SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 9 
กลยุทธ์การวางผัง สถานประกอบการ 
การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการการผลิตและปฏิบัติการ 
แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง 
มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น 
1
กรณีศึกษา McDonald’s 
ความสาคัญในการวางผังสถาน ประกอบการ 
วัตถุประสงค์ของการวางผัง 
ประเภทการวางผังสถานประกอบการ 
การวางผังแบบอยู่กับที่ 
การวางผังตามกระบวนการผลิต 
การวางผังแบบกลุ่มเซลล์ปฏิบัติการ 
การวางผังสานักงาน 
การวางผังกิจการค้าปลีก 
การวางผังคลังสินค้าและการจัดเก็บ 
การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ 
2
การออกแบบผังครัวใหม่สร้างความได้เปรียบในการ แข่งขันให้กับ McDonald’s 
3 
กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก (Global Company Profile)
กว่า50นี้มาแล้วที่McDonald’s ได้ปฏิรูปแบบการ ดาเนินงานของอุตสาหกรรมร้านอาหารโดยเริ่มจาก ข้อจากัดรายการอาหารจานด่วน และได้สร้างวัตกรรมที่ สาคัญถึง5 ลักษณะ 
1.ริเริ่มในการทาที่นั่งภายในร้าน ซึ่งเป็นการที่เอากลยุทธ์การ วางแผนโรงงานมาใช้ 
2.นาระบบการขับรถเข้ามาซื้ออาหารแบบเทียบถึงที่ โดยคนขับ ไม่จาเป็นที่ต้องลงจากรถ Drive-through 
3.นาเอากลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์มาใช้โดยให้เมนูอาหารเช้า เพิ่มขึ้น 
4.เพิ่มสถานที่ให้กับเด็กให้สามารถมีสนามเด็กเล่น ในร้าน 
4 
กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก (Global Company Profile)
5.นาเอากลยุทธ์การวางแผนผังโรงงานมาใช้อีกครั้งกับครัวของ McDonald’s ในแทบทวีปอเมริกาเหนือ เพื่อช่วยลดเวลาในการผลิต ลง เหลือ45 วินาทีตลอดทั้งกระบวนการทั้งนี้บางขั้นตอนจะถูกตัด ออกไป บางขั้นถูกลดลง ระบบครัวจะใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อความ ทันสมัย 
5 
กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก (Global Company Profile)
ขั้นตอนการผลิต 
6
ผลลัพธ์ที่พบว่าระบบการวางแผนแบบใหม่นี้ช่วยให้ McDonald’sสามารถประหยัดต้นทุนอาหารได้ถึง100ดอลลลาร์ สหรัฐต่อปีโดยเฉพาะส่วนของเนื้อที่ไม่จาเป็นต้องทิ้งหากขายไม่เร็ว พอเนื่องจากมีเนื้อที่เก็บวัตถุดิบที่ดี ทาให้บริษัทมีประสิทิธิภาพเพิ่ม มากขึ้นและทาให้ลูกค้ามีความสุขมากขึ้นทาให้ McDonald’s สามารถสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันเหนือคู่แข่งได้ 
7 
กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก (Global Company Profile)
ความสาคัญเชิงกลยุทธ์ในการวาง ผังสถานประกอบการ 
แผนผังสถานประกอบการจัดเป็นกลยุทธ์ที่ความสาคัญ ประการหนึ่งสาหรับการสร้างประสิทธิภาพของปฏิบัติการใน ระยะยาวขององค์การ การจัดวางผังการทางานสามารถส่งต่อ ความสามารถทางการแข่งขันขององค์การในด้านต่างๆเช่น ความสามารถในการผลิต กระบวนการผลิต ความยืดหยุ่นใน การปฏิบัติการ ต้นทุนการดาเนินงาน หรือแม้กระทั่ง คุณภาพชีวิตของผู้ทางาน ความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า และ ภาพลักษณ์ขององค์การ 
8
ประเภทของการวางผังสถานประกอบการ การวางผังสถานประกอบการแบ่งออกเป็น 7 ประเภท 
10 
1. 
การวางผังแบบอยู่กับที่ (Fixed-position layout ) 
2.oriented layout) 
การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต (Process-3. 
การวางผังแบบกลุ่มเซลล์ปฏิบัติการ (Work-cell layout) 
4. 
การวางผังสานักงาน (Office layout) 
5. 
การวางผังสาหรับกิจการค้าปลีก (Retail layout) 6. กางวางผังคลังสินค้า (Warehouse layout) 7. การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ (Product-oriented layout)
•การวางผังแบบอยู่กับที่ 
ตัวอย่าง เรือโดยสาร ตึกอาคาร ท่าอากาศยาน 
ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องเคลื่อนย้ายอุปกรณ์เข้าไปใน พื้นที่ที่มีขนาดจากัด 
•การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต 
ตัวอย่าง โรงพยาบาล ร้านอาหาร 
ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องจัดการการไหลของวัตถุดิบ สาหรับแต่ละสินค้า 
•การวางผังสานักงาน 
ตัวอย่าง บริษัทประกันภัย สานักงานบริษัท 
ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องจัดตาแหน่งพนักงานให้อยู่ ใกล้กันเพื่อติดต่อประสานงาน 
ตัวอย่างของการวางผังประเภทต่างๆ 
11
•การวางผังสาหรับกิจการค้าปลีก 
ตัวอย่าง ซูเปอร์มาร์เก็ต ห้างสรรพสินค้า 
ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องจัดสินค้าที่มีส่วนต่างกาไรสูงให้เป็นที่สะดุด ตาของลูกค้า 
•กางวางผังคลังสินค้า 
ตัวอย่าง คลังสินค้าบริษัท ศูนย์กระจายสินค้า 
ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องรักษาสมดุลระหว่างต้นทุนการจัดเก็บ กับ ต้นทุนการขนถ่ายวัสดุ 
•การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ 
ตัวอย่าง สายการประกอบโทรทัศน์ บริษัทผลิตผลไม้กระป๋อง 
ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องพยายามทาให้เวลาที่ใช้ในแต่ละสถานีงาน เท่านั้น 
•การวางผังแบบกลุ่มเซลล์ปฏิบัติการ 
ตัวอย่าง การ์ดอวยพร รถพยาบาล 
ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องกาหนดกลุ่มผลิตภัณฑ์ สร้างทีมงานและฝึก ข้ามสายงาน 
ตัวอย่างของการวางผังประเภทต่างๆ (ต่อ) 
12
13 
การวางผังการ ทางานและ การออกแบบ 1.อุปกรณ์ขน ถ่ายวัสดุ 
2.ข้อกาหนดใน ส่วนของพื้นที่ และกาลังการ ผลิต 
3. สภาพแวดล้อม และความ สวยงาม 
4.การไหลเวียน ของข้อมูล ข่าวสาร 
5.ต้นทุนการ เคลื่อนย้าย ระหว่างหน่วย การผลิต
เทคนิคสาหรับการวางผังแบบยู่กับที่ยังมีการ พัฒนาไม่มากนัก เนื่องมาจากปัจจัย 3 ประการ ได้แก่ 
1.มีพื้นที่จากัดในการทางาน ทาให้ไม่สะดวกต่อการ ปฏิบัติการ 
2.แต่ละขั้นตอนของโครงการจะมีขั้นตอนการทางานที่ แตกต่างและซับซ้อน รวมทั้งการใช้วัตถุดิบที่แตกต่าง กัน ทาให้ยากในการประมาณการและวางแผน 
3.ปริมาณการใช้วัตถุดิบมีการเปลี่ยนแปลง ไม่แน่นอน ตามลักษณะงานที่ซับซ้อน 
การวางผังแบบอยู่กับที่ 14
เป็นวิธีการวางผังแบบดังเดิมที่ใช้สนับสนุนกลยุทธ์การสร้าง ความแตกต่าง ผังนี้เหมาะสาหรับการผลิตสินค้าที่มีข้อกาหนดใน หลายลักษณะ หรือการบริการที่มีหลากหลายความต้องการ 
•การวางผังแบบตามกระบวนการผลิตของโรงพยาบาล แสดงถึงลาดับขั้นตอนการรักษา ของผู้ป่วย A และ B 
การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต 
15
ในการวางผังแบบตามกระบวนการผลิต การจัดเรียงแผนก หรือสถานีงานเพื่อทาให้ต้นทุนขนถ่ายวัสดุมีค่าใช้จ่ายต่าที่สุดนั้น ถือ เป็นสิ่งสาคัญ 
ต้นทุนต่าที่สุดสามารถหาได้จาก 
ตัวอย่าง บริษัท Walters Company Management มีแผนกทั้งหมด 6 แผนก โดยแต่ละ แผนกมีขนาด 20*20 ฟุต ในขณะที่โรงงานมี พื้นที่ขนาดเท่ากับ 60x40 ฟุต ผู้บริหารต้องการทราบว่าควรจะให้ แผนกใดอยู่ใกล้แผนกใด ถ้าจากสถิติของบริษัทพบว่า แต่ละแผนกมี การติดต่อระหว่างกันดังภาพ ต้นทุนการเคลื่อนย้ายภาระงาน ระหว่างแผนกเท่ากับ1ดอลลาร์สหรัฐ หากแผนกอยู่ห่างกันจะเสีย เพิ่มเป็น2ดอลลาร์สหรัฐ จงทาการจัดวางผังและคานวณค่าใช้จ่าย ทั้งหมดที่เกิดขึ้น16 
การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต
ผังเมตริกซ์ แสดงการติดต่อกันระหว่างแผนกของบริษัท Walters Company Management 
17การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต
ขั้นตอนการดาเนินการแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ดังนี้ 
1. พิจารณาแต่ละแผนกจากผังเมตริกซ์ว่า แผนกใดติดต่อกัน มากที่สุดเพื่อจะได้จัดตาแหน่งให้อยู่ใกล้กัน 
2. พิจารณาพื้นที่ที่ต้องการในแต่ละส่วน 
3. ทดลองสร้างไดอะแกรมเบื้องต้นของการเคลื่อนย้ายภาระ งาน โดยพยายามจัดแผนกที่มีการติดต่อระหว่างกันใน ระดับสูงให้อยู่ใกล้กัน 
18 
การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต
4. คานวณหาต้นทุนที่ต่าที่สุด ดังต่อไปนี้ 
แผนกที่1 ติดต่อกับ3แผนก คือแผนกที่2 จานวน 50ครั้ง แผนกที่3 จานวน100ครั้ง และแผนกที่6 จานวน20 ครั้ง โดยมีค่าใช้จ่าย 
ดังต่อไปนี้ 
แผนกที่1กับแผนกที่2มีค่าใช้จ่ายเท่ากับ 1x50 = 50 ดอลลาร์สหรัฐ 
แผนกที่1กับแผนกที่2มีค่าใช้จ่ายเท่ากับ 2x100 = 200 ดอลลาร์สหรัฐ 
แผนกที่1กับแผนกที่6มีค่าใช้จ่ายเท่ากับ2x20 = 40 ดอลลาร์สหรัฐ 
ในทานองเดียวกัน ถ้าคิดค่าใช้จ่ายสาหรับแผนกอื่นๆแล้วจะสามารถ 
หาต้นทุนทั้งหมดได้เป็น 
= 50 + 200 + 40 + 30 + 50 + 10 + 40 + 100 + 50 = 570 ดอลลาร์ 
สหรัฐ 
19การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต
5. ทาการลองผิดลองถูก (Trial and error) เพื่อจัดผังแบบใหม่ จนกระทั่งสามารถจัดผังที่เหมาะสมที่สุดได้ ดังรูป 
โดยมีต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 
=50+100+20+60+50+10+40+100+50 = 480 ดอลลาร์สหรัฐ 
20 
การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต
6.จัดเตรียมแผนผังโดยละเอียด เพื่อทาการจัดผังแต่ละ แผนกให้เหมาะสมกับพื้นที่จริง ดังแสดงในรูป 
ห้องที่1 ห้องที่2 ห้องที่3 
ห้องที่4 ห้องที่5 ห้องที่6 
แผนผังที่เหมาะสมของบริษัท Walters Company Management 
21 
แผนกพ่นสี 
แผนกประกอบชิ้นส่วน 
แผนกเครื่องจักร 
แผนกรับมอบ 
แผนกจัดส่ง 
แผนกตรวจสอบ 
การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต
กลุ่มเซลล์ปฏิบัติการ เป็นการรวมกลุ่มของพนักงานและ เครื่องอุปกรณ์จากหลายแผนกมารวมอยู่ในกลุ่มเดียวกัน สาหรับ การผลิตชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือกลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะ คล้ายคลึงกัน 
ข้อดี 
1.ลดปริมาณสินค้าคงคลังประเภทงานระหว่างทา 
2.ลดพื้นที่การใช้งาน 
3.ลดปริมาณสินค้าคงคลังประเภทวัตถุดิบและประเภทผลิตภัณฑ์ สาเร็จรูป 
4.ลดต้นทุนค่าแรงงานทางตรง 
5.สร้างจิตสานึกของพนักงานในการมีส่วนร่วมกับองค์การและตัว ผลิตภัณฑ์ 
6.สามารถใช้ประโยชน์จากเครื่องจักรอุปกรณ์ได้มากยิ่งขึ้น 
7.ลดต้นทุนในส่วนของเครื่องจักรอุปกรณ์ 
การวางผังแบบกลุ่มเซลล์ปฏิบัติการ 
22
การวางผังสานักงาน 
การวางผังสานักงาน เป็นการจัดกลุ่มบุคลากร เครื่องมืออุปกรณ์ และพื้นที่การทางานในสานักงาน โดย วัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความสะดวกปลอดภัย และมีการ ไหลเวียนของข้อมูลข่าวสารที่ดี 
ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการต้องวิเคราะห์พิจารณาการ ติดต่อสื่อสารทั้งรูปแบบทางอิเล็กทรอนิกส์และทางอื่นๆ รวมทั้งสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องที่สามารถส่งผลต่อ ประสิทธิผลของพนักงาน เครื่องมือที่สามารถนามาใช้ วิเคราะห์การจัดวางผังได้แก่ ผังความสัมพันธ์ (Relationship chart) 
23
การวางผังสาหรับกิจการค้าปลีก 
แนวคิดในการจัดวางผังสาหรับกิจการค้าปลีกให้ มีประสิทธิภาพ มีดังต่อไปนี้ 
243. กระจายสินค้าประเภทที่ลูกค้าจะซื้อเมื่อได้พบเห็นไว้ตามแนวทั้งสองข้าง ทาง เพื่อเพิ่มโอกาสในการดึงดูดให้ลูกค้าชมสินค้ารายการอื่นๆไปด้วย 
3. 4. ใช้พื้นที่บริเวณปลายทางของแต่ละแถวสินค้า เนื่องจากเป็นจุดที่มองเห็น ได้ง่าย 
5. สื่อถึงพันธกิจของร้านค้า โดยใช้การเลือกวางตาแหน่งของสินค้าเป็นตัวนา ในการจัดวาง 
1 
. สินค้าที่ขายดีควรตั้งไว้ในบริเวณโดยรอบของร้านค้า 2. สินค้าที่สามารถกระตุ้นผู้ซื้อได้ และมีส่วนต่างกาไรสูง ควรนามาจัดวางใน บริเวณที่ดึงดูดลูกค้าได้ดี
ตัวอย่างการจัดวางสินค้าในซุปเปอร์มาร์เก็ต 
25
26 
วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความประทับใจแก่ลูกค้า 
1.สภาพของแสง เสียง สี กลิ่น หรืออุณหภูมิ เพื่อกระตุ้นให้ ลูกค้าเกิดความสนใจในสินค้าต่างๆ 
2.การวางผังตามหมวดหมู่ของสินค้าและการออกแบบ ทางเดินสาหรับลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าสามารถเดินไปตาม จุดต่างๆ ได้อย่างเป็นระบบ และทราบว่าจะต้องไปซื้อ สินค้าที่บริเวณใดบ้าง 
3.นาเครื่องหมาย สัญลักษณ์ต่างๆ มาใช้เพื่อสื่อสารข้อมูล กับลูกค้า 
การวางผังสาหรับกิจการค้าปลีก
การวางผังคลังสินค้าและการจัดเก็บ 
วัตถุประสงค์ของการวางผังประเภทนี้ เพื่อหาจุดที่ เหมาะสมที่สุดระหว่างต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าและต้นทุนที่ เกี่ยวกับการใช้พื้นที่ ต้องจัดสรรพื้นที่ในคลังให้ใช้ประโยชน์ ได้สูงสุดและต้นทุนการขนถ่ายวัสดุต่าที่สุด 
องค์ประกอบสาคัญของการวางผังคลังสินค้าและการ จัดเก็บ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่รับมอบสินค้าและพื้นที่ จัดส่งสินค้า โดยต้องคานึงถึงสถานที่สาหรับใช้เก็บสินค้าและ ชนิดของยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่ง เช่น รถบบรรทุก รถไฟ เรือ หรือพาหนะแบบอื่นๆ 
27
การจัดเก็บแบบส่งผ่าน(Cross Docking) 
เป็นวิธีการจัดการสินค้าหรือวัตถุดิบที่ได้รับมอบเข้ามา โดยทาการส่งผ่านไปยังหน่วยงานเพื่อเข้าสู่กระบวนการ ผลิตโดยทันที สาหรับโรงงานอุตสาหกรรม สินค้าที่ได้รับ มอบจะถูกส่งโดยตรงไปที่สายการผลิต ในขณะที่ศูนย์ กระจายสินค้า สินค้าที่ได้รับมอบจะถูกนามาติดฉลาก และ เรียบเรียงใหม่ที่จุดจัดส่ง เพื่อทาการจัดส่งออกไปทันที วิธี นี้จะช่วยหลีกเลี่ยงกิจกรรมในส่วนการรับมอบ การจัดเก็บ และการคัดเลือก ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ไม่มีคุณค่า ทาให้ สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายขององค์การ 
28 
การวางผังคลังสินค้าและการจัดเก็บ
การจัดเก็บเชิงสุ่ม (Random stocking) 
มีส่วนประกอบของงานดังต่อไปนี้ 
1.จัดทารายการว่ามีพื้นที่ว่างบริเวณใดและมีขนาดเท่าใด 
2.บันทึกรายการสินค้าที่อยู่ในคลังสินค้ารวมทั้งตาแหน่งที่ จัดเก็บ 
3.จัดเรียงสินค้าตามลาดับเพื่อประหยัดเวลาในการค้นหา สินค้า 
4.รวบรวมสินค้าเป็นกลุ่มเพื่อลดเวลาในการค้นหา 
5.จัดสินค้าที่มีอัตราหมุนเวียนของสินค้าสูงไว้ในพื้นที่ที่เข้าถึง ได้สะดวก เพื่อช่วยในการเคลื่อนย้ายเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว 
29 
การวางผังคลังสินค้าและการจัดเก็บ
การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ 
การวางผังแบบนี้เหมาะสาหรับการผลิตสินค้าหรือกลุ่มของ สินค้าที่มีความคล้ายคลึงกันในปริมาณมากลักษณะความ แตกต่างน้อย เป็นการผลิตซ้าๆและต่อเนื่องโดยอยู่ภายใต้ เกณฑ์ต่อไปนี้ 
1.ปริมาณการสั่งซื้อมีมากที่จะทาให้อัตราการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์อยู่ในระดับสูง 
2.ปริมาณความต้องการของสินค้าคงที่คุ้มค่าต่อการลงทุนใน เครื่องมืออุปกรณ์ 
3.ลักษณะสินค้าเป็นมาตรฐานมีวงจรชีวิตที่เหมาะสมแก่การ ลงทุน 
4.วัตถุดิบชิ้นส่วนอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต มีเพียงพอ มีคุณภาพ สม่าเสมอ สามารถนามาใช้งานได้กับเครื่องมืออุปกรณ์ 
30
มี2 รูปแบบ 
1. แบบการผลิตชิ้นส่วน(Fabrication line) เป็นการผลิต ชิ้นส่วนอะไหล่ หรือชิ้นส่วนประกอบ เช่น การผลิตยางรถยนต์ ชิ้นส่วนโลหะตู้เย็น 
2. แบบการประกอบชิ้นส่วน(Assembly line)เป็นการเอา ชิ้นส่วนต่างๆ มาประกอบเข้าด้วยกันเป็นตัวสินค้า เช่น การ นายางรถยนต์มาประกอบเข้าเป็นรถ หรือการนาเอาชิ้นส่วน โลหะมาประกอบเป็นตู้เย็น 
31 
การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์
ข้อดีและข้อเสียของการวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ 
32 
ข้อดี 
ข้อเสีย 
1. ต้นทุนแปรผันต่อหน่วยต่า สินค้าที่ได้มี มารตฐานใกล้เคียงกัน 
1. ต้องมีปริมาณการผลิตเป็นจานวนมาก ถึง จะคุ้มค่ากับการลงทุนติดตั้งระบบดังกล่าว 
2. ต้นทุนการขนถ่ายวัสดุต่า 
2. หากเกิดการหยุดชงัก ณ จุดใดๆ จะส่งผล ทาให้กระบวนการผลิตทั้งระบบหยุดชะงัก เช่นเดียวกัน 
3. ลดปริมาณสินค้าคงคลังประเภทงาน ระหว่างทา 
3. ขาดความยืดหยุ่นในส่วนของการผลิต สินค้าหลายรูปแบบและในส่วนของอัตราการ ผลิต 
4. ง่ายต่อการฝึกอบรมและควบคุม 
5. ได้ผลผลิตที่รวดเร็ว
บทสรุป 
ผังสถานประกอบการสามารถสร้างความแตกต่าง ให้กัประสิทธิภาพของการปฏิบัติการได้ การวางผัง สามารถแบ่งออกเป็น 7 รูปแบบได้แก่ 
1.การวางผังแบบอยู่กับที่ 
2.การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต 
3.การวางผังแบบกลุ่มเซลล์ปฏิบัติการ 
4.การวางผังสานักงาน 
5.การวางผังสาหรับกิจการค้าปลีก 
6.การวางผังคลังสินค้าและการจัดเก็บ 
7.การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ 
33

More Related Content

What's hot

บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
Teetut Tresirichod
 
Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ ( The Importance of Packaging Standardization)
Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ (The Importance of Packaging Standardization)Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ (The Importance of Packaging Standardization)
Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ ( The Importance of Packaging Standardization)
Thanaphat Tachaphan
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
Warodom Techasrisutee
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
maerimwittayakom school
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
Rungnapa Rungnapa
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
Teetut Tresirichod
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
Aor's Sometime
 

What's hot (20)

บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ ( The Importance of Packaging Standardization)
Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ (The Importance of Packaging Standardization)Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ (The Importance of Packaging Standardization)
Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ ( The Importance of Packaging Standardization)
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 

Similar to บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ

บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
ใบความรู้ ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
อองเอง จ้า
 
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุดKm กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
Academic Resource Center Rajabhat Mahasarakham University
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
Project ii v.2.0
Project ii v.2.0Project ii v.2.0
Project ii v.2.0
Sufarwee Dunyamat
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศMeaw Sukee
 
ใบความรู้ ดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ ดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
อองเอง จ้า
 
WORK 3 2-18 604
WORK 3 2-18 604WORK 3 2-18 604
WORK 3 2-18 604
Tawanny Rawipon
 
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
Prapaporn Boonplord
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 

Similar to บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ (20)

2
22
2
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
 
K13 tdj
K13 tdjK13 tdj
K13 tdj
 
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุดKm กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
 
14321
1432114321
14321
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Project ii v.2.0
Project ii v.2.0Project ii v.2.0
Project ii v.2.0
 
งานที่5
งานที่5งานที่5
งานที่5
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ ดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ ดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
WORK 3 2-18 604
WORK 3 2-18 604WORK 3 2-18 604
WORK 3 2-18 604
 
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
7
77
7
 
ส่วนนำ ทวีชัย
ส่วนนำ  ทวีชัยส่วนนำ  ทวีชัย
ส่วนนำ ทวีชัย
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
Gor7
Gor7Gor7
Gor7
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT (19)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation Management
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ

  • 1. บทที่ 9 กลยุทธ์การวางผัง สถานประกอบการ การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการการผลิตและปฏิบัติการ แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น 1
  • 2. กรณีศึกษา McDonald’s ความสาคัญในการวางผังสถาน ประกอบการ วัตถุประสงค์ของการวางผัง ประเภทการวางผังสถานประกอบการ การวางผังแบบอยู่กับที่ การวางผังตามกระบวนการผลิต การวางผังแบบกลุ่มเซลล์ปฏิบัติการ การวางผังสานักงาน การวางผังกิจการค้าปลีก การวางผังคลังสินค้าและการจัดเก็บ การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ 2
  • 4. กว่า50นี้มาแล้วที่McDonald’s ได้ปฏิรูปแบบการ ดาเนินงานของอุตสาหกรรมร้านอาหารโดยเริ่มจาก ข้อจากัดรายการอาหารจานด่วน และได้สร้างวัตกรรมที่ สาคัญถึง5 ลักษณะ 1.ริเริ่มในการทาที่นั่งภายในร้าน ซึ่งเป็นการที่เอากลยุทธ์การ วางแผนโรงงานมาใช้ 2.นาระบบการขับรถเข้ามาซื้ออาหารแบบเทียบถึงที่ โดยคนขับ ไม่จาเป็นที่ต้องลงจากรถ Drive-through 3.นาเอากลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์มาใช้โดยให้เมนูอาหารเช้า เพิ่มขึ้น 4.เพิ่มสถานที่ให้กับเด็กให้สามารถมีสนามเด็กเล่น ในร้าน 4 กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก (Global Company Profile)
  • 5. 5.นาเอากลยุทธ์การวางแผนผังโรงงานมาใช้อีกครั้งกับครัวของ McDonald’s ในแทบทวีปอเมริกาเหนือ เพื่อช่วยลดเวลาในการผลิต ลง เหลือ45 วินาทีตลอดทั้งกระบวนการทั้งนี้บางขั้นตอนจะถูกตัด ออกไป บางขั้นถูกลดลง ระบบครัวจะใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อความ ทันสมัย 5 กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก (Global Company Profile)
  • 7. ผลลัพธ์ที่พบว่าระบบการวางแผนแบบใหม่นี้ช่วยให้ McDonald’sสามารถประหยัดต้นทุนอาหารได้ถึง100ดอลลลาร์ สหรัฐต่อปีโดยเฉพาะส่วนของเนื้อที่ไม่จาเป็นต้องทิ้งหากขายไม่เร็ว พอเนื่องจากมีเนื้อที่เก็บวัตถุดิบที่ดี ทาให้บริษัทมีประสิทิธิภาพเพิ่ม มากขึ้นและทาให้ลูกค้ามีความสุขมากขึ้นทาให้ McDonald’s สามารถสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันเหนือคู่แข่งได้ 7 กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก (Global Company Profile)
  • 8. ความสาคัญเชิงกลยุทธ์ในการวาง ผังสถานประกอบการ แผนผังสถานประกอบการจัดเป็นกลยุทธ์ที่ความสาคัญ ประการหนึ่งสาหรับการสร้างประสิทธิภาพของปฏิบัติการใน ระยะยาวขององค์การ การจัดวางผังการทางานสามารถส่งต่อ ความสามารถทางการแข่งขันขององค์การในด้านต่างๆเช่น ความสามารถในการผลิต กระบวนการผลิต ความยืดหยุ่นใน การปฏิบัติการ ต้นทุนการดาเนินงาน หรือแม้กระทั่ง คุณภาพชีวิตของผู้ทางาน ความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า และ ภาพลักษณ์ขององค์การ 8
  • 9. ประเภทของการวางผังสถานประกอบการ การวางผังสถานประกอบการแบ่งออกเป็น 7 ประเภท 10 1. การวางผังแบบอยู่กับที่ (Fixed-position layout ) 2.oriented layout) การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต (Process-3. การวางผังแบบกลุ่มเซลล์ปฏิบัติการ (Work-cell layout) 4. การวางผังสานักงาน (Office layout) 5. การวางผังสาหรับกิจการค้าปลีก (Retail layout) 6. กางวางผังคลังสินค้า (Warehouse layout) 7. การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ (Product-oriented layout)
  • 10. •การวางผังแบบอยู่กับที่ ตัวอย่าง เรือโดยสาร ตึกอาคาร ท่าอากาศยาน ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องเคลื่อนย้ายอุปกรณ์เข้าไปใน พื้นที่ที่มีขนาดจากัด •การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต ตัวอย่าง โรงพยาบาล ร้านอาหาร ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องจัดการการไหลของวัตถุดิบ สาหรับแต่ละสินค้า •การวางผังสานักงาน ตัวอย่าง บริษัทประกันภัย สานักงานบริษัท ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องจัดตาแหน่งพนักงานให้อยู่ ใกล้กันเพื่อติดต่อประสานงาน ตัวอย่างของการวางผังประเภทต่างๆ 11
  • 11. •การวางผังสาหรับกิจการค้าปลีก ตัวอย่าง ซูเปอร์มาร์เก็ต ห้างสรรพสินค้า ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องจัดสินค้าที่มีส่วนต่างกาไรสูงให้เป็นที่สะดุด ตาของลูกค้า •กางวางผังคลังสินค้า ตัวอย่าง คลังสินค้าบริษัท ศูนย์กระจายสินค้า ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องรักษาสมดุลระหว่างต้นทุนการจัดเก็บ กับ ต้นทุนการขนถ่ายวัสดุ •การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ ตัวอย่าง สายการประกอบโทรทัศน์ บริษัทผลิตผลไม้กระป๋อง ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องพยายามทาให้เวลาที่ใช้ในแต่ละสถานีงาน เท่านั้น •การวางผังแบบกลุ่มเซลล์ปฏิบัติการ ตัวอย่าง การ์ดอวยพร รถพยาบาล ปัญหาที่เกี่ยวข้อง ต้องกาหนดกลุ่มผลิตภัณฑ์ สร้างทีมงานและฝึก ข้ามสายงาน ตัวอย่างของการวางผังประเภทต่างๆ (ต่อ) 12
  • 12. 13 การวางผังการ ทางานและ การออกแบบ 1.อุปกรณ์ขน ถ่ายวัสดุ 2.ข้อกาหนดใน ส่วนของพื้นที่ และกาลังการ ผลิต 3. สภาพแวดล้อม และความ สวยงาม 4.การไหลเวียน ของข้อมูล ข่าวสาร 5.ต้นทุนการ เคลื่อนย้าย ระหว่างหน่วย การผลิต
  • 13. เทคนิคสาหรับการวางผังแบบยู่กับที่ยังมีการ พัฒนาไม่มากนัก เนื่องมาจากปัจจัย 3 ประการ ได้แก่ 1.มีพื้นที่จากัดในการทางาน ทาให้ไม่สะดวกต่อการ ปฏิบัติการ 2.แต่ละขั้นตอนของโครงการจะมีขั้นตอนการทางานที่ แตกต่างและซับซ้อน รวมทั้งการใช้วัตถุดิบที่แตกต่าง กัน ทาให้ยากในการประมาณการและวางแผน 3.ปริมาณการใช้วัตถุดิบมีการเปลี่ยนแปลง ไม่แน่นอน ตามลักษณะงานที่ซับซ้อน การวางผังแบบอยู่กับที่ 14
  • 14. เป็นวิธีการวางผังแบบดังเดิมที่ใช้สนับสนุนกลยุทธ์การสร้าง ความแตกต่าง ผังนี้เหมาะสาหรับการผลิตสินค้าที่มีข้อกาหนดใน หลายลักษณะ หรือการบริการที่มีหลากหลายความต้องการ •การวางผังแบบตามกระบวนการผลิตของโรงพยาบาล แสดงถึงลาดับขั้นตอนการรักษา ของผู้ป่วย A และ B การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต 15
  • 15. ในการวางผังแบบตามกระบวนการผลิต การจัดเรียงแผนก หรือสถานีงานเพื่อทาให้ต้นทุนขนถ่ายวัสดุมีค่าใช้จ่ายต่าที่สุดนั้น ถือ เป็นสิ่งสาคัญ ต้นทุนต่าที่สุดสามารถหาได้จาก ตัวอย่าง บริษัท Walters Company Management มีแผนกทั้งหมด 6 แผนก โดยแต่ละ แผนกมีขนาด 20*20 ฟุต ในขณะที่โรงงานมี พื้นที่ขนาดเท่ากับ 60x40 ฟุต ผู้บริหารต้องการทราบว่าควรจะให้ แผนกใดอยู่ใกล้แผนกใด ถ้าจากสถิติของบริษัทพบว่า แต่ละแผนกมี การติดต่อระหว่างกันดังภาพ ต้นทุนการเคลื่อนย้ายภาระงาน ระหว่างแผนกเท่ากับ1ดอลลาร์สหรัฐ หากแผนกอยู่ห่างกันจะเสีย เพิ่มเป็น2ดอลลาร์สหรัฐ จงทาการจัดวางผังและคานวณค่าใช้จ่าย ทั้งหมดที่เกิดขึ้น16 การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต
  • 16. ผังเมตริกซ์ แสดงการติดต่อกันระหว่างแผนกของบริษัท Walters Company Management 17การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต
  • 17. ขั้นตอนการดาเนินการแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. พิจารณาแต่ละแผนกจากผังเมตริกซ์ว่า แผนกใดติดต่อกัน มากที่สุดเพื่อจะได้จัดตาแหน่งให้อยู่ใกล้กัน 2. พิจารณาพื้นที่ที่ต้องการในแต่ละส่วน 3. ทดลองสร้างไดอะแกรมเบื้องต้นของการเคลื่อนย้ายภาระ งาน โดยพยายามจัดแผนกที่มีการติดต่อระหว่างกันใน ระดับสูงให้อยู่ใกล้กัน 18 การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต
  • 18. 4. คานวณหาต้นทุนที่ต่าที่สุด ดังต่อไปนี้ แผนกที่1 ติดต่อกับ3แผนก คือแผนกที่2 จานวน 50ครั้ง แผนกที่3 จานวน100ครั้ง และแผนกที่6 จานวน20 ครั้ง โดยมีค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้ แผนกที่1กับแผนกที่2มีค่าใช้จ่ายเท่ากับ 1x50 = 50 ดอลลาร์สหรัฐ แผนกที่1กับแผนกที่2มีค่าใช้จ่ายเท่ากับ 2x100 = 200 ดอลลาร์สหรัฐ แผนกที่1กับแผนกที่6มีค่าใช้จ่ายเท่ากับ2x20 = 40 ดอลลาร์สหรัฐ ในทานองเดียวกัน ถ้าคิดค่าใช้จ่ายสาหรับแผนกอื่นๆแล้วจะสามารถ หาต้นทุนทั้งหมดได้เป็น = 50 + 200 + 40 + 30 + 50 + 10 + 40 + 100 + 50 = 570 ดอลลาร์ สหรัฐ 19การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต
  • 19. 5. ทาการลองผิดลองถูก (Trial and error) เพื่อจัดผังแบบใหม่ จนกระทั่งสามารถจัดผังที่เหมาะสมที่สุดได้ ดังรูป โดยมีต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ =50+100+20+60+50+10+40+100+50 = 480 ดอลลาร์สหรัฐ 20 การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต
  • 20. 6.จัดเตรียมแผนผังโดยละเอียด เพื่อทาการจัดผังแต่ละ แผนกให้เหมาะสมกับพื้นที่จริง ดังแสดงในรูป ห้องที่1 ห้องที่2 ห้องที่3 ห้องที่4 ห้องที่5 ห้องที่6 แผนผังที่เหมาะสมของบริษัท Walters Company Management 21 แผนกพ่นสี แผนกประกอบชิ้นส่วน แผนกเครื่องจักร แผนกรับมอบ แผนกจัดส่ง แผนกตรวจสอบ การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต
  • 21. กลุ่มเซลล์ปฏิบัติการ เป็นการรวมกลุ่มของพนักงานและ เครื่องอุปกรณ์จากหลายแผนกมารวมอยู่ในกลุ่มเดียวกัน สาหรับ การผลิตชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือกลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะ คล้ายคลึงกัน ข้อดี 1.ลดปริมาณสินค้าคงคลังประเภทงานระหว่างทา 2.ลดพื้นที่การใช้งาน 3.ลดปริมาณสินค้าคงคลังประเภทวัตถุดิบและประเภทผลิตภัณฑ์ สาเร็จรูป 4.ลดต้นทุนค่าแรงงานทางตรง 5.สร้างจิตสานึกของพนักงานในการมีส่วนร่วมกับองค์การและตัว ผลิตภัณฑ์ 6.สามารถใช้ประโยชน์จากเครื่องจักรอุปกรณ์ได้มากยิ่งขึ้น 7.ลดต้นทุนในส่วนของเครื่องจักรอุปกรณ์ การวางผังแบบกลุ่มเซลล์ปฏิบัติการ 22
  • 22. การวางผังสานักงาน การวางผังสานักงาน เป็นการจัดกลุ่มบุคลากร เครื่องมืออุปกรณ์ และพื้นที่การทางานในสานักงาน โดย วัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความสะดวกปลอดภัย และมีการ ไหลเวียนของข้อมูลข่าวสารที่ดี ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการต้องวิเคราะห์พิจารณาการ ติดต่อสื่อสารทั้งรูปแบบทางอิเล็กทรอนิกส์และทางอื่นๆ รวมทั้งสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องที่สามารถส่งผลต่อ ประสิทธิผลของพนักงาน เครื่องมือที่สามารถนามาใช้ วิเคราะห์การจัดวางผังได้แก่ ผังความสัมพันธ์ (Relationship chart) 23
  • 23. การวางผังสาหรับกิจการค้าปลีก แนวคิดในการจัดวางผังสาหรับกิจการค้าปลีกให้ มีประสิทธิภาพ มีดังต่อไปนี้ 243. กระจายสินค้าประเภทที่ลูกค้าจะซื้อเมื่อได้พบเห็นไว้ตามแนวทั้งสองข้าง ทาง เพื่อเพิ่มโอกาสในการดึงดูดให้ลูกค้าชมสินค้ารายการอื่นๆไปด้วย 3. 4. ใช้พื้นที่บริเวณปลายทางของแต่ละแถวสินค้า เนื่องจากเป็นจุดที่มองเห็น ได้ง่าย 5. สื่อถึงพันธกิจของร้านค้า โดยใช้การเลือกวางตาแหน่งของสินค้าเป็นตัวนา ในการจัดวาง 1 . สินค้าที่ขายดีควรตั้งไว้ในบริเวณโดยรอบของร้านค้า 2. สินค้าที่สามารถกระตุ้นผู้ซื้อได้ และมีส่วนต่างกาไรสูง ควรนามาจัดวางใน บริเวณที่ดึงดูดลูกค้าได้ดี
  • 25. 26 วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความประทับใจแก่ลูกค้า 1.สภาพของแสง เสียง สี กลิ่น หรืออุณหภูมิ เพื่อกระตุ้นให้ ลูกค้าเกิดความสนใจในสินค้าต่างๆ 2.การวางผังตามหมวดหมู่ของสินค้าและการออกแบบ ทางเดินสาหรับลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าสามารถเดินไปตาม จุดต่างๆ ได้อย่างเป็นระบบ และทราบว่าจะต้องไปซื้อ สินค้าที่บริเวณใดบ้าง 3.นาเครื่องหมาย สัญลักษณ์ต่างๆ มาใช้เพื่อสื่อสารข้อมูล กับลูกค้า การวางผังสาหรับกิจการค้าปลีก
  • 26. การวางผังคลังสินค้าและการจัดเก็บ วัตถุประสงค์ของการวางผังประเภทนี้ เพื่อหาจุดที่ เหมาะสมที่สุดระหว่างต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าและต้นทุนที่ เกี่ยวกับการใช้พื้นที่ ต้องจัดสรรพื้นที่ในคลังให้ใช้ประโยชน์ ได้สูงสุดและต้นทุนการขนถ่ายวัสดุต่าที่สุด องค์ประกอบสาคัญของการวางผังคลังสินค้าและการ จัดเก็บ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่รับมอบสินค้าและพื้นที่ จัดส่งสินค้า โดยต้องคานึงถึงสถานที่สาหรับใช้เก็บสินค้าและ ชนิดของยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่ง เช่น รถบบรรทุก รถไฟ เรือ หรือพาหนะแบบอื่นๆ 27
  • 27. การจัดเก็บแบบส่งผ่าน(Cross Docking) เป็นวิธีการจัดการสินค้าหรือวัตถุดิบที่ได้รับมอบเข้ามา โดยทาการส่งผ่านไปยังหน่วยงานเพื่อเข้าสู่กระบวนการ ผลิตโดยทันที สาหรับโรงงานอุตสาหกรรม สินค้าที่ได้รับ มอบจะถูกส่งโดยตรงไปที่สายการผลิต ในขณะที่ศูนย์ กระจายสินค้า สินค้าที่ได้รับมอบจะถูกนามาติดฉลาก และ เรียบเรียงใหม่ที่จุดจัดส่ง เพื่อทาการจัดส่งออกไปทันที วิธี นี้จะช่วยหลีกเลี่ยงกิจกรรมในส่วนการรับมอบ การจัดเก็บ และการคัดเลือก ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ไม่มีคุณค่า ทาให้ สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายขององค์การ 28 การวางผังคลังสินค้าและการจัดเก็บ
  • 28. การจัดเก็บเชิงสุ่ม (Random stocking) มีส่วนประกอบของงานดังต่อไปนี้ 1.จัดทารายการว่ามีพื้นที่ว่างบริเวณใดและมีขนาดเท่าใด 2.บันทึกรายการสินค้าที่อยู่ในคลังสินค้ารวมทั้งตาแหน่งที่ จัดเก็บ 3.จัดเรียงสินค้าตามลาดับเพื่อประหยัดเวลาในการค้นหา สินค้า 4.รวบรวมสินค้าเป็นกลุ่มเพื่อลดเวลาในการค้นหา 5.จัดสินค้าที่มีอัตราหมุนเวียนของสินค้าสูงไว้ในพื้นที่ที่เข้าถึง ได้สะดวก เพื่อช่วยในการเคลื่อนย้ายเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว 29 การวางผังคลังสินค้าและการจัดเก็บ
  • 29. การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ การวางผังแบบนี้เหมาะสาหรับการผลิตสินค้าหรือกลุ่มของ สินค้าที่มีความคล้ายคลึงกันในปริมาณมากลักษณะความ แตกต่างน้อย เป็นการผลิตซ้าๆและต่อเนื่องโดยอยู่ภายใต้ เกณฑ์ต่อไปนี้ 1.ปริมาณการสั่งซื้อมีมากที่จะทาให้อัตราการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์อยู่ในระดับสูง 2.ปริมาณความต้องการของสินค้าคงที่คุ้มค่าต่อการลงทุนใน เครื่องมืออุปกรณ์ 3.ลักษณะสินค้าเป็นมาตรฐานมีวงจรชีวิตที่เหมาะสมแก่การ ลงทุน 4.วัตถุดิบชิ้นส่วนอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต มีเพียงพอ มีคุณภาพ สม่าเสมอ สามารถนามาใช้งานได้กับเครื่องมืออุปกรณ์ 30
  • 30. มี2 รูปแบบ 1. แบบการผลิตชิ้นส่วน(Fabrication line) เป็นการผลิต ชิ้นส่วนอะไหล่ หรือชิ้นส่วนประกอบ เช่น การผลิตยางรถยนต์ ชิ้นส่วนโลหะตู้เย็น 2. แบบการประกอบชิ้นส่วน(Assembly line)เป็นการเอา ชิ้นส่วนต่างๆ มาประกอบเข้าด้วยกันเป็นตัวสินค้า เช่น การ นายางรถยนต์มาประกอบเข้าเป็นรถ หรือการนาเอาชิ้นส่วน โลหะมาประกอบเป็นตู้เย็น 31 การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์
  • 31. ข้อดีและข้อเสียของการวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ 32 ข้อดี ข้อเสีย 1. ต้นทุนแปรผันต่อหน่วยต่า สินค้าที่ได้มี มารตฐานใกล้เคียงกัน 1. ต้องมีปริมาณการผลิตเป็นจานวนมาก ถึง จะคุ้มค่ากับการลงทุนติดตั้งระบบดังกล่าว 2. ต้นทุนการขนถ่ายวัสดุต่า 2. หากเกิดการหยุดชงัก ณ จุดใดๆ จะส่งผล ทาให้กระบวนการผลิตทั้งระบบหยุดชะงัก เช่นเดียวกัน 3. ลดปริมาณสินค้าคงคลังประเภทงาน ระหว่างทา 3. ขาดความยืดหยุ่นในส่วนของการผลิต สินค้าหลายรูปแบบและในส่วนของอัตราการ ผลิต 4. ง่ายต่อการฝึกอบรมและควบคุม 5. ได้ผลผลิตที่รวดเร็ว
  • 32. บทสรุป ผังสถานประกอบการสามารถสร้างความแตกต่าง ให้กัประสิทธิภาพของการปฏิบัติการได้ การวางผัง สามารถแบ่งออกเป็น 7 รูปแบบได้แก่ 1.การวางผังแบบอยู่กับที่ 2.การวางผังแบบตามกระบวนการผลิต 3.การวางผังแบบกลุ่มเซลล์ปฏิบัติการ 4.การวางผังสานักงาน 5.การวางผังสาหรับกิจการค้าปลีก 6.การวางผังคลังสินค้าและการจัดเก็บ 7.การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ 33