SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
GAS
แก๊ส
1
ประเภทของแก๊ส
แก๊ส
แก๊สจริง
แก๊สอุดมคติ
Real gas
Ideal gas
แก๊สจริง (Real gas) คือ แก๊สที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
แก๊สอุดมคติ (Ideal gas) คือ แก๊สที่มีพฤติกรรมตำมกฎของแก๊ส
และทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
T สูง P ต่ำ
2
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
• 1. แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจานวนมากที่มีขนาดเล็กมาก จนถือ
ได้ว่าอนุภาคแก๊สไม่มีปริมาตรเมื่อเทียบกับขนาดภาชนะที่บรรจุ
ซึ่งจะถือว่ามีมวลแต่ไม่มีปริมาตร
• 2. โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมากทาให้แรงดึงดูดและแรงผลัก
ระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จนถือได้ว่าไม่มีแรงกระทาต่อกัน
(ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล)
3
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
• 3. โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วในแนวเส้นตรงเป็น
อิสระด้วยอัตราเร็วคงที่ (แต่ว่าไม่จาเป็ นต้องเท่ากันในแต่ละ
โมเลกุล) และไม่เป็นระเบียบจนกระทั่งชนกับโมเลกุลอื่นหรือชน
กับผนังของภาชนะจึงจะเปลี่ยนทิศทางและอัตราเร็ว
• 4. โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะจะเกิดการ
ชนแบบยืดหยุ่นโดยถ่ายโอนพลังงานให้แก่กันได้ แต่พลังงาน
ของระบบมีค่าคงที่
4
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
• 5. ณ อุณหภูมิเดียวกันโมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่
ด้วยความเร็วไม่เท่ากันแต่จะมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน โดยที่
พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ(เคลวิน)
𝐸 𝑘 ∝ 𝑇
𝐸 𝑘 =
1
2
𝑚𝑣2 m = มวล
v = ปริมำตร
5
ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ ของแก๊ส
กฎของ
บอยล์
กฎของ
ชำร์ล
กฎของ
เกย์-ลูสแซก
กฎของ
อำโวกำโดร
P ∝
𝟏
𝐕
V ∝ T
T, n คงที่ P, n คงที่
V, n คงที่
P ∝ T V ∝ n
T, P คงที่
P = ความดัน; V = ปริมาตร; T = อุณหภูมิ; n = มวล
6
สมการของแก๊สอุดมคติ
PV = nRT
D =
𝐏𝐌
𝐑𝐓
P = CRT
P = ความดัน; V = ปริมาตร; T = อุณหภูมิ; n = มวล; D = ความหนาแน่น;
C = ความเข้มข้น (M); R = ค่าคงที่ของแก๊ส 7
PV = nRT
V ∝
𝐓.𝐧
𝐏
V =
𝐑𝐓𝐧
𝐏
สมการของแก๊สอุดมคติ
R =
𝐏𝐕
𝐧𝐓
=
𝟏 𝐚𝐭𝐦.𝟐𝟐.𝟒 𝐋
𝟏 𝐦𝐨𝐥.𝟐𝟕𝟑 𝐊
STP
อุณหภูมิที่ STP = 0 องศาเซลเซียส หรือ 273 เคลวิน
= 0.0821
𝐋.𝐚𝐭𝐦
𝐦𝐨𝐥.𝐊
8
สมการของแก๊สอุดมคติ
PV = nRT
R =
𝐏𝐕
𝐧𝐓
𝐏𝟏 𝐕𝟏
𝐧 𝟏 𝐓𝟏
=
𝐏𝟐 𝐕𝟐
𝐧 𝟐 𝐓𝟐
ใช้งานในเชิงเปรียบเทียบ 2 สภาวะ
ใช้งานในสภาวะเดียว
9
กฎความดันย่อยของดอลตัน
𝐏 𝐓 = 𝐏𝟏 + 𝐏𝟐 + 𝐏𝟑 + … + 𝐏 𝐧
10
กฎการแพร่ของเกรแฮม
𝐫 𝟏
𝐫 𝟐
=
𝐝 𝟐
𝐝 𝟏
=
𝐌 𝟐
𝐌 𝟏
r1 และ r2 คือ อัตราการแพร่ของแก๊สชนิดที่ 1 และ 2
d1 และ d2 คือ ความหนาแน่นของแก๊สชนิดที่ 1 และ 2
M1 และ M2 คือมวลโมเลกุลของแก๊สชนิดที่ 1 และ 2
r ∝
𝟏
𝐌
อัตราการแพร่ของแก๊สเป็นสัดส่วนผกผันกับรากที่สองของ
มวลโมเลกุลของแก๊ส
11
ตัวอย่างที่ 1 แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 1000 cm3 ที่ความดัน 1.0 บรรยากาศ อุณหภูมิ
0 องศาเซลเซียส ถ้าแก๊สชนิดนี้มีปริมาตรและความดันเปลี่ยนเป็น 1150 cm3 และ
900 mmHg ตามลาดับ จงหาอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปในหน่วยองศาเซลเซียส
จากโจทย์ P1 = 1.0 atm = 760 mmHg P2 = 900 mmHg
T1 = 0 °C + 273 K
V2 = 1150 cm3
V1 = 1000 cm3
T2 = ?
𝐏 𝟏 𝐕 𝟏
𝐓 𝟏
=
𝐏 𝟐 𝐕 𝟐
𝐓 𝟐
จำกกฎรวมแก๊ส
12
แทนค่ำในสมกำร
𝟕𝟔𝟎 𝐦𝐦𝐇𝐠 𝐱 𝟏𝟎𝟎𝟎 𝐜𝐦 𝟑
𝟐𝟕𝟑 𝐊
=
𝟗𝟎𝟎 𝐦𝐦𝐇𝐠 𝐱 𝟏𝟏𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑
𝐓𝟐
𝐓𝟐 =
𝟗𝟎𝟎 𝐦𝐦𝐇𝐠 𝐱 𝟏𝟏𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑
𝐱 𝟐𝟕𝟑 𝐊
𝟕𝟔𝟎 𝐦𝐦𝐇𝐠 𝐱 𝟏𝟎𝟎𝟎 𝐜𝐦 𝟑
= 372 K
หรือ 372 K – 273 = 99 °C
อุณหภูมิของแก๊สที่เปลี่ยนแปลง = 99 °C – 0 °𝐂 = 𝟗𝟗 °C
13
ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 150 cm3 ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ความดัน
1.5 บรรยากาศ เมื่อบรรจุแก๊สจานวนนี้ในภาชนะสุญญากาศปริมาตร 250 cm3 ปิดฝาให้
สนิทแล้วนาไปแช่น้าแข็งจนอุณหภูมิคงที่ ที่ 0 องศาเซลเซียส ความดันของแก๊สจะเป็น
เท่าใด
จากโจทย์ P1 = 1.5 atm
P2 = ? atm
V1 = 150 cm3
V2 = 250 cm3
T1 = 20 °C + 273 = 293 K
T2 = 0 °C + 273 = 273 K
𝐏 𝟏 𝐕 𝟏
𝐓 𝟏
=
𝐏 𝟐 𝐕 𝟐
𝐓 𝟐
จำกกฎรวมแก๊ส
14
แทนค่ำในสมกำร
𝟏.𝟓 𝐚𝐭𝐦 𝐱 𝟏𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑
𝟐𝟗𝟑 𝐊
=
𝐏 𝟐 𝐱 𝟐𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑
𝟐𝟕𝟑 𝐊
𝐏𝟐 =
𝟏. 𝟓 𝐚𝐭𝐦 𝐱 𝟏𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑
𝐱 𝟐𝟕𝟑 𝐊
𝟐𝟗𝟑 𝐊 𝐱 𝟐𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑
= 0.84 atm
แก๊สนี้จะมีความดัน 0.84 บรรยากาศ
15
ตัวอย่างที่ 3 บรรจุแก๊สออกซิเจน 0.885 กิโลกรัม ไว้ในถังเหล็กกล้าซึ่งมีปริมาตร 438
ลิตร จงคานวณความดันของแก๊สออกซิเจนในถังนี้ที่อุณหภูมิ 21 องศาเซลเซียส
จากโจทย์ P = ? atm V = 438 L
T = 21 °C + 273 = 294 K
m = 0.885 Kg
PV = nRT
เปลี่ยนมวลของแก๊สออกซิเจนเป็นจานวนโมล
จานวนโมล (n) =
𝐠
𝐌 𝐰
= 27.7 mol
16
จานวนโมลของ O2 =
𝟎.𝟖𝟖𝟓 𝐊𝐠
𝟑𝟏.𝟗𝟗𝟖𝟖 𝐠/𝐦𝐨𝐥
PV = nRT
P =
𝟐𝟕.𝟕 𝐦𝐨𝐥 𝐱 𝟎.𝟎𝟖𝟐𝟏
𝐋.𝐚𝐭𝐦
𝐦𝐨𝐥.𝐊
𝐱 𝟐𝟗𝟒 𝐊
𝟒𝟑𝟖 𝐋
P =
𝐧𝐑𝐓
𝐕
= 1.53 atm
แก๊สออกซิเจนมีความดัน 1.53 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 21 องศาเซลเซียส
17
ตัวอย่างที่ 4 นาแก๊ส A 100 cm3 2.0 บรรยากาศผสมกับแก๊ส B 150 cm3 3.0
บรรยากาศ ในภาชนะ 200 cm3 โดยอุณหภูมิคงที่จงหาความดันย่อยและความ
ดันรวม
100 cm3
2 atm
A
B
150 cm3
3 atm
200 cm3
PA,PB,PT
PV = nRT
𝐏𝟏 𝐕𝟏 = 𝐏𝟐 𝐕𝟐
A  𝐏 𝐀 =
𝐏 𝟏 𝐕 𝟏
𝐕 𝟐
=
𝟐 𝐚𝐭𝐦. 𝟏𝟎𝟎 𝐜𝐦 𝟑
𝟐𝟎𝟎 𝐜𝐦 𝟑
= 1 atm
18
B  𝐏 𝐁 =
𝐏 𝟏 𝐕 𝟏
𝐕 𝟐
=
𝟑 𝐚𝐭𝐦. 𝟏𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑
𝟐𝟎𝟎 𝐜𝐦 𝟑
= 2.25 atm
PA = 1 atm
PB = 2.25 atm
𝐏 𝐓 = 𝐏 𝐀 + 𝐏 𝐁
= 1 atm + 2.25 atm
PT = 3.25 atm
19
ตัวอย่างที่ 5 ถ้าแก๊ส X มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 81 เคลื่อนที่ในภาชนะหนึ่งได้
ระยะทาง 30 cm ในเวลา 2 วินาที แก๊ส Y มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 25 จะเคลื่อนที่
ได้ระยะทางกี่เซนติเมตรในเวลา 4 วินาที
𝐫𝐱 =
𝐬
𝐭
=
𝟑𝟎 𝐜𝐦
𝟐 𝐬
𝐫𝐱 = 𝟏𝟓 𝐜𝐦/𝐬
𝐫𝐲
𝐫𝐱
=
𝐌 𝐱
𝐌 𝐲
𝐫𝐲 =
𝐌 𝐱
𝐌 𝐲
. 𝐫𝐱
𝐫𝐲 =
𝟖𝟏
𝟐𝟓
. 15
𝐫𝐲 =
𝟗
𝟓
𝐱 𝟏𝟓
𝐫𝐲 = 27 cm/s
20
𝐫𝐲 = 𝟐𝟕 𝐜𝐦/𝐬
𝐫𝐲 =
𝐬
𝐭
𝟐𝟕 =
𝐬
𝟒
s = 27 x 4
s = 108 cm
21
CONCLUSIONS
สมการสาคัญเรื่องแก๊ส
PV = nRT
สภาวะเดี่ยว สองสภาวะ
เฉพาะแก๊สอุดมคติ (Ideal gas)
22

More Related Content

What's hot

6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรตJariya Jaiyot
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติPreeyapat Lengrabam
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณRock Rockie
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาManchai
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 

What's hot (20)

6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 

Similar to แก๊ส

ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนApinya Phuadsing
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 
กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5Piyanuch Plaon
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumพัน พัน
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สPhysciences Physciences
 
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์Thaksin Sopapiya
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Nanmoer Tunteng
 

Similar to แก๊ส (15)

แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
heat
heatheat
heat
 
Chemographics : Gases
Chemographics : GasesChemographics : Gases
Chemographics : Gases
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
Week5[1]
Week5[1]Week5[1]
Week5[1]
 
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 

แก๊ส

  • 2. ประเภทของแก๊ส แก๊ส แก๊สจริง แก๊สอุดมคติ Real gas Ideal gas แก๊สจริง (Real gas) คือ แก๊สที่ใช้ในชีวิตประจำวัน แก๊สอุดมคติ (Ideal gas) คือ แก๊สที่มีพฤติกรรมตำมกฎของแก๊ส และทฤษฎีจลน์ของแก๊ส T สูง P ต่ำ 2
  • 3. ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส • 1. แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจานวนมากที่มีขนาดเล็กมาก จนถือ ได้ว่าอนุภาคแก๊สไม่มีปริมาตรเมื่อเทียบกับขนาดภาชนะที่บรรจุ ซึ่งจะถือว่ามีมวลแต่ไม่มีปริมาตร • 2. โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมากทาให้แรงดึงดูดและแรงผลัก ระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จนถือได้ว่าไม่มีแรงกระทาต่อกัน (ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล) 3
  • 4. ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส • 3. โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วในแนวเส้นตรงเป็น อิสระด้วยอัตราเร็วคงที่ (แต่ว่าไม่จาเป็ นต้องเท่ากันในแต่ละ โมเลกุล) และไม่เป็นระเบียบจนกระทั่งชนกับโมเลกุลอื่นหรือชน กับผนังของภาชนะจึงจะเปลี่ยนทิศทางและอัตราเร็ว • 4. โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะจะเกิดการ ชนแบบยืดหยุ่นโดยถ่ายโอนพลังงานให้แก่กันได้ แต่พลังงาน ของระบบมีค่าคงที่ 4
  • 5. ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส • 5. ณ อุณหภูมิเดียวกันโมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่ ด้วยความเร็วไม่เท่ากันแต่จะมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน โดยที่ พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ(เคลวิน) 𝐸 𝑘 ∝ 𝑇 𝐸 𝑘 = 1 2 𝑚𝑣2 m = มวล v = ปริมำตร 5
  • 6. ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ ของแก๊ส กฎของ บอยล์ กฎของ ชำร์ล กฎของ เกย์-ลูสแซก กฎของ อำโวกำโดร P ∝ 𝟏 𝐕 V ∝ T T, n คงที่ P, n คงที่ V, n คงที่ P ∝ T V ∝ n T, P คงที่ P = ความดัน; V = ปริมาตร; T = อุณหภูมิ; n = มวล 6
  • 7. สมการของแก๊สอุดมคติ PV = nRT D = 𝐏𝐌 𝐑𝐓 P = CRT P = ความดัน; V = ปริมาตร; T = อุณหภูมิ; n = มวล; D = ความหนาแน่น; C = ความเข้มข้น (M); R = ค่าคงที่ของแก๊ส 7
  • 8. PV = nRT V ∝ 𝐓.𝐧 𝐏 V = 𝐑𝐓𝐧 𝐏 สมการของแก๊สอุดมคติ R = 𝐏𝐕 𝐧𝐓 = 𝟏 𝐚𝐭𝐦.𝟐𝟐.𝟒 𝐋 𝟏 𝐦𝐨𝐥.𝟐𝟕𝟑 𝐊 STP อุณหภูมิที่ STP = 0 องศาเซลเซียส หรือ 273 เคลวิน = 0.0821 𝐋.𝐚𝐭𝐦 𝐦𝐨𝐥.𝐊 8
  • 9. สมการของแก๊สอุดมคติ PV = nRT R = 𝐏𝐕 𝐧𝐓 𝐏𝟏 𝐕𝟏 𝐧 𝟏 𝐓𝟏 = 𝐏𝟐 𝐕𝟐 𝐧 𝟐 𝐓𝟐 ใช้งานในเชิงเปรียบเทียบ 2 สภาวะ ใช้งานในสภาวะเดียว 9
  • 10. กฎความดันย่อยของดอลตัน 𝐏 𝐓 = 𝐏𝟏 + 𝐏𝟐 + 𝐏𝟑 + … + 𝐏 𝐧 10
  • 11. กฎการแพร่ของเกรแฮม 𝐫 𝟏 𝐫 𝟐 = 𝐝 𝟐 𝐝 𝟏 = 𝐌 𝟐 𝐌 𝟏 r1 และ r2 คือ อัตราการแพร่ของแก๊สชนิดที่ 1 และ 2 d1 และ d2 คือ ความหนาแน่นของแก๊สชนิดที่ 1 และ 2 M1 และ M2 คือมวลโมเลกุลของแก๊สชนิดที่ 1 และ 2 r ∝ 𝟏 𝐌 อัตราการแพร่ของแก๊สเป็นสัดส่วนผกผันกับรากที่สองของ มวลโมเลกุลของแก๊ส 11
  • 12. ตัวอย่างที่ 1 แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 1000 cm3 ที่ความดัน 1.0 บรรยากาศ อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ถ้าแก๊สชนิดนี้มีปริมาตรและความดันเปลี่ยนเป็น 1150 cm3 และ 900 mmHg ตามลาดับ จงหาอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปในหน่วยองศาเซลเซียส จากโจทย์ P1 = 1.0 atm = 760 mmHg P2 = 900 mmHg T1 = 0 °C + 273 K V2 = 1150 cm3 V1 = 1000 cm3 T2 = ? 𝐏 𝟏 𝐕 𝟏 𝐓 𝟏 = 𝐏 𝟐 𝐕 𝟐 𝐓 𝟐 จำกกฎรวมแก๊ส 12
  • 13. แทนค่ำในสมกำร 𝟕𝟔𝟎 𝐦𝐦𝐇𝐠 𝐱 𝟏𝟎𝟎𝟎 𝐜𝐦 𝟑 𝟐𝟕𝟑 𝐊 = 𝟗𝟎𝟎 𝐦𝐦𝐇𝐠 𝐱 𝟏𝟏𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑 𝐓𝟐 𝐓𝟐 = 𝟗𝟎𝟎 𝐦𝐦𝐇𝐠 𝐱 𝟏𝟏𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑 𝐱 𝟐𝟕𝟑 𝐊 𝟕𝟔𝟎 𝐦𝐦𝐇𝐠 𝐱 𝟏𝟎𝟎𝟎 𝐜𝐦 𝟑 = 372 K หรือ 372 K – 273 = 99 °C อุณหภูมิของแก๊สที่เปลี่ยนแปลง = 99 °C – 0 °𝐂 = 𝟗𝟗 °C 13
  • 14. ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 150 cm3 ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ความดัน 1.5 บรรยากาศ เมื่อบรรจุแก๊สจานวนนี้ในภาชนะสุญญากาศปริมาตร 250 cm3 ปิดฝาให้ สนิทแล้วนาไปแช่น้าแข็งจนอุณหภูมิคงที่ ที่ 0 องศาเซลเซียส ความดันของแก๊สจะเป็น เท่าใด จากโจทย์ P1 = 1.5 atm P2 = ? atm V1 = 150 cm3 V2 = 250 cm3 T1 = 20 °C + 273 = 293 K T2 = 0 °C + 273 = 273 K 𝐏 𝟏 𝐕 𝟏 𝐓 𝟏 = 𝐏 𝟐 𝐕 𝟐 𝐓 𝟐 จำกกฎรวมแก๊ส 14
  • 15. แทนค่ำในสมกำร 𝟏.𝟓 𝐚𝐭𝐦 𝐱 𝟏𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑 𝟐𝟗𝟑 𝐊 = 𝐏 𝟐 𝐱 𝟐𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑 𝟐𝟕𝟑 𝐊 𝐏𝟐 = 𝟏. 𝟓 𝐚𝐭𝐦 𝐱 𝟏𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑 𝐱 𝟐𝟕𝟑 𝐊 𝟐𝟗𝟑 𝐊 𝐱 𝟐𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑 = 0.84 atm แก๊สนี้จะมีความดัน 0.84 บรรยากาศ 15
  • 16. ตัวอย่างที่ 3 บรรจุแก๊สออกซิเจน 0.885 กิโลกรัม ไว้ในถังเหล็กกล้าซึ่งมีปริมาตร 438 ลิตร จงคานวณความดันของแก๊สออกซิเจนในถังนี้ที่อุณหภูมิ 21 องศาเซลเซียส จากโจทย์ P = ? atm V = 438 L T = 21 °C + 273 = 294 K m = 0.885 Kg PV = nRT เปลี่ยนมวลของแก๊สออกซิเจนเป็นจานวนโมล จานวนโมล (n) = 𝐠 𝐌 𝐰 = 27.7 mol 16 จานวนโมลของ O2 = 𝟎.𝟖𝟖𝟓 𝐊𝐠 𝟑𝟏.𝟗𝟗𝟖𝟖 𝐠/𝐦𝐨𝐥
  • 17. PV = nRT P = 𝟐𝟕.𝟕 𝐦𝐨𝐥 𝐱 𝟎.𝟎𝟖𝟐𝟏 𝐋.𝐚𝐭𝐦 𝐦𝐨𝐥.𝐊 𝐱 𝟐𝟗𝟒 𝐊 𝟒𝟑𝟖 𝐋 P = 𝐧𝐑𝐓 𝐕 = 1.53 atm แก๊สออกซิเจนมีความดัน 1.53 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 21 องศาเซลเซียส 17
  • 18. ตัวอย่างที่ 4 นาแก๊ส A 100 cm3 2.0 บรรยากาศผสมกับแก๊ส B 150 cm3 3.0 บรรยากาศ ในภาชนะ 200 cm3 โดยอุณหภูมิคงที่จงหาความดันย่อยและความ ดันรวม 100 cm3 2 atm A B 150 cm3 3 atm 200 cm3 PA,PB,PT PV = nRT 𝐏𝟏 𝐕𝟏 = 𝐏𝟐 𝐕𝟐 A  𝐏 𝐀 = 𝐏 𝟏 𝐕 𝟏 𝐕 𝟐 = 𝟐 𝐚𝐭𝐦. 𝟏𝟎𝟎 𝐜𝐦 𝟑 𝟐𝟎𝟎 𝐜𝐦 𝟑 = 1 atm 18
  • 19. B  𝐏 𝐁 = 𝐏 𝟏 𝐕 𝟏 𝐕 𝟐 = 𝟑 𝐚𝐭𝐦. 𝟏𝟓𝟎 𝐜𝐦 𝟑 𝟐𝟎𝟎 𝐜𝐦 𝟑 = 2.25 atm PA = 1 atm PB = 2.25 atm 𝐏 𝐓 = 𝐏 𝐀 + 𝐏 𝐁 = 1 atm + 2.25 atm PT = 3.25 atm 19
  • 20. ตัวอย่างที่ 5 ถ้าแก๊ส X มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 81 เคลื่อนที่ในภาชนะหนึ่งได้ ระยะทาง 30 cm ในเวลา 2 วินาที แก๊ส Y มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 25 จะเคลื่อนที่ ได้ระยะทางกี่เซนติเมตรในเวลา 4 วินาที 𝐫𝐱 = 𝐬 𝐭 = 𝟑𝟎 𝐜𝐦 𝟐 𝐬 𝐫𝐱 = 𝟏𝟓 𝐜𝐦/𝐬 𝐫𝐲 𝐫𝐱 = 𝐌 𝐱 𝐌 𝐲 𝐫𝐲 = 𝐌 𝐱 𝐌 𝐲 . 𝐫𝐱 𝐫𝐲 = 𝟖𝟏 𝟐𝟓 . 15 𝐫𝐲 = 𝟗 𝟓 𝐱 𝟏𝟓 𝐫𝐲 = 27 cm/s 20
  • 21. 𝐫𝐲 = 𝟐𝟕 𝐜𝐦/𝐬 𝐫𝐲 = 𝐬 𝐭 𝟐𝟕 = 𝐬 𝟒 s = 27 x 4 s = 108 cm 21
  • 22. CONCLUSIONS สมการสาคัญเรื่องแก๊ส PV = nRT สภาวะเดี่ยว สองสภาวะ เฉพาะแก๊สอุดมคติ (Ideal gas) 22