SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
บทที่ 12
การจัดการสินค้าคงคลัง
การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการการผลิตและปฏิบัติการ
แปลถูกต้องตามลิขสิทธ์โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ ผู้จัทาการนาเสนอภาพนิ่ง
มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธ์แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น
เนื้อหา
กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก
หน้าที่ของสินค้าคงคลัง
การจัดการสินค้าคงคลัง
ตัวแบบสินค้าคงคลัง
ตัวแบบสินค้าคงคลังกรณี
ความต้องการที่เป็นอิสระ
ระบบกาหนดรอบเวลาคงที่
กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก
การจัดการสินค้าคงคลังสร้างความได้เปรียบ
ทางการแข่งขันให้กับ Amazon.com
- ค.ศ. 1995 Amazon.com ต้องการให้ธุรกิจมีลักษณะแบบผู้ค้า
ปลีกเสมือนจริง (Virtual retailer) ที่ไม่มีสินค้าคงคลัง ไม่มี
ค่าใช้จ่ายค่าโสหุ้ย มีเพียงแค่คอมพิวเตอร์ที่คอยรับคาสั่งซื้อและ
คอยตอบสนองความต้องการ แต่ความเป็นจริงนั้นไม่ใช่
- ปัจจุบัน Amazon มีสินค้าคงคลังจานวนนับล้านรายการในคลังทั่ว
ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใช้พื้นที่เกือบสองเท่าของตึกระฟ้า
Empire State Building
Amazon ถือได้ว่าเป็นบริษัทชั้นนาทางด้านการ
จัดการคลังสินค้าและการใช้ระบบอัตโนมัติเข้ามาดาเนินการ
โดยมีวิธีดังต่อไปนี้
1. หากมีลูกค้าสั่งสินค้า 3 รายการ ได้แก่ หนังสือ เกมส์คอมฯ และ
กล้องถ่ายรูปดิจิตอล ระบบคอมพิวเตอร์จะส่งรายการสินค้าไป
ยังศูนย์
2. เมื่อรับคาสั่งซื้อมาถึงศูนย์ ระบบคอมพิวเตอร์จะแจ้งให้ทราบว่า
พนักงานคนใดจะเป็นผู้ดูแลรายการสั่งซื้อ และไปที่จุดใด
3. ไฟสีแดงที่ชั้นวางสินค้าจะแสดงให้ทราบว่า มีสินค้าใดบ้างได้รับ
การสั่งซื้อ ระบบนี้เรียก “pick-to-light” จะมีความเร็วเป็นสอง
เท่าของการหยิบแบบปกติและช่วยลดอัตราความผิดพลาดอยู่ใน
ระดับเกือบศูนย์
4. สินค้าที่ถูกสั่งซื้อจะถูกจัดลงในหลังจากนั้น ลังจะเคลื่อนไปบน
สายพาน โดยสัญลักษณ์บาร์โค้ดที่ติดอยู่กับตัวสินค้าจะ
ตรวจสอบถึง 15 ครั้ง เพื่อให้มีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด
5. สินค้าทั้ง 3 รายการจะถูกลาเลียงมาที่ศูนย์กลาง เมื่อตรวจสอบ
พบว่าตัวเลขบาร์โค้ดที่สินค้าตรงกับใบสั่งซื้อ สินค้าจะถูกแยกใส่
กล่องสาหรับลูกค้าแต่ละรายและออกบาร์โค้ดใหม่
6. Amazon อบรมพนักงานสาหรับการห่อกล่องสินค้า ซึ่งแต่ละคน
ทาได้ถึง 30 ชิ้นต่อชั่วโมง
7. กล่องสินค้าจะได้รับการบรรจุติดเทปกาว ชั่งน้าหนัก และติด
ฉลากก่อนส่งออกจากคลังสินค้า
8. ภายใน 1 สัปดาห์ ลูกค้าจะได้รับสินค้า
หน้าที่ของสินค้าคงคลัง
มี 4 ประการที่ช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้กับการปฏิบัติงาน
ได้แก่
1. เพื่อทาให้ส่วนต่างๆ ของกระบวนการผลิตเป็นอิสระต่อกัน
2. เพื่อป้องกันการแลกเปลี่ยนความต้องการ รวมทั้งเป็นการเลือก
ให้กับลูกค้า
3. เพื่อสร้างการได้เปรียบจากส่วนลดการสั่งซื้อ
4. ป้องกันกรณีการเกิดภาวะเงินเฟ้อ หรือภาวะการเปลี่ยนแปลง
ราคาของสินค้า
ประเภทของสินค้าคงคลัง
แบ่งออกเป็น 4 ประเภทที่สาคัญ คือ
1. สินค้าคงคลังประเภทวัตถุดิบ (Raw material intervention)
2. สินค้าคงคลังประเภทงานระหว่างทา [work-in-process
inventory (WIP)]
3. สินค้าคงคลังประเภทอะไหล่สาหรับการซ่อมบารุง
[Material/Repair/Operation(MROs)]
4. สินค้าคงคลังประเภทผลิตสาเร็จรูป (Finished goods
inventory)
การแบ่งประเภทสินค้าคงคลังตามมาตรฐาน
กิจกรรม (ABC analysis)
แบ่งประเภทของสินค้าคงคลังออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่
• สินค้าคงคลังประเภท A จะมีสัดส่วนคิดเป็น 15% ของปริมาณ
สินค้าคงคลังทั้งหมด แต่มีมูลค่าสูงคิดเป็น 70-80% ของข้อมูล
สินค้าคงคลังทั้งหมด
• สินค้าคงคลังประเภท B จะมีสัดส่วนคิดเป็น 30% ของปริมาณ
สินค้าคงคลังทั้งหมด แต่มีมูลค่าสูงคิดเป็น 15-25% ของข้อมูล
สินค้าคงคลังทั้งหมด
• สินค้าคงคลังประเภท C จะมีสัดส่วนคิดเป็น 55% ของปริมาณ
สินค้าคงคลังทั้งหมด แต่มีมูลค่าสูงคิดเป็น 5% ของข้อมูลสินค้า
คงคลังทั้งหมด
การจัดการควบคุมสินค้าในธุรกิจบริการ มีดังนี้
1) คัดเลือกบุคลากร จัดการฝึกอบรม และออกกฎระเบียบข้อบังคับ
อย่างเหมาะสมเพื่อให้ได้ทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทางาน
ดูแลสินค้าให้มีระบบภายใต้กฎข้อบังคับที่องค์การได้ตั้งไว้ให้เป็นไปใน
ทิศทางเดียวกับเป้าหมายขององค์การ
2) ควบคุมการรับวัสดุหรือสินค้าอย่างเข้มงวด อาจทาได้โดย การ
ใช้บาร์โค้ด การเช็ดเวลาทาการ และการควบคุมด้านอื่นๆ
3) ใช้เทคนิคหรืออุปกรณ์อานวยความสะดวก ในการควบคุมสินค้า
อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การใช้แถบแม่เหล็กบนเครื่องหมายการค้า
การควบคุมของพนักงานบริเวณทางออก การติดตั้งวงจรเพื่อตรวจตรา
ป้องกันการสูญหายหรือลักลอบขโมย เป็นต้น
ต้นทุนการเก็บรักษา การสั่งซื้อ และการจัดเตรียม
(Holding, ordering and setup costs )
1. ต้นทุนการเก็บรักษา เป็นค่าใช้จ่ายในการดูแลสินค้าคงคลัง
ทั้งหมด รวมถึงต้นทุนสินค้าหมดอายุและการจัดเก็บ
2. ต้นทุนการสั่งซื้อ เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในกระบวนการ
สั่งซื้อ ตั้งแต่การออกใบสั่งซื้อ การบันทึกหลักฐาน การตรวจ
รับสินค้า การตรวจสอบเอกสาร และงานธุรการ
3. ต้นทุนการจัดเตรียม เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดเตรียม
เครื่องจักรหรือกระบวนการผลิตตามคาสั่งซื้อ
ตัวแบบนี้เป็นการควบคุมสินค้าคงคลังที่นิยมใช้กัน ซึ่งการ
นาไปใช้จะต้องอยู่ภายใต้สมมติฐานต่อไปนี้
1. ทราบปริมาณความต้องการที่มีค่าคงที่ สม่าเสมอและเป็นอิสระ
2. ทราบเวลานาหรือระยะเวลาที่ใช้ตั้งแต่การออกใบสั่งซื้อ
จนกระทั่งได้รับวัสดุหรือสินค้าที่มีค่าคงที่สม่าเสมอ
3. ได้รับสินค้าคงคลังครบถ้วนในช่วงเวลาเดียวกัน
4. ไม่มีส่วนลดจากปริมาณการสั่งซื้อ
5. ต้นทุนการเก็บรักษา การสั่งซื้อ และการจัดเตรียม เป็นต้นทุน
แปรผันเพียงประเภทเดียวเท่านั้น
6. ไม่เกิดกรณีการขาดแคลนสินค้า
ตัวแบบปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัด
(Economic order quantity modal (EOQ))
จากสมมติฐาน สามารถแสดงเป็นกราฟแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับสินค้าคงคลัง และระยะเวลาได้ดังรูป
ต้นทุนต่าที่สุด
วัตถุประสงค์ของตัวแบบสินค้าคงคลัง คือ การทาให้
ต้นทุนรวมมีค่าต่าสุด โดยจะต้องทาให้ผลรวมของต้นทุนการ
เก็บรักษา และการจัดเตรียม(หรือการสั่งซื้อ) มีค่าต่าที่สุด
ในขณะที่ต้นทุนอื่นๆ เช่น ต้นทุนของตัวสินค้าคงคลังจะมี
ค่าคงที่
ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนรวมและปริมาณสั่งซื้อ
Q*
โดยสามารถกาหนดตัวแปรต่างๆดังนี้
Q = ปริมาณสั่งซื้อในแต่ละครั้ง
Q* = ปริมาณสั่งซื้อที่เหมาะสมที่สุด (ประหยัดที่สุด)
ในแต่ละครั้ง
D = ปริมาณความต้องการสินค้าต่อปี
S = ต้นทุนการจัดเตรียม หรือต้นทุนการสั่งซื้อ ในแต่ละครั้ง
H = ต้นทุนการเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปี
1. การคานวณต้นทุนการจัดเตรียม หรือการสั่งซื้อต่อปี
ต้นทุนการสั่งซื้อต่อปี = จานวนครั้งของการสั่งซื้อต่อปี × ต้นทุนการสั่งซื้อ
= ปริมาณความต้องการสินค้าต่อปี × ต้นทุนการสั่งซื้อ
ปริมาณสั่งซื้อในแต่ละครั้ง
=
2. การคานวณหาต้นทุนการเก็บรักษาต่อปี
ต้นทุนการเก็บรักษาต่อปี = ปริมาณสินค้าคงคลังเฉลี่ย × ต้นทุนการเก็บ
รักษาต่อหน่วยต่อปี
=
3. การคานวณหาปริมาณสั่งซื้อที่เหมาะสมที่สุด (EOQ)
ต้นทุนการสั่งซื้อต่อปี = ต้นทุนการเก็บรักษาต่อปี
4.การหาค่า Q* จากการแก้สมการ
ตัวอย่าง บริษัท Sharp, Inc. ตัวแทนขายเข็มฉีดยาต้องการจะ
ลดค่าใช้จ่ายสินค้าคงคลังให้น้อยลง โดยใช้ตัวแบบปริมาณสั่งซื้อที่
ประหยัด ความต้องการสินค้าต่อปีเท่ากับ 1,000 หน่วย ต้นทุนการ
สั่งซื้อเท่ากับ 10 ดอลลาร์สหรัฐต่อครั้ง ต้นทุนการเก็บรักษาต่อหน่วย
ต่อปีเท่ากับ 0.50 ดอลลาร์สหรัฐ จงคานวณหาปริมาณสั่งซื้อเข้มฉีด
ยาที่ประหยัดที่สุด
= 200 หน่วย
สามารถคานวณหาจานวนครั้งของการสั่งซื้อต่อปี (N) และ
ช่วงเวลาระหว่างการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง (T) ได้ดังนี้
N = ปริมาณความต้องการต่อปี / ปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมที่สุด
T = จานวนวันทางานต่อปี / N
จากตัวอย่างที่แล้ว ถ้ากาหนดวันทางานเท่ากับ 250 วันต่อปี จะพบว่า
ดังนั้น บริษัท Sharp, Inc. จะต้องทาการสั่งซื้อทั้งหมด 5 ครั้ง
ต่อปี และมีช่วงเวลาระหว่างการสั่งซื้อในแต่ละครั้งนาน 50 วัน
ต้นทุนรวมสินค้าคงคลังต่อปีสามารถหาได้จาก
ต้นทุนรวมต่อปี = ต้นทุนการสั่งซื้อ + ต้นทุนการเก็บรักษา
ตัวอย่าง จากตัวอย่างเดิม บริษัท Sharp, Inc. สามารถหาต้นทุนรวม
สินค้าคงคลังได้ดังนี้
ต้นทุนรวมสินค้าคงคลังมีมูลค่าเท่ากับ 100 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
จากการสั่งซื้อในปริมาณที่เหมาะสมที่สุด
จุดสั่งซื้อใหม่ (Reorder points : ROP)
การกาหนดปริมาณสินค้าคงคลังส่วนหนึ่งไว้เป็น สินค้า
ปลอดภัย (Safety stock) เพื่อป้องกันสินค้าขาดแคลน โดยมี
สมมติฐานที่ว่า การได้รับสินค้าจะต้องเป็นไปโดยทันที ดังนี้
• บริษัทจะทาการสั่งซื้อเมื่อระดับสินค้าหมดลง
• สินค้าที่สั่งซื้อสามารถถูกจัดส่งได้ทันที โดยที่ระยะเวลา
ระหว่างการสั่งซื้อ และการได้รับสินค้า เรียกว่า เวลานา (Lead
time)หรือเวลาในการส่งมอบ (Delivery time) ซึ่งอาจเป็น
ช่วงเวลาที่สั้นไม่กี่ชั่วโมง หรืออาจนานเป็นเดือนก็ได้ ซึ่งหาได้
จาก
จุดสั่งซื้อใหม่ = (ปริมาณความต้องการต่อวัน)x(เวลานาในการส่งมอบ)
= d x L
หาปริมาณความต้องการต่อวัน สามารถหาได้จาก
d = D
จานวนวันทางานใน 1 ปี
d = ปริมาณความต้องการต่อวัน
D = ปริมาณความต้องการต่อปี
ตัวอย่าง บริษัทประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์มีความต้องการชิ้นส่วน
จานวน 8,000 ชิ้น/ปี บริษัทมีวันทางานใน 1 ปีเท่ากับ 250 วัน โดยเฉลี่ย
แล้ว เวลานาในการส่งมอบเท่ากับ 3 วัน จงคานวณหาจุดสั่งซื้อใหม่
d = D
จานวนวันทางานใน 1 ปี
= 8,000
250
= 32 ชิ้น
ROP = d x L
= 32 x 3
= 96 ชิ้น
ดังนั้น บริษัทจะทาการสั่งซื้อใหม่เมื่อมีระดับสินค้าคงคลังลดลง
มาอยู่ที่ 96 ชิ้น โดยใช้ระยะเวลาในการส่งมอบเท่ากับ 3 วัน
ตัวแบบปริมาณสั่งผลิต
(Production order quantity model)
จะสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ใน 2 กรณี ได้แก่
1. สินค้าคงคลังมีการไหลอย่างต่อเนื่อง หรือมีการส่งมอบสินค้า
เป็นระยะๆหลังจากทาการสั่งซื้อ
2. มีการผลิตและขายในเวลาเดียวกัน จึงต้องพิจารณา อัตราการ
ผลิตต่อวัน (อัตราการไหลของสินค้าคงคลัง) และอัตราความต้องการ
ต่อวัน (อัตราการใช้ต่อวัน)
การกาหนดตัวแปรที่ใช้ในการคานวณหาปริมาณการผลิตที่
เหมาะสมที่สุด (Q*) สาหรับตัวแบบปริมาณสั่งผลิต มีดังนี้
Q = ปริมาณการผลิตในแต่ละครั้ง
H = ต้นทุนการเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปี
p = อัตราการผลิตต่อวัน
d = อัตราความต้องการต่อวัน หรืออัตราการ
ใช้ต่อวัน
t = ระยะเวลาในการผลิตต่อวัน
1. การคานวณต้นทุนการเก็บรักษาต่อปี
ต้นทุนการเก็บรักษาต่อปี = ปริมาณสินค้าคงคลังเฉลี่ย x ต้นทุนการเก็บรักษา
ต่อหน่วยต่อปี
2. การคานวณปริมาณสินค้าคงคลังเฉลี่ย
ปริมาณสินค้าคงคลังเฉลี่ย = ปริมาณสินค้าคงคลังสูงสุด (H)
2
3. การคานวณหาปริมาณสินค้าคงคลังสูงสุด
ปริมาณสินค้าคงคลังสูงสุด = ปริมาณการผลิตต่อช่วงเวลา – ปริมาณที่ใช้ต่อ
ช่วงเวลา
= pt – dt
อย่างไรก็ตาม Q = pt ดังนั้น
ปริมาณสินค้าคงคลังสูงสุด =
=
=
4.การหาค่าต้นทุนการเก็บรักษาต่อปี จากการแก้สมการ
= ปริมาณสินค้าคงคลังสูงสุด (H)
2
=
การกาหนดการผลิตที่เหมาะสมที่สุด จะต้องทาการ
กาหนดต้นทุนการเก็บรักษาเท่ากับต้นทุนการจัดเตรียม ดังนี้
ต้นทุนการเก็บรักษา =
ต้นทุนการจัดเตรียม =
ต้นทุนการจัดเตรียม = ต้นทุนการเก็บรักษา
=
=
ตัวอย่าง บริษัท Nathan Manufacturing, Inc. ผู้ผลิตและขายฝา
ครอบล้อรถยนต์ คาดว่าปีหน้าจะมีปริมาณความต้องการเท่ากับ
1,000 หน่วย โดยมีความต้องการเฉลี่ยต่อวันเท่ากับ 4 หน่วยต่อวัน
ดังนั้นถ้าบริษัทผลิต 8 หน่วยต่อวัน แต่ใช้เพียงแค่ 4 หน่วยต่อวัน
บริษัทควรที่จะมีปริมาณการผลิตเท่าใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
(โรงงานนี้มีวันทางาน 250 วันต่อปี)
ปริมาณความต้องการต่อปี (D) = 1,000 หน่วย
ต้นทุนการจัดเตรียม (S) = 10 ดอลลาร์สหรัฐ
ต้นทุนการเก็บรักษา (H) = 0.50 ดอลลาร์สหรัฐต่อหน่วย
ต่อปี
อัตราการผลิตต่อวัน (p) = 8 หน่วย
อัตราความต้องการต่อวัน (d) = 4 หน่วย
จากสูตร =
แทนค่า =
= 282.4 หรือ 283 หน่วย
ตัวแบบส่วนลดปริมาณ(Quantity Model)
เป็นการเพิ่มยอดขาย โดยส่วนลดปริมาณ คือ จะมีการลดราคา (P)
เมื่อมีการสั่งซื้อสินค้าจานวนมาก
จะเห็นได้ว่าหากสั่งซื้อในปริมาณที่มากขึ้นจะได้รับส่วนลดมากยิ่งขึ้น
แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าต้นทุนโดยรวมจะลดลงต่าสุด เพราะจะมีต้นทุนการ
เก็บรักษาจะมีค่าสูงขึ้นตามลาดับ ดังนั้นผลดีผลเสียระหว่างต้นทุนการผลิต
และการเก็บรักษาจึงต้องนามาพิจารณา
ต้นทุนรวม = ต้นทุนการจัดเตรียม + ต้นทุนการเก็บรักษา + ต้นทุนการผลิต
หรือ
กาหนดให้ Q = ปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง
D = ปริมาณความต้องการสินค้าต่อปี
S = ต้นทุนการจัดเตรียมต่อครั้ง หรือต้นทุนการสั่งซื้อต่อครั้ง
P = ราคาต่อหน่วย
H = ต้นทุนการเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปี
ตัวแบบส่วนลดปริมาณ(Quantity Model)(ต่อ)
วิธีการหาปริมาณการสั่งซื้อที่ทาให้ต้นทุนสินค้าคงคลังโดยรวมต่อปี
ต่าที่สุด โดยมีเงื่อนไขการสั่งซื้อแบบลดปริมาณมี 4 ขั้นตอน ดังนี้
1.คานวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมที่สุด(Q*)ในแต่ละอัตรา
ส่วนลด โดยใช้สมการ
สังเกตได้ว่า IP ถูกใช้แทนที่ H เนื่องจากราคาสินค้าเป็น
องค์ประกอบของต้นทุนการเก็บรักษาต่อปีซึ่งไม่สามารถกาหนดเป็น
ค่าคงที่ได้ เนื่องจากราคาสินค้ามีการเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณส่วนลด
ในแต่ละรายการ ดังนั้นจึงแสดงต้นทุนการเก็บรักษา (I) ในรูปเปอร์เซ็นต์
ของราคาต่อหน่วย (P)
ตัวแบบส่วนลดปริมาณ(Quantity Model)(ต่อ)
2. นาค่าที่ได้จากข้อที่ 1 มาพิจารณาว่าสอดคล้องกับเงื่อนไข
ส่วนลดรายการใด หากไม่สอดคล้องจะต้องทาการปรับให้ปริมาณการ
สั่งซื้ออยู่ที่ระดับต่าที่สุดในแต่ละเงื่อนไขส่วนลด
ตัวแบบส่วนลดปริมาณ(Quantity Model)(ต่อ)
ต้นทุนรวมที่เกิดขึ้นในการสั่งซื้อแบบมีส่วนลดปริมาณในระดับต่างๆ
3. คานวณหาต้นทุนสาหรับทุก Q* ที่ได้จากขั้นตอนที่ 1 และ 2 หาก
มีการปรับค่า Q* เพิ่มขึ้นเนื่องจากมีช่วงที่ต่ากว่าช่วงปริมาณที่ได้รับ
ส่วนลดที่ต้องการ จะต้องแน่ใจว่ามีการปรับค่าของ Q* ด้วย
4. เลือก Q* ที่มีต้นทุนรวมต่าที่สุดที่ได้มาจากขั้นตอนที่ 3 เป็น
เกณฑ์ในการตัดสินใจ ซึ่งเป็นปริมาณการสั่งซื้อที่จะทาให้ต้นทุนสินค้าคง
คลังโดยรวมมีค่าต่าที่สุด
ตัวแบบส่วนลดปริมาณ(Quantity Model)(ต่อ)
ตัวอย่าง ร้านค้าปลีก Wohl’s ผู้จาหน่ายรถแข่งเด็กเล่นได้จัดทา
ตารางส่วนลดสาหรับรถแข่งเหล่านี้
นอกจากนี้ ต้นทุนการสั่งซื้อต่อครั้งเท่ากับ 49 ดอลลาร์สหรัฐ
ปริมาณความต้องการต่อปีเท่ากับ 5,000 คัน ต้นทุนการเก็บรักษาคิด
เป็นร้อยละ 20 ของราคาต่อหน่วย (I) หรือ 0.2 จงคานวณหาปริมาณ
สั่งซื้อที่จะทาให้ต้นทุนสินค้าคงคลังโดยรวมต่าที่สุด
ตัวแบบส่วนลดปริมาณ(Quantity Model)(ต่อ)
ขั้นตอนที่ 1 คือ การคานวณหาค่า Q* สาหรับทุกๆส่วนลดใน
ตัวแบบส่วนลดปริมาณ(Quantity Model)(ต่อ)
ขั้นตอนที่ 2 ปรับค่า Q* ที่อยู่ในระดับต่ากว่าอัตราส่วนลดให้สูงขึ้น
เนื่องจาก Q1* อยู่ในช่วงระหว่าง 0 – 999 คัน จึงไม่จาเป็นต้องทาการปรับ
ขณะที่ Q2* มีค่าต่ากว่าระดับการได้รับส่วนลดคือช่วงระหว่าง 1,000-
1,999 คัน จึงต้องทาการปรับขึ้นเป็น 1,000 คัน เช่นเดียวกันกับ Q3* ซึ่ง
ต้องปรับขึ้นเป็น 2,000 คัน
Q1* = 700 คัน
Q2* = 1,000 คัน – ทาการปรับ
Q3* = 2,000 คัน – ทาการปรับ
ตัวแบบส่วนลดปริมาณ(Quantity Model)(ต่อ)
ขั้นตอนที่ 3 ทาการคานวณต้นทุนรวมของปริมาณการสั่งซื้อในระดับต่างๆ
ตัวแบบส่วนลดปริมาณ(Quantity Model)(ต่อ)
ขั้นตอนที่ 4 เลือกปริมาณการสั่งซื้อที่มีต้นทุนรวมต่าที่สุด จากตาราง
เลือกปริมาณการสั่งซื้อที่ 1,000 คัน จะมีต้นทุนรวมต่าที่สุด แต่ต้นทุน
รวมจากการสั่งซื้อที่ 2,000 คัน มีค่ามากกว่าการสั่งซื้อที่ 1,000 คันเพียง
เล็กน้อย ดังนั้น ถ้าส่วนลดในรายการที่ 3 มีราคาที่ต่าลงจนถึง 4.65 ดอลลาร์
สหรัฐเมื่อใด ก็จะทาให้การสั่งซื้อที่ 2,000 คันมีต้นทุนรวมต่าที่สุด
ตัวแบบส่วนลดปริมาณ(Quantity Model)(ต่อ)
ระบบกาหนดรอบเวลาคงที่
(Fixed-Period (P) Systems)
การนาตัวแบบนี้มาใช้สินค้าคงคลังจะต้องมีการตรวจสอบอย่าง
ต่อเนื่องทุกครั้งที่มีการนาวัสดุหรือสินค้าเข้าออกจากคลังสินค้า
จะต้องบันทึกข้อมูลอยู่เสมอเพื่อไม่ให้เกิดการขาดแคลนหรือถึงจุด
สั่งซื้อใหม่
ระบบกาหนดรอบเวลาคงที่จะมีความเหมาะสมเมื่อผู้ซื้อจัดทา
เป็นงานประจา (ช่วงระยะเวลาคงที่) กับลูกค้าเพื่อให้ได้ใบสั่งซื้อใหม่
หรือเมื่อผู้ซื้อต้องการรวมใบสั่งซื้อเพื่อประหยัดค่าใช่จ่ายในการสั่งซื้อ
และการขนส่ง ตัวอย่างเช่น บริษัทขายน้าอัดลมอัตโนมัติต้องเติม
น้าอัดลมลงในเครื่องทุกวันอังคาร เป็นต้น
ข้อดีของระบบกาหนดรอบเวลาคงที่
1. ไม่มีการนับสินค้าคงคลังภายหลังจากที่มีการเบิกออกจาก
คลังสินค้า
2. การตรวจนับจะกระทาเมื่อถึงรอบเวลาของการนับสินค้าคงคลัง
3. วิธีนี้สะดวกในด้านการจัดการเนื่องจากลดภาระของพนักงานในการ
ควบคุมตรวจสอบ
ข้อเสียของของระบบกาหนดรอบเวลาคงที่
1. การไม่มีข้อมูลสินค้าคงคลังระหว่างช่วงเวลาจึงมีโอกาสเกิดภาวะ
ขาดแคลนขึ้นได้
2. มีความเป็นไปได้เมื่อมีการสั่งซื้อขนาดใหญ่เข้ามา ทาให้ระดับสินค้า
คงคลังลดลงเป็นศูนย์หลังจากออกใบสั่งซื้อสินค้าไปแล้ว
ระบบกาหนดรอบเวลาคงที่
(Fixed-Period (P) Systems)(ต่อ)
บทสรุป
สินค้าคงคลังสามารถจาแนกออกเป็น 4 ประเภท
1. สินค้าคงคลังประเภทวัตถุดิบ
2. สินค้าคงคลังประเภทงานระหว่างทา
3. สินค้าคงคลังประเภทอะไหล่สาหรับการซ่อมบารุง
4. สินค้าคงคลังประเภทผลิตสาเร็จรูป
อีกทั้งสินค้าคงคลังยังมีเป็นระบบสาหรับกรณีความ
ต้องการที่เป็นอิสระ การแบ่งประเภทสินค้าคงคลังตามฐาน
กิจกรรม ความถูกต้องแม่นยาของการบันทึกรายการสินค้าคง
คลัง การตรวจนับตามรอบเวลา และตัวแบบสินค้าคงคลัง
สาหรับกรณีความต้องการที่เป็นอิสระสามรูปแบบ

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxบทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxpiyapongauekarn
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์Teetut Tresirichod
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตTeetut Tresirichod
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการtumetr
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance IndexNopporn Thepsithar
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 

What's hot (20)

บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxบทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
 
06 ma
06 ma06 ma
06 ma
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT (19)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation Management
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 

บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง