Conference General des
Poised Measures ได้ยอมรับระบบ System International
Unit's ให้เป็นระบบหน่วยวัดสากล ระบบนี้เรียกว่าระบบ “SI”
ในการประชุมครั้ง ต่อมาได้มีการปรับแต่งระบบจนปัจจุบันนี้มีหน่วยวัด
พื้นฐาน 7 ประเภท คือ วัดมวลเป็นกิโลกรัม(kg)
วัดความยาวเป็นเมตร(m) นับเวลาเป็นวินาที(s) วัดกระแสเป็น
แอมแปร์(A) วัดอุณหภูมิเป็นองศาเคลวิน (K) วัดความเข้มแสงสว่าง
เป็นแคนเดลา(cd) และวัดปริมาณสสารเป็นโมล(mol) จากหน่วยวัด
พื้นฐานเหล่านี้ทาให้ได้หน่วยอนุพันธ์อื่น ๆ
หน่วยวัด
หน่วยวัด
o ระบบอังกฤษ
o ระบบสากลระหว่างชาติ (SI)
o ระบบเมทริก (CGS)
ระบบหน่วย เวลา มวล ความยาว ความเร็ว
SI วินาที กิโลกรัม เมตร เมตร/วินาที
CGS วินาที กรัม เซนติเมตร เซนติเมตร/วินาที
อังกฤษ วินาที ปอนด์มวล ฟุต ฟุต/วินาที
หน่วย SI แบ่งเป็น หน่วยฐาน และ หน่วยอนุพัทธ์
หน่วยฐาน เป็นหน่วยของปริมาณฐานซึ่งมี 7 ปริมาณ ดังนี้
หน่วยวัด
ปริมาณฐาน สัญลักษณ์ หน่วยฐาน สัญลักษณ์
ความยาว l, s เมตร m
มวล m กิโลกรัม kg
เวลา t วินาที s
อุณหภูมิทาง
เทอร์โมไดนามิกส์
T เคลวิน K
กระแสไฟฟ้า I แอมแปร์ A
ความเข้มของการ
ส่องสว่าง
I แคนเดลา cd
ปริมาณสสาร n โมล mol
หน่วยอนุพัทธ์ คือ หน่วยที่มีหน่วยฐานหลายหน่วยมา
เกี่ยวเนื่องกัน เช่น
หน่วยวัด
ความเร็ว มีหน่วย m/s
โมเมนตัม มีหน่วย kg.m/s
แรง มีหน่วย kg. m/s2 หรือ นิวตัน, N
หน่วยอนุพันธ์เอสไอที่มีชื่อเฉพาะ
ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ปริมาณ การแสดงออกในรูปหน่วยฐาน
เฮิรตซ์ Hz ความถี่ s−1
เรเดียน rad มุม m·m−1
สเตอเรเดียน sr มุมตัน m2·m−2
นิวตัน N แรง kg m s −2
จูล J พลังงาน N m = kg m2 s−2
วัตต์ W กาลัง J/s = kg m2 s−3
ปาสกาล Pa ความดัน N/m2 = kg m −1 s−2
ลูเมน lm ฟลักซ์ส่องสว่าง cd sr = cd
ลักซ์ lx ความสว่าง cd m−2
คูลอมบ์ C ประจุไฟฟ้า A s
โวลต์ V ความต่างศักย์ J/C = kg m2 A−1 s−3
โอห์ม Ω ความต้านทานไฟฟ้า V/A = kg m2 A−2 s−3
หน่วยอนุพันธ์เอสไอที่มีชื่อเฉพาะ
ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ปริมาณ การแสดงออกในรูปหน่วยฐาน
ฟารัด F ความจุไฟฟ้า Ω−1 s = A2 s4 kg−1 m−2
เวเบอร์ Wb ฟลักซ์แม่เหล็ก kg m2 s−2 A−1
เทสลา T ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก Wb/m2 = kg s−2 A−1
เฮนรี H ความเหนี่ยวนาไฟฟ้า Ω s = kg m2 A−2 s−2
ซีเมนส์ S ความนา Ω−1 = kg−1 m−2 A2 s3
เบกเคอเรล Bq กันมันตภาพของรังสี s−1
เกรย์ Gy ขนาดกาหนดของการดูดกลืนรังสี J/kg = m2 s−2
ซีเวิร์ต Sv ขนาดกาหนดของกัมมันตภาพรังสี J/kg = m2 s−2
องศาเซลเซียส °C อุณหภูมิอุณหพลวัต K − 273.15
คาทัล kat อานาจการเร่งปฏิกิริยา mol/s = s−1·mol
คาอุปสรรคในระบบ SI
 ถ้าค่าของหน่วยมูลฐานหรือหน่วยอนุพัทธ์ มากหรือ
น้อยเกินไป การเขียนแบบธรรมดาจะยุ่งยาก เช่น
ความเร็วแสงมีค่าประมาณ 300,000,000 เมตรต่อวินาที
โดยการเปลี่ยนรูปแบบการเขียนจานวนเป็นการเขียนใน
รูป 10 ยกกาลัง เช่น 108 เพื่อความสะดวกจึงใช้คา
อุปสรรค (prefix) แทนค่า 10 ยกกาลังเหล่านั้น
คาอุปสรรคแทน 10 ยกกาลังเลขบวก
คาอุปสรรค ความหมาย สัญลักษณ์
exa- 1018 E
peta- 1015 P
tera- 1012 T
giga- 109 G
mega- 106 M
kilo- 103 k
hecto- 102 H
deka- 101 Da
คาอุปสรรคแทน 10 ยกกาลังเลขลบ (ค่าน้อยกว่า 1)
คาอุปสรรค ความหมาย สัญลักษณ์
deci- 10-1 d
centi- 10-2 c
milli- 10-3 m
micro- 10-6

nano- 10-9 n
pico- 10-12 p
femto- 10-15 f
atto- 10-18 a
ตัวอย่าง :
300,000,000 เมตรต่อวินาที = 3 x108 เมตรต่อวินาที
60,000,000 g = 60 x106 g
= 60 Mg
= 60,000 x 103 g
= 60,000 kg
10 km = 10 x 103 m
2 ms = 2 x 10-3 s = 0.002 s
1) 1 km = 1x mm
2) 1.5 nm = m
3) 2.7 m3 = mm3
4) 1.45 kN = mN
5) 1.4 MHz = kHz
กิจกรรม จงเปลี่ยนหน่วยเหล่านี้ให้ถูกต้อง
การเปลี่ยนหน่วย
- เปลี่ยนจาก หน่วยที่เล็ก ไปสู่ หน่วยที่ใหญ่กว่า
เช่น
เปลี่ยนจาก mm. ไปเป็น m.
เปลี่ยนจาก inch ไปเป็น m.
นา conversion factor ไป หาร
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
ตัวอย่าง 1
ถ้าต้องการเปลี่ยน 2500 m ให้เป็น km
จาก 1 km = 103 m
ดังนั้น
2500 m = 2500/103 km
= 2.5 km
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
ตัวอย่าง 2
ถ้าต้องการเปลี่ยน 254 cm ให้เป็น inch
จาก 1 inch = 2.54 cm
ดังนั้น
254 cm = 254/2.54 inch
= 100 inch
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
- เปลี่ยนจาก หน่วยที่ใหญ่ ไปสู่ หน่วยที่เล็กกว่า
เช่น
เปลี่ยนจาก m. ไปเป็น mm.
เปลี่ยนจาก m. ไปเป็น inch
นา conversion factor ไป คูณ
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
ตัวอย่าง 3
ถ้าต้องการเปลี่ยน 2.5 km ให้เป็น m
จาก 1 km = 103 m
ดังนั้น
2.5 km = 2.5*103 m
= 2500 m
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
ตัวอย่าง 4
ถ้าต้องการเปลี่ยน 100 inch ให้เป็น cm
จาก 1 inch = 2.54 cm
ดังนั้น
100 inch = 100*2.54 cm
= 254 cm
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
การหา conversion factor
ถ้าต้องการเปลี่ยนชั่วโมง , h เป็นวินาที, s
1 h = 60 min 1 min = 60 sและ
1 h = 60*60 = 3600 s
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
ถ้าต้องการเปลี่ยน km/h เป็น m/s
จาก 1 km = 103 m 1 h = 3600 sและ
o หน่วยวัด
การเปลี่ยนหน่วย
ถ้าต้องการเปลี่ยน km/h เป็น m/s ให้เอา 5/18 ไป
ถ้าต้องการเปลี่ยน m/s เป็น km/h ให้เอา 5/18 ไป
คูณ
หาร
o หน่วยวัด
ตัวอย่าง 5 จงเปลี่ยนอัตราเร็ว 36 ไมล์/ชั่วโมงให้
เป็นเมตร/วินาที เมื่อ 1 ไมล์ = 1.6 km
วิธีทา 1 ไมล์ = 1.6 km = 1600 m
1 h = 3600 s
ตัวอย่างที่ 6 ถังบรรจุน้ามันรถยนต์ มีน้ามันในถัง 10
ลิตร สถานีบริการน้ามันเติมน้ามันด้วยอัตรา 5 ลิตร/นาที
ถ้าเติมน้ามันเป็นเวลา 96 วินาที จะมีน้ามันภายในถัง
ทั้งหมดเท่าไร
วิธีทา
ปริมาณน้ามันทั้งหมด = มีอยู่เดิม + ที่เติม
มีอยู่เดิม = 10 ลิตร
ดังนั้น ถ้าเติมน้ามันเป็นเวลา 96 วินาที
จะได้น้ามัน
= 10 + 8 L
= 18 L ตอบ
ปริมาณน้ามันทั้งหมด = มีอยู่เดิม + ที่เติม
35
HOME WORK # I
The research submersible ALVIN is diving at a
speed of 36.5 fathoms per minute.
a. Express this speed in meters per second. A
fathoms (fath) is precisely 6 ft.
b. What is this speed in miles per houre?
c. What is this speed in light-years per year?
ปริมาณทางฟิสิกส์
ปริมาณทางฟิสิกส์มีกี่ประเภท ?
เวกเตอร์
ปริมาณต่างๆ ในวิชาฟิสิกส์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
ปริมาณสเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์
ปริมาณที่ระบุเพียงขนาดและ
หน่วย ก็ได้ความสมบูรณ์ เช่น
มวล ( kg ) พื้นที่ (m2)
ความถี่ ( Hz ) เวลา (s) อุณหภูมิ
( K ) เป็นต้น
ปริมาณที่ต้องระบุทั้ง ขนาด
และ ทิศทาง จึงได้ความ
สมบูรณ์ เช่น
การกระจัด ความเร็ว
ความเร่ง แรง เป็นต้น
o เวกเตอร์
ปริมาณเวกเตอร์ โดยทั่วไปเขียนด้วยลูกศรที่มีความ
ยาวเท่ากับขนาดของเวกเตอร์ และมีทิศเดียวกับเวกเตอร์บน
ลูกศรจะมีอักษรย่อกากับว่าเป็นเวกเตอร์ของปริมาณใด เช่น
o คุณสมบัติของเวกเตอร์
• การเท่ากันของเวกเตอร์
ขนาดของเวกเตอร์
สัญลักษณ์
s , v , F , p
หรือ
o เวกเตอร์
การบวกเวกเตอร์
การบวกเวกเตอร์ทาได้ 2 วิธี คือ การบวก
เวกเตอร์โดย วิธีเขียนรูป และ การบวก
เวกเตอร์โดย วิธีคานวณ
o เวกเตอร์
การบวกเวกเตอร์โดยวิธีเขียนรูป
ทาได้โดยนาเวกเตอร์ที่จะบวกมาต่อกันให้หัว
ลูกศรเรียงตามกัน โดยผลรวมหรือ เวกเตอร์ลัพธ์ คือ
เวกเตอร์ที่ลากจากหางลูกศรของเวกเตอร์แรกไปยังหัว
ลูกศรของเวกเตอร์สุดท้าย
o เวกเตอร์
4 หน่วย
3 หน่วย
การบวกเวกเตอร์โดยวิธีเขียนรูป
+
o เวกเตอร์
ตัวอย่าง 7
+ + +
A = 3 หน่วย, B = 2 หน่วย, C = 2 หน่วย, D = 1 หน่วย
จากการวัดเวกเตอร์ลัพธ์
มีขนาด 6 หน่วย
คุณสมบัติการบวกของเวกเตอร์
กฎการสลับที่
กฎการเปลี่ยนกลุ่ม
o เวกเตอร์
o กฎการสลับที่
+
o กฎการเปลี่ยนกลุ่ม
+ +
o การบวกเวกเตอร์โดยวิธีคานวณ
การบวกเวกเตอร์โดยวิธีคานวณทาได้ทีละ 2 เวกเตอร์
o การบวกเวกเตอร์โดยวิธีคานวณ
o การบวกเวกเตอร์โดยวิธีคานวณ
4 หน่วย
2 หน่วย
วิธีทา
จาก กฎโคไซน์ จะได้
o การลบเวกเตอร์
การลบเวกเตอร์ ทาได้โดย การบวกกับเวกเตอร์ที่
เป็นลบ เช่น
4 หน่วย 2 หน่วย
วิธีทา จากการบวกกับเวกเตอร์ที่เป็นลบ
จากสมการ จะได้
จาก กฎไซน์ หาทิศทางของเวกเตอร์ จะได้ว่า
เวกเตอร์ลัพธ์มีขนาด 5.29 หน่วย
o องค์ประกอบเวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก
การแยกเวกเตอร์เป็นองค์ประกอบของเวกเตอร์
y
x
y
x
เวกเตอร์หนึ่งหน่วย คือ เวกเตอร์ที่มีขนาดหนึ่ง
หน่วย และมีทิศเดียวกับเวกเตอร์ที่สนใจ
จะได้ หรือ
o เวกเตอร์หนึ่งหน่วย ( Unit Vector )
o เวกเตอร์หนึ่งหน่วย ( Unit Vector )
2 2
2 2
ˆ ˆ
4 ( 3)
16 9
25
5
x ya a a
Ans
 
  
 


และทิศทางเทียบแกน x จะได้
4
cos 0.8
5
3
cos 0.6
5
x
y
A
A
A
Ans
A


  

   
o ผลคูณของเวกเตอร์
ผลคูณเชิงสเกลาร์
o ผลคูณเชิงสเกลาร์
Ex. จงหามุมระหว่างเวกเตอร์ทั้ง 2 ดังนี้
วิธีทา
จาก
o ผลคูณเชิงสเกลาร์
ดังนั้น
o ผลคูณเชิงเวกเตอร์
การครอสเวกเตอร์
o ผลคูณเชิงเวกเตอร์
o ผลคูณเชิงเวกเตอร์
o ผลคูณเชิงเวกเตอร์
จงหา
กฎของผลคูณเชิงสเกลาร์
1. . .
2. .( ) . .
3. ( . ) ( ). .( )
A B B A
A B C A B AC
m A B mA B A mB

  
 
3( 1) 3( 4) ( 2)(2)
3 12 4
19
3(2) 3(2) ( 2)(1)
6 6 2
10
19 10 9
x x y y z z
x x y y z Z
a b A B A B A B
a c A C A C A C
a b a c
  
     
  

   
   
  

     

More Related Content

What's hot

2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
เซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
Chanunya Chompoowong
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
wiriya kosit
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
Wijitta DevilTeacher
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
Wijitta DevilTeacher
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
Thepsatri Rajabhat University
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
Wijitta DevilTeacher
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
Phanuwat Somvongs
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Thepsatri Rajabhat University
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 

What's hot (20)

2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 

Similar to บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์

บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณguest6eaa7e
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
Thepsatri Rajabhat University
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 
วิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุตวิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุตSupa Kommee
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total StationChattichai
 
หน่วยการวัดจริงๆ
หน่วยการวัดจริงๆหน่วยการวัดจริงๆ
หน่วยการวัดจริงๆyalay
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มPornsak Tongma
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1Montaya Pratum
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1Montaya Pratum
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
kungten555
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
kroojaja
 
หน่วยการวัดจริงๆ
หน่วยการวัดจริงๆหน่วยการวัดจริงๆ
หน่วยการวัดจริงๆyalay
 

Similar to บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์ (20)

บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
วิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุตวิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุต
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total Station
 
หน่วยการวัดจริงๆ
หน่วยการวัดจริงๆหน่วยการวัดจริงๆ
หน่วยการวัดจริงๆ
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐานเวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
หน่วยการวัดจริงๆ
หน่วยการวัดจริงๆหน่วยการวัดจริงๆ
หน่วยการวัดจริงๆ
 
Ppt%20vector[1]
Ppt%20vector[1]Ppt%20vector[1]
Ppt%20vector[1]
 

More from PumPui Oranuch

Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
PumPui Oranuch
 
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตบทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
PumPui Oranuch
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
PumPui Oranuch
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับ
PumPui Oranuch
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรม
PumPui Oranuch
 
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชันChapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
PumPui Oranuch
 

More from PumPui Oranuch (6)

Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
 
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตบทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับ
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรม
 
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชันChapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
 

บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์