SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐาน
แรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
การออกแบบงาน (Job Design)
1. การแบ่งงานตามความชานาญ
2. การขยายขอบเขตของงาน
3. การเพิ่มมูลค่าของงาน
4. การสับเปลี่ยนงาน
5. การศึกษาความสัมพันธ์ของมนุษย์กับ
เครื่องจักรและวิธีการทางาน
6. การสื่อสารด้วยภาพในที่ทางาน
เพื่อเพิ่มผลผลิตและสร้างความพึงพอใจในการทางาน
3
การขยายงาน (Job Expansion)
• Job Enlargement เพิ่มเนื้อหาของงานออกไปให้มีความ
หลากหลายในระดับเดียวกัน
• Job Enrichment ขยายขอบเขตโดยเพิ่มความรับผิดชอบใน
การทางานที่ท้าทายมากขึ้น
• Job Rotation พนักงานเปลี่ยนการทางานจากงานหนึ่งไปอีก
งานหนึ่ง
งานปัจจุบัน
ใช ้มือสอดและ
บัดกรีตัวต ้านทาน
ไฟฟ้า 6 ตัว
ควบคุม
(ทดสอบ
วงจรไฟฟ้าหลัง
การประกอบ)
การวางแผน
(มีส่วนร่วมในทีม
ปรับปรุงคุณภาพที่
เป็นแบบ cross
function)
งานที่ 2
(ติดฉลากบน
แผงวงจร)
งานที่ 3
(ทาแผงวงจรให ้ติด
แน่นสาหรับงานใน
ขั้นตอนต่อไป)
การเพิ่มหน้าที่ความรับผิดชอบในงาน(JobEnrichment)
การขยายงานตามแนวนอน (Job Enlargement)
การขยายงาน (job expansion)
5. การศึกษาความสัมพันธ์ของมนุษย์กับเครื่องจักร
 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับเครื่องจักร (Ergonomics)
 ผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องจักร (Operator input to machines)
 การป้อนกลับของระบบไปยังผู้ปฏิบัติงาน (Feedback to operators)
 สภาพแวดล ้อมการทางาน (Work environment)
 แสงสว่าง (Illumination)
 เสียง (Noise)
 อุณหภูมิและความชื้น (Temperature and humidity)
 การวิเคราะห์วิธีการ (Methods analysis) – การพัฒนาวิธีการในการทางาน
ให ้มีความปลอดภัย และสามารถผลิตสินค ้าที่มีคุณภาพได ้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อทา
ให ้การปฏิบัติงานได ้มาตรฐานทั้งด ้านปริมาณและคุณภาพ รวมถึงความปลอดภัย
6. การสื่อสารด้วยภาพในที่ทางาน
 มีต ้นทุนต่าและทาให ้การสื่อสารภายในองค์กรเป็นไปอย่างรวดเร็วและ
แม่นยา
1.อัตรากาลังแรงงานที่ต้องการ
2.ต้นทุนการดาเนินงาน
3.แนวทางการกาหนดวิธีการทางาน
4. กาหนดช่วงเวลาปฏิบัติงาน
มาตรฐานแรงงานและการวัดการทางาน
1.การศึกษาเวลา
2.เวลามาตรฐานที่ได้
กาหนดไว้แล้ว
การหาเวลามาตรฐาน
เวลามาตรฐาน คือ การหาจานวนนาทีการทางานของคนงานที่ฝึกมาดี
ด้วยความเร็วปกติ
1. การศึกษาเวลา TIME STUDY
 รอบเวลาเฉลี่ย Average Cycle Time
ผลรวมของเวลาจริงที่ถูกสังเกตและบันทึกในการทางานย่อยใด ๆ
จานวนครั้งหรือรอบที่ทาการสังเกต
เวลาปกติ Normal Time
รอบเวลาเฉลี่ย x อัตราความเร็วในการปฏิบัติงาน
 เวลามาตรฐาน Standard Time
เวลาปกติทั้งหมด
(1- ค่าเผื่อเวลา)
10
3.เวลาเผื่อ
สาหรับความ
ล่าช้า
1. เวลาเผื่อ
สาหรับบุคคล
2. เวลาเผื่อ
สาหรับ
ความเครียด
การนาผลลัพธ์จากการประเมินผลการปฏิบัติงานไปใช้
ค่าเผื่อเวลา
ตัวอย่างที่ 1
จากการศึกษาการปฏิบัติงาน ได ้ค่าเฉลี่ยรอบระยะเวลาที่เป็นจริง 4 นาที
นักวิเคราะห์ให ้การปฏิบัติงานของคนงานปฏิบัติงานที่ระดับ 85% ของระดับ
ปกติ องค์กรแห่งนี้ใช ้ปัจจัยของเวลาที่เผื่อไว ้เท่ากับ 13% จงคานวณหาเวลา
มาตรฐาน
วิธีทา
ค่าเฉลี่ยเวลาที่เป็ นจริง (Average actual cycle time) = 4 นาที
เวลาปกติ (Normal time)
= ค่าเฉลี่ยรอบระยะเวลาที่เป็นจริง x อัตราความเร็วในการปฏิบัติงาน
(performance rating factor: RF)
= (4) x (0.85) = 3.4 นาที
เวลามาตรฐาน (Standard time)
= เวลาปกติทั้งหมด (Total normal time) = 3.4 = 3.9 นาที
1 – ปัจจัยของเวลาที่เผื่อไว ้ (Allowance factor) 1 - 0.13
รอบการสังเกต (นาที)
1.พิมพ์จดหมาย 8 10 9 21* 11 120%
2.พิมพ์จ่าหน้าซอง 2 3 2 1 3 105 %
3. ติดแสตมป์
ปิดผนึก จัดเรียง 2 1 5* 2 1 110%
งานย่อย 1 2 3 4 5 อัตราเร็ว
ค่าเฉลี่ยเวลา A = (8+10+9+11)/4 = 9.5 นาที
ค่าเฉลี่ยเวลา B = (2+3+2+1+3)/5 = 2.2 นาที
ค่าเฉลี่ยเวลา C = (2+1+2+1)/4 = 1.5 นาที
ตัวอย่างที่ 2
ค่าเฉลี่ยเวลา A = (8+10+9+11)/4 = 9.5 นาที
ค่าเฉลี่ยเวลา B = (2+3+2+1+3)/5 = 2.2 นาที
ค่าเฉลี่ยเวลา C = (2+1+2+1)/4 = 1.5 นาที
เวลาปกติ A = 9.5*1.2 = 11.4 นาที
เวลาปกติ B = 2.2*1.05 = 2.31 นาที
เวลาปกติ C = 1.5*1.10 = 1.65 นาที
ค่าเผื่อเวลา 15%
เวลาปกติทั้งหมด 11.4+2.31+1.65 = 15.36 นาที
เวลามาตรฐาน = 15.36/ (1-0.15) = 18.07 นาที
เทคโนโลยีในการผลิต
เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง ความรู้และทักษะ
(Know-how) เครื่องมือ และกระบวนการผลิตสินค้า
และบริการ โดยเป็ นความรู้และทักษะในการใช้
เครื่องมืออุปกรณ์และการผลิตสินค้าหรือบริการซึ่ง
รวมถึงฝีมือและประสบการณ์ที่ไม่สามารถจัดทาเป็น
เอกสารคู่มือการทางานได้
1. เทคโนโลยีเครื่องจักรกล (Machine
Technology)
งานของเครื่องจักรกลส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับงาน
ต่างๆ ทั่วไป อันได้แก่ งานตัด งานเจาะ งานกลึง และ
งานกัด โดยชิ้นงานที่จะนามาผ่านกระบวนการต่างๆ
ได้แก่ เหล็ก อลูมิเนียม ไม้ และอื่นๆ
2. คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต (Computer-
aided Manufacturing ; CAM)
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต (CAM) เป็นการนาคอมพิวเตอร์
มาช่วยในการดาเนินงานการผลิตเพื่อให้เกิดการใช้ปัจจัยการผลิตและ
ผลผลิตตามที่ต้องการ
ปรับปรุงการใช้ประโยชน์
จากทรัพยากร
ช่วยในการควบคุมต้นทุน
สินค้าคงคลัง
ประโยชน์คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต
3.การควบคุมกระบวนการ (Process Control)
การควบคุมกระบวนการอัตโนมัติ เป็นการนา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการติดตามและ
ควบคุมกระบวนการผลิตสินค้าหรืองานบริการ
4.ระบบตรวจสอบด้วยภาพ (Vision Systems)
เป็นการทางานร่วมกันระหว่างกล้องถ่ายภาพวีดีทัศน์
กับเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการ
ตรวจสอบกระบวนการผลิตหรือการดาเนินงาน
เป็นการใช้หุ่นยนต์ซึ่งควบคุมโดยระบบคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการ
ปฏิบัติงานของกิจกรรมต่างๆ ในการผลิต
5.หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
(Industrial Robots)
เช่น การหลอมโลหะ การพ่นสี
การประกอบชิ้นส่วน การเก็บ
และเบิกวัตถุดิบ ฯลฯ
6. ระบบจัดเก็บสินค้าคงคลังและเรียกคืนอัตโนมัติ (Automated
Storage and Retrieval System: ASRS)
เป็ นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการควบคุม
อัตโนมัติทั้งในส่วนของการจัดเก็บสินค้าและ
เรียกคืนชิ้นงาน โดยคอมพิวเตอร์จะแสดง
ตาแหน่งว่างของชั้นวางที่เหมาะสมกับชิ้นงาน
นั้น ๆ และจะสั่งให้ชุดจัดเก็บซึ่งถูกขับเคลื่อน
ด้วยชุดเครนยกชิ้นงานที่ต้องการจัดเก็บ
เคลื่อนที่เข้าไปจัดเก็บบนชั้นวางที่ว่างนั้น เมื่อ
ต้องการเรียกคืนชิ้นงาน พนักงานก็เพียงใช้
คาสั่งคอมพิวเตอร์เพื่อให้ชุดเรียกคืนไปนา
ชิ้นงานนั้นมาให้พนักงาน
7. การลาเลียงวัสดุอัตโนมัติ
(Automated Material Handling)
7.1 ระบบควบคุมพาหนะขับเคลื่อนอัตโนมัติ
(Automated Drive Vehicle System ; ADVS)
7.2 ระบบการจัดเก็บและกู้กลับอัตโนมัติ
(Automated Storage and Retrieval Systems ; ASRS)
8. ระบบการผลิตแบบยืดหยุ่น
(Flexible Manufacturing System: FMS )
ระบบการยืดหยุ่น เป็ นระบบ
คอมพิวเตอร์ที่ถูกนามาใช้ในการ
ค ว บ คุ ม ห น่ ว ย ก า ร ผ ลิ ต ที่
ประกอบด้วยเครื่องจักรกลและ
อุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุให้สามารถ
ทางานประสานกันได้ อย่ าง
อัตโนมัติ
9. การผสานระบบคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบการผลิตอย่างบูรณาการ
(Computer Integrated Manufacturing: CIM )
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการออกแบบจะส่งข้อมูล
ชุดคาสั่งไปให้กับเครื่องจักรกล เพื่อให้เครื่องจักรเหล่านั้นทาการ
ผลิตสินค้าตามที่ออกแบบมาในเวลาเพียงไม่กี่นาที หรืออาจส่ง
ข้อมูลให้กับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมในการประกอบชิ้นงาน และให้มี
การตรวจสอบคุณภาพด้วยการควบคุมกระบวนการ

More Related Content

What's hot

การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังแผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
Phisitasak Wisatsukun
 
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลาบทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
Teetut Tresirichod
 
9เร่งโครงการ
9เร่งโครงการ9เร่งโครงการ
9เร่งโครงการ
pop Jaturong
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
Rungnapa Rungnapa
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
Mypoom Poom
 

What's hot (20)

การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
Line Balancing
Line BalancingLine Balancing
Line Balancing
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังแผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
 
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลาบทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
 
9เร่งโครงการ
9เร่งโครงการ9เร่งโครงการ
9เร่งโครงการ
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 

Viewers also liked

Flexible Manufacturing Systems V2 090310
Flexible Manufacturing Systems V2 090310Flexible Manufacturing Systems V2 090310
Flexible Manufacturing Systems V2 090310
Leicester College- Technology & Engineering Centre
 
ตารางเหล็ก
ตารางเหล็กตารางเหล็ก
ตารางเหล็กNarasak Sripakdee
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมPannathat Champakul
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
Teetut Tresirichod
 
Flexible Manufacturing System
Flexible Manufacturing SystemFlexible Manufacturing System
Flexible Manufacturing System
Desai Vaishali
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 
Flexible manufacturing systems
Flexible manufacturing systems Flexible manufacturing systems
Flexible manufacturing systems
Nityanand Yadav
 
Chapter 1 introduction to automation
Chapter 1   introduction  to automationChapter 1   introduction  to automation
Chapter 1 introduction to automationMohamad Sahiedan
 
Flexible manufacturing system(FMS).
Flexible manufacturing system(FMS).Flexible manufacturing system(FMS).
Flexible manufacturing system(FMS).
Nitin Patil
 

Viewers also liked (10)

Flexible Manufacturing Systems V2 090310
Flexible Manufacturing Systems V2 090310Flexible Manufacturing Systems V2 090310
Flexible Manufacturing Systems V2 090310
 
ตารางเหล็ก
ตารางเหล็กตารางเหล็ก
ตารางเหล็ก
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
 
Flexible Manufacturing System
Flexible Manufacturing SystemFlexible Manufacturing System
Flexible Manufacturing System
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
 
Flexible manufacturing systems
Flexible manufacturing systems Flexible manufacturing systems
Flexible manufacturing systems
 
Chapter 1 introduction to automation
Chapter 1   introduction  to automationChapter 1   introduction  to automation
Chapter 1 introduction to automation
 
Flexible manufacturing system(FMS).
Flexible manufacturing system(FMS).Flexible manufacturing system(FMS).
Flexible manufacturing system(FMS).
 

Similar to บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต

แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3teerachon
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01pannee
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศMeaw Sukee
 
Lean 4 ฉบับอ่านเล่น
Lean 4 ฉบับอ่านเล่นLean 4 ฉบับอ่านเล่น
Lean 4 ฉบับอ่านเล่น
maruay songtanin
 
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานีแบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
peter dontoom
 
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานีแบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
peter dontoom
 
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานีแบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
peter dontoom
 
การงาน3
การงาน3การงาน3
การงาน3pannee
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
GanokwanBaitoey
 

Similar to บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต (20)

แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01
 
Automation dishwasher
Automation dishwasherAutomation dishwasher
Automation dishwasher
 
Lean present opd_2551
Lean present opd_2551Lean present opd_2551
Lean present opd_2551
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Lean 4 ฉบับอ่านเล่น
Lean 4 ฉบับอ่านเล่นLean 4 ฉบับอ่านเล่น
Lean 4 ฉบับอ่านเล่น
 
Automation dishwasher1
Automation dishwasher1Automation dishwasher1
Automation dishwasher1
 
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานีแบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
 
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานีแบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
 
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานีแบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
แบบทดสอบ3000 0201 ปทุมธานี
 
Kaizen
KaizenKaizen
Kaizen
 
16 บทที่ 4 f
16 บทที่ 4 f16 บทที่ 4 f
16 บทที่ 4 f
 
™Pbl8.2
™Pbl8.2™Pbl8.2
™Pbl8.2
 
งานนำเสนอกลุ่ม10
งานนำเสนอกลุ่ม10งานนำเสนอกลุ่ม10
งานนำเสนอกลุ่ม10
 
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐานงานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
 
การงาน3
การงาน3การงาน3
การงาน3
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ส่วนนำ ทวีชัย
ส่วนนำ  ทวีชัยส่วนนำ  ทวีชัย
ส่วนนำ ทวีชัย
 
presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
 

More from Rungnapa Rungnapa

Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
Rungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Rungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
Rungnapa Rungnapa
 
Ch10
Ch10Ch10
Ch9
Ch9Ch9
Ch8
Ch8Ch8
Ch7
Ch7Ch7
Ch5
Ch5Ch5
Ch6 new
Ch6 newCh6 new
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
Rungnapa Rungnapa
 

More from Rungnapa Rungnapa (20)

Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Ch10
Ch10Ch10
Ch10
 
Ch9
Ch9Ch9
Ch9
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch7
Ch7Ch7
Ch7
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
Ch6 new
Ch6 newCh6 new
Ch6 new
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
 

บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต