SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3 
การจัดการโครงการ การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์ โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น1
2 
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เมื่อศึกษาจบบทนี้แล้ว ผู้ศึกษาควรที่จะสามารถ: 
1.สามารถใช้แผนภูมิแกนต์ (Gantt chart) ในการวาง แผนการดาเนินงาน 2.ระบุหรือกาหนดเครือข่ายงาน ด้วยวิธี AOA และ AON 
3.สามารถกาหนดเวลาแบบไปข้างหน้าและ กาหนดเวลาแบบย้อนกลับได้ 
4.สามารถกาหนดเส้นทางวิกฤติ 
5.คานวณความแปรปรวนของเวลาที่ใช้ในกิจกรรม
3 
เนื้อหา
การจัดการโครงการ 
การวางแผน การกาหนดตารางการทางาน และการควบคุมโครงการ 
องค์การแบบโครงการ Project Organization 
องค์การแบบถาวร (องค์การแบบเมทริกซ์) 
หน้าที่ของผู้จัดการโครงการ 
โครงสร้างแบบแยกย่อยงาน (Work Breakdown Structure) 
PERT and CPM 
 6 ขั้นตอนของวิธีการ PERT และCPM 
เปรียบเทียบเครือข่ายแบบAON และ AOA 
การวิเคราะห์เส้นทางวิกฤติ 
 การกาหนดเวลาแบบไปข้างหน้า 
 การกาหนดเวลาแบบย้อนกลับ
4 
การจัดการโครงการ
แบ่งได้ 3 ขั้นตอน คือ 1.การวางแผน (Planning)–เกี่ยวข้องกับ การกาหนดเป้าหมาย รายละเอียด โครงการ และทีมงาน 2.การกาหนดตารางการทางาน (Scheduling)–เกี่ยวข้องกับการกาหนด ทรัพยากรมนุษย์ เงินลงทุน และปัจจัยการผลิตที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กัน 3.การควบคุม (Controlling)–เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นจริงกับ แผนงานที่ได้กาหนดไว้ ทั้งด้านทรัพยากรมนุษย์ ค่าใช้จ่าย คุณภาพและ งบประมาณ ตลอดจนการแก้ไขเปลี่ยนแปลงแผนงานหรือทรัพยากร เพื่อให้ ตรงตามเวลาที่กาหนดและต้นทุนที่กาหนด
5 
การวางแผน 
วัตถุประสงค์ 
ทรัพยากร 
โครงสร้างการแบ่งงานย่อย 
องค์การ 
การกาหนดตารางการทางาน 
กิจกรรมงานย่อย 
เวลาเริ่มและสิ้นสุดโครงการ 
เครือข่ายการทางาน 
การควบคุม การตรวจสอบ, เปรียบเทียบ, แก้ไข, การทางานจริง 
กิจกรรมการจัดการโครงการ
6 
ตัวอย่างของโครงการ
 โครงการการก่อสร้าง
 โครงการการวิจัย
7 
กกาารววาางแแผผน กกาารกกาา หนดตตาารราางกกาารททาา งงาาน และกกาารควบคคุุมโโคครงกกาาร 
ประเมินเวลา/ค่าใช้จ่าย 
งบประมาณ 
แผนภูมิโครงสร้างการทางาน 
แผนภูมิการไหลของเงินสด 
รายละเอียดทรัพยากรท่จีา เป็นและทีมงาน 
งบประมาณ 
รายงานกิจกรรมที่ล่าช้า 
รายงานกิจกรรมที่มีการแก้ไข 
CPM/PERT 
แผนภูมิแกนต์ 
ตารางการทางาน 
ลาดับของกิจกรรม 
ก่อนดา เนินโครงการ จุดเริ่มดา เนินโครงการ ช่วงระหว่างดา เนินโครงการ 
เส้นเวลา
8 
องค์การแบบโครงการ Project OrganizationProject Organization 
องค์การที่มีการกาหนดขึ้นมาเพื่อสร้างความมั่นใจว่าโครงการที่ได้กาหนด ขึ้นนั้นได้รับความสนใจและมีการดาเนินการต่อเนื่องจนประสบความสาเร็จ ถึงแม้ว่าจะมีโครงการใหม่ๆ เกิดขึ้น 
มีได้ทั้งองค์การแบบชั่วคราวและถาวร แต่ปกติจะเป็นองค์การแบบชั่วคราว 
ใช้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจากหน่วยงานทั่วทั้งองค์การ 
ผู้จัดการโครงการเป็นหัวหน้าหรือผู้รับผิดชอบ 
องค์การแบบถาวร เรียกว่า องค์การแบบเมทริกซ์
9 
ตัวอย่างองค์การแบบโครงการ
ฝ่ายการตลาดฝ่ายการเงิน 
ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ฝ่ายออกแบบฝ่ายควบคุมคุณภาพฝ่ายการผลิต 
ประธานบริษัท 
วิศวกรตรวจสอบวิศวกรเครื่องกล โครงการ1 
ผู้จัดการโครงการ ช่างเทคนิค 
ช่างเทคนิค โครงการ2ผู้จัดการโครงการ 
วิศวกรไฟฟ้า 
วิศวกรคอมพิวเตอร์
10 
องค์การแบบถาวร (องค์การแบบเมทริกซ์) 
ฝ่ายการตลาดฝ่ายการปฏิบัติการฝ่ายวิศวกรรมฝ่ายการเงิน โครงการ1โครงการ2โครงการ3โครงการ4
11 
องค์การแบบโครงการจะทางานได้ดีที่สุด เมื่อ
1.เป็นงานที่มีเป้าหมายเฉพาะ สามารถกาหนดระยะเวลาสิ้นสุดที่แน่นอน 
2.เป็นงานที่มีลักษณะเฉพาะ แตกต่างจากงานทั่วไปขององค์การ 
3.เป็นงานที่มีลักษณะซับซ้อนสัมพันธ์กัน ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 
4.เป็นโครงการแบบชั่วคราว แต่มีความสาคัญต่อองค์การ 
5.เป็นโครงการที่มีการข้ามสายงานภายในองค์การ
12 
หน้าที่ของผู้จัดการโครงการ
มีความรับผิดชอบ เพื่อให้เกิดความมั่นใจในโครงการ: 
1.ทุกๆ กิจกรรมของโครงการเสร็จตามลาดับ และตรงเวลา 
2.ค่าใช้จ่ายของโครงการอยู่ภายใต้งบประมาณ 
3.โครงการมีคุณภาพตรงตามเป้าหมาย 
4.บุคลากรของโครงการได้รับการจูงใจ กาหนดทิศทาง และได้รับข้อมูลที่จาเป็นในการ ดาเนินโครงการ 
ผู้จัดการโครงการจาเป็นต้องมีทักษะ: 
ให้คาแนะนา เป็นที่ปรึกษาที่ดี 
ทักษะในการศึกษาระหว่างบุคคลที่ดี 
สามารถกากับ ดูแลกิจกรรมต่างๆ โดยนาความรู้ความสามารถ ในหลายๆ ด้านมาผสมผสาน
13 
โครงสร้างแบบแยกย่อยงาน (Work Breakdown Structure)
การแบ่งแยกระดับ เพื่อให้สามารถระบุรายละเอียดปลีกย่อยได้ มีดังนี้ 
1.โครงการ 
2.กลุ่มงานหลัก (Major tasks) ในโครงการ 
3.กลุ่มงานย่อย (Subtasks) ในกลุ่มงานหลัก 4.กิจกรรม(Activities) หรือชุดงาน (Work packages) ที่ต้องทาให้สาเร็จลุล่วง
14 
โครงสร้างแบบแยกงานย่อย (Work Breakdown Structure) 
© 2011 Pearson Educationระดับ4 
เข้ากันได้กับ 
Windows MEเข้ากันได้กับ Windows Vistaเข้ากันได้กับ Windows XP 
1.1.2.3 
1.1.2.2 
1.1.2.1 
(ชุดงาน 
Work packages) ระดับ3พัฒนา GUIs 
วางแผน 
ทดสอบโมดูล สร้างความมั่นใจว่าสามารถใช้งาน ร่วมกับเวอร์ชั่นก่อนหน้าได้ 
บริหารต้นทุน/ตารางการ ทางาน 
ทดสอบข้อบกพร่อง 
1.1.11.2.2 
1.3.2 
1.3.11.2.1 
1.1.2 
ระดับ2ออกแบบซอฟท์แวร์ 
การบริหารโครงการทดสอบระบบ 1.1 
1.2 
1.3ระดับ1 
การพัฒนาระบบปฏิบัติการ 
Windows 7 
1.0
15 
การกาหนดตารางการทางานของโครงการ
ระบุความสัมพันธ์ของกิจกรรม 
จัดลาดับของกิจกรรม 
กาหนดเวลาและค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน 
ประเมินความต้องการวัตถุดิบและทรัพยากร มนุษย์ 
กาหนดกิจกรรมที่เป็นกิจกรรมวิฤติ
16 
เทคนิคที่ใช้ในการกาหนดตารางการทางานของโครงการ
แผนภูมิแกนต์ Gantt chart 
Critical Path Method (CPM) 
Program Evaluation and Review Technique (PERT)
17 
ตัวอย่าง Gantt Chart อย่างง่าย
เวลา 
ม.ค. ก.พ.มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค.ส.ค. กย. ออกแบบ ต้นแบบ ทดสอบ แก้ไข ผลิต
18 
การให้บริการของสายการบิน Delta JetDelta Jet 
ผู้โดยสาร 
สัมภาระ 
การเติมเชื้อเพลิง 
สินค้าขนส่งและจดหมาย 
บริการห้องครัว 
บริการห้องน้า 
น้าดื่ม 
การทาความสะอาดห้องโดยสาร 
สินค้าขนส่งและจดหมาย 
บริการเที่ยวบิน 
ลูกเรือปฏิบัติการ 
สัมภาระ 
ผู้โดยสาร 
ลงจากเครื่อง ตรวจสัมภาระ นาสัมภาระออกจากเครื่อง เติมเชื้อเพลิง เติมน้าเข้าหม้อน้า นาสินค้าและจดหมายออกจากเครื่อง ห้องครัวที่ประดูโดยสารด้านหน้า ห้องครัวที่ประดูดโดยสารด้านหลัง ด้านหน้า ตรงกลาง ด้านหลัง การบรรจุน้าดื่ม ที่นั่งชั้นหนึ่ง ที่นั่งชั้นประหยัด สินค้าขนส่งและจดหมายบรรทุกเพื่อขนส่ง ตรวจห้องครัว ห้องโดยสาร รับผู้โดยสาร ตรวจเช็คความเรียบร้อยภายในเครื่องบิน นาสัมภาระขึ้นเครื่อง ผู้โดยสารขึ้นเครื่อง 
010203040 
เวลา , นาที
19 
PERT and CPMPERT CPM 
เป็นเทคนิคในการหาเครือข่ายงาน 
พัฒนาในช่วงปี 1950’s 
CPM พัฒนาโดย DuPont ในปี 1957 PERT พัฒนาโดย Booz, Allen และHamilton จากกองทัพของสหรัฐอเมริกา ในปี 1958 CPM และ PERT มีการวิเคราะห์ที่คล้ายกัน แตกต่างกันที่ PERT ต้องประมาณค่า 3 ครั้งใน แต่ละกิจกรรม เพื่อนาไปหาค่าทางสถิติเกี่ยวกับความคาดหวังและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของแต่ละกิจกรรม แต่ CPM มีสมมติฐานว่าเวลาที่กาหนดในกิจกรรมมีค่าแน่นอน ทาให้ สามารถพิจารณาปัจจัยด้านเวลาเพียงปัจจัยเดียว 
พิจารณาความสัมพันธ์ก่อน-หลัง 
ประเมินเวลาที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม
20 
6 ขั้นตอนของวิธีการ PERT และ CPM 
1.กาหนดโครงการและจัดเตรียมโครงสร้างแบบแยกย่อยงาน 
2.ระบุความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม ระบุลาดับกิจกรรมก่อน-หลัง 
3.วาดภาพเครือข่ายเชื่อมโยงทุกกิจกรรม 
4.กาหนดระยะเวลา ประมาณการค่าใช้จ่ายให้กับแต่ละกิจกรรม 
5.คานวณหาเส้นทางวิกฤติ ที่ใช้เวลายาวนานที่สุด (critical path) 
6.ใช้เครือข่ายในการวางแผน จัดตารางการทางาน ติดตาม ตรวจสอบ และควบคุม โครงการ
21 
เปรียบเทียบเครือข่ายแบบAON และ AOAAOA 
กิจกรรมบนจุดวงกลมความหมายของกิจกรรมกิจกรรมบนลูกศร Activity on Node (AON)Activity on Arrow (AOA) 
A มาก่อน B 
โดยที่ B มาก่อน C 
(a)A 
B 
C 
B 
A 
C 
A และ B ต้องเสร็จสมบูรณ์ ก่อนที่ C จะสามารถเริ่มต้น ได้ 
(b) A 
C 
CB 
A 
B 
B และ C ไม่สามารถ เริ่มต้นได้ จนกว่า A จะ เสร็จสมบูรณ์ 
(c) B 
A 
C 
A 
B 
C 
C และ D ไม่สามารถ เริ่มต้นได้ จนกว่า A และ B จะเสร็จสมบูรณ์ก่อน 
(d) A 
BCD 
B 
A 
CD
22 
เปรียบเทียบเครือข่ายแบบAON และ AOAAOA 
กิจกรรมบนจุดวงกลมความหมายของกิจกรรมกิจกรรมบนลูกศร Activity on Node (AON)Activity on Arrow (AOA) 
C ไม่สามารถเริ่มต้นได้จนกว่า A และ B จะเสร็จสมบูรณ์ ก่อน D ไม่สามารถเริ่มต้นได้ จนกว่า B จะเสร็จสมบูรณ์ ก่อน กิจกรรมสมมติได้ถูกกาหนดขึ้น ที่วิธี AOA 
(e) 
C 
A 
BD 
กิจกรรมสมมติ AB 
C 
D 
B และ C ไม่สามารถเริ่มต้น ได้จนกว่า A จะเสร็จสมบูรณ์ ก่อน D ไม่สามารถเริ่มต้นได้ จนกว่า B และ C จะเสร็จ สมบูรณ์ก่อน กิจกรรมสมมติ ได้ถูกกาหนดที่วิธี AOA 
(f) A 
C 
DB 
A 
B 
CDกิจกรรม สมมติ
23 
ตัวอย่างวิธี AON 
ตัวอย่าง โรงพยาบาล Milwaukee ตัดสินใจลงทุนในโครงการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมมลพิษทางอากาศภายในโรงพยาบาล โดยมีกาหนดระยะเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ ทั้งสิ้น 16 สัปดาห์ 
กิจกรรม 
รายละเอียด 
กิจกรรมที่นาหน้า 
มาก่อน 
ระยะเวลา 
(สัปดาห์) 
A 
สร้างส่วนประกอบภายใน 
— 
2 
B 
ทาหลังคาและพื้น 
— 
3 
C 
สร้างปล่องไฟ 
A 
2 
D 
เทคอนกรีตและติดตั้งโครงสร้าง 
A, B 
4 
E 
สร้างเตาเผาอุณหภูมิสูง 
C 
4 
F 
ติดตั้งระบบควบคุมมลพิษทางอากาศ 
C 
3 
G 
ติดตั้งเครื่องควบคุมมลพิษทางอากาศ 
D, E 
5 
H 
ตรวจสอบ 
F, G 
2 
Total Time (weeks) 
25
24 
เครือข่ายโครงการวิธี AON สาหรับโรงพยาบาล MilwaukeeMilwaukee 
AStartB 
จุดเริ่มต้น กิจกรรม 
กิจกรรมA 
(สร้างส่วนประกอบภายใน) กิจกรรมB(ทาหลังคาและพื้น)
25 
เครือข่ายโครงการวิธี AON สาหรับโรงพยาบาล MilwaukeeMilwaukee 
AStartB 
กิจกรรมA มาก่อนกิจกรรม C 
CD 
กิจกรรมA และB มาก่อนกิจกรรมD
26 
เครือข่ายโครงการวิธี AON สาหรับโรงพยาบาล MilwaukeeMilwaukeeCA 
Start 
DB 
G 
E 
FHลูกศรแสดงความสัมพันธ์ก่อนหลังระหว่างกิจกรรม
27 
เครือข่ายโครงการวิธี AOA สาหรับโรงพยาบาล MilwaukeeMilwaukeeH(ตรวจสอบ) 
7 
กิจกรรม สมมติ 
6 
5 
D(เทคอนกรีต ติดตั้งโครงสร้าง) 
4 
C 
(สร้าง 
ปล่องไฟ) 
1 
32
28 
การกาหนดตารางเวลาการทางานของโครงการ
การวิเคราะห์เส้นทางวิกฤติ
เส้นทางวิกฤติ คือ เส้นทางที่ใช้เวลานานที่สุดในเครือข่าย 
เส้นทางวิกฤติ คือ เส้นทางที่เร็วที่สุดในการดาเนินงานโครงการ ให้เสร็จสมบูรณ์ได้ กิจกรรมที่อยู่บนเส้นวิกฤติจะไม่มีเวลาล่าช้า (Slack time = 0) 
กิจกรรมใดๆ ที่ล่าช้า บนเส้นทางวิกฤติ จะส่งผลกระทบให้ โครงการเกิดความล่าช้า
29 
การกาหนดตารางเวลาการทางานของโครงการ
การวิเคราะห์เส้นทางวิกฤติ
ActivityDescriptionTime (weeks) 
ABuild internal components2 
BModify roof and floor3 
CConstruct collection stack2 
DPour concrete and install frame4 
EBuild high-temperature burner4 
FInstall pollution control system 3 
GInstall air pollution device5 
HInspect and test2 
Total Time (weeks)25เวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุด Earliest start (ES) =เวลาที่เร็วที่สุดที่กิจกรรมสามารถเริ่มต้นได้ โดยมีสมมติฐานว่า ทุกกิจกรรมที่ นาหน้ามาก่อนได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว เวลาเริ่มต้นที่ช้าที่สุด Latest start (LS) =เวลาช้าที่สุดที่กิจกรรมสามารถเริ่มต้นได้ ถ้าช้ากว่านี้แล้วจะทาให้โครงการต้อง ล่าช้าออกไป เวลาสิ้นสุดเร็วที่สุด Earliest finish(EF) = เวลาสิ้นสุดเร็วที่สุดที่กิจกรรมสามารถเสร็จได้ เวลาสิ้นสุดช้าที่สุด Latest finish (LF) =เวลาสิ้นสุดที่กิจกรรมสามารถเสร็จได้ ถ้าช้ากว่านี้ทาให้โครงการล่าช้าออกไป
30 
การกาหนดตารางเวลาการทางานของโครงการ
การวิเคราะห์เส้นทางวิกฤติAชื่อของกิจกรรม หรือสัญลักษณ์ 
เวลาเริ่มต้น 
เร็วที่สุด 
ESเวลาสิ้นสุด เร็วที่สุด 
EF 
เวลาเริ่มต้น 
ช้าที่สุด 
LSเวลาสิ้นสุด ช้าที่สุด 
LF 
ระยะเวลาของกิจกรรม 
2
31 
การกาหนดเวลาแบบไปข้างหน้า
กฎของเวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด: 
ถ้ามีกิจกรรมก่อนหน้าเพียงกิจกรรมเดียว เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด (ES) เท่ากับเวลาสิ้นสุดเร็วที่สุด (EF) ของกิจกรรมก่อนหน้า 
ถ้ากิจกรรมก่อนหน้ามีหลายกิจกรรม เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด คือ ค่าที่ มากสุดของเวลาสิ้นสุดเร็วที่สุด (EF) ของกิจกรรมก่อนหน้า 
ES = Max {EF ของกิจกรรมก่อนหน้า} กฎของเวลาสิ้นสุดเร็วที่สุด: เวลาสิ้นสุดเร็วที่สุดของแต่ละกิจกรรม (EF) เท่ากับเวลาเริ่มต้นเร็ว ที่สุด (ES) บวกด้วยเวลาที่ใช้ของกิจกรรม 
EF = ES + เวลาที่ใช้ของกิจกรรม
32 
จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee 
Start 
00 
ES 
0 
EF = ES + เวลาที่ใช้ของกิจกรรม
33 
จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee 
Start 
000A2 
2 
EF ของA = ES ของA + 2 
0 
ESของA
34 
จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee 
B 
3 
Start 
0 
0 
0 
A 
2 
203EF ของB = ES ของB + 3 
0 
ESของB
35 
จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee C2 
2 
4 
B 
3 
0 
3 
Start 
0 
00A22 
0
36 
จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee 
C 
2 
2 
4 
B 
3 
0 
3Start 
0 
0 
0A220 
D 
4 
7 
3 
= Max (2, 3) D เริ่มได้ต้องผ่าน A และ B มาก่อน ในกรณีที่กิจกรรมก่อนหน้ามีหลายกิจกรรม ES ของ D คือ ค่า Max EF ระหว่าง A และ B ซึ่งจุดเริ่มต้นเร็วสุดของ D คือ 3
37 
จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee 
D 
4 
3 
7 
C 
2 
2 
4B303 
Start 
0 
0 
0A2 
2 
0
38 
จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee E4 
F 
3 
G 
5 
H24813 
15 
4 
8 
13 
7 
D 
4 
3 
7 
C 
2 
2 
4 
B 
3 
03Start0 
0 
0 
A 
2 
2 
0 
Figure 3.11
39 
การกาหนดเวลาแบบย้อนกลับ
กฎของเวลาสิ้นสุดช้าที่สุด: 
ถ้ากิจกรรมที่สนใจ มีกิจกรรมตามหลังเพียงกิจกรรมเดียว ดังนั้น เวลา สิ้นสุดช้าที่สุด (LF) เท่ากับ เวลาเริ่มต้นช้าสุด (LS) ของกิจกรรมที่ ตามหลัง 
ถ้ากิจกรรมที่สนใจ มีกิจกรรมตามหลังหลายกิจกรรม เวลาสิ้นสุดช้า ที่สุด (LF) เท่ากับ ค่าที่น้อยที่สุดของเวลาเริ่มต้นช้าสุดของกิจกรรมที่ ตามหลัง 
LF = Min {LS ของกิจกรรมที่ตามหลัง} 
เวลาเริ่มต้นช้าสุด (LS) ของกิจกรรม ผลต่างระหว่าง เวลาสิ้นสุดช้าสุด (LF) กับเวลาที่ใช้ของกิจกรรม LS = LF –เวลาที่ใช้ของกิจกรรม
40 
จุดเริ่มต้นช้าที่สุด/จุดสิ้นสุดช้าที่สุด (LS/LF) ของเครือข่าย สาหรับMilwaukeeMilwaukeeE4 
F 
3 
G5 
H 
2 
4 
8 
13 
15 
4 
8 
13 
7D437 
C 
2 
2 
4B3 
0 
3Start 
0 
0 
0 
A 
2 
2 
0LF = EF ของโครงการ 1513 
LS = LF –เวลาที่ใช้ของกิจกรรม
41 
จุดเริ่มต้นช้าที่สุด/จุดสิ้นสุดช้าที่สุด (LS/LF) ของเครือข่าย สาหรับ Milwaukee E4 
F 
3 
G 
5 
H2 
4 
8 
13 
15 
4 
8 
13713 
15D4 
3 
7 
C 
2 
2 
4 
B 
3 
0 
3 
Start 
0 
0 
0A22 
0LF = Min(LS ของกิจกรรม ที่ตามหลัง) 
10 
13
42 
จุดเริ่มต้นช้าที่สุด/จุดสิ้นสุดช้าที่สุด (LS/LF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee E4 
F 
3 
G 
5 
H 
2 
4 
8 
13 
1548 
13 
7 
13 
15 
10 
13 
8 
13 
4 
8 
D 
4 
3 
7C224 
B 
3 
0 
3Start 
0 
0 
0 
A 
2 
2 
0 
LF = Min(4, 10) 2
43 
การคานวณหาเวลาที่ล่าช้า (Slack Time)
หลังจากคานวณค่า ES, EF, LS, and LF สาหรับทุกกิจกรรมแล้ว ลาดับต่อมาคือ การคานวณหาเวลาที่ล่าช้าของแต่ละกิจกรรม 
เวลาที่ล่าช้า คือ เวลาที่กิจกรรมสามารถล่าช้าได้ โดยที่ไม่ทา ให้โครงการทั้งหมดล่าช้า 
เวลาที่ล่าช้า (Slack time) = LS –ES 
หรือ 
เวลาที่ล่าช้า (Slack time) = LF –EF
44 
การคานวณหาเวลาที่ล่าช้า (Slack Time)
เริ่มต้นสิ้นสุดเริ่มต้นสิ้นสุดเวลาล่าช้าอยู่บน เร็วสุดเร็วสุดช้าสุดช้าสุดSlackเส้นทาง กิจกรรมESEFLSLFLS –ESวิกฤติ 
A02020ใช่ 
B03141ไม่ใช่ 
C24240ใช่ 
D37481ไม่ใช่ 
E48480ใช่ 
F4710136ไม่ใช่ 
G8138130ใช่ 
H131513150ใช่
45 
เส้นทางวิกฤติสาหรับMilwaukee 
E 
4 
F 
3 
G 
5 
H 
2 
4 
8 
13 
154 
8 
13 
7 
13 
15 
10 
13 
8 
13 
4 
8D4 
3 
7C22 
4B3 
0 
3 
Start 
0 
0 
0 
A 
2 
2 
04 
2 
8 
42 
0 
4 
1 
0 
0
46 
เส้นทางวิกฤติและเวลาล่าช้า สาหรับMilwaukee 
E 
4 
F 
3 
G 
5 
H 
2 
4 
8 
13 
154 
8 
13 
7 
13 
15 
10 
13 
8 
13 
4 
8D4 
3 
7C22 
4B3 
0 
3 
Start 
0 
0 
0 
A 
2 
2 
04 
2 
8 
42 
0 
4 
1 
0 
0 
ล่าช้า= 1 
ล่าช้า= 1 
ล่าช้า= 0 
ล่าช้า= 6 
ล่าช้า= 0 
ล่าช้า= 0 
ล่าช้า= 0 
ล่าช้า= 0
47 
แผนภูมิแกนต์ พิจารณา ES – EF Gantt ChartEF Chartสาหรับ สาMilwaukee PaperMilwaukee PaperAสร้างส่วนประกอบภายใน Bทาหลังคาและพื้น Cสร้างปล่องไฟ Dเทคอนกรีตและติดตั้งโครงสร้าง Eสร้างเตาเผาอุณหภูมิสูง Fติดตั้งระบบควบคุมมลพิษทางอากาศ Gติดตั้งเครื่องควบคุมมลพิษทางอากาศ Hตรวจสอบ 
12345678910111213141516กิจกรรม / เวลา
48 
แผนภูมิแกนต์ พิจารณา LS – LF Gantt ChartGantt Chartสาหรับ สาMilwaukee 
Aสร้างส่วนประกอบภายใน 
Bทาหลังคาและพื้น 
Cสร้างปล่องไฟ 
Dเทคอนกรีตและติดตั้งโครงสร้าง 
Eสร้างเตาเผาอุณหภูมิสูง 
Fติดตั้งระบบควบคุมมลพิษทางอากาศ 
Gติดตั้งเครื่องควบคุมมลพิษทาง อากาศ 
Hตรวจสอบ 
12345678910111213141516 
กิจกรรม / เวลา
49 
ความแปรปรวนของเวลาที่ใช้ในกิจกรรม
CPM สันนิษฐานว่าเวลาที่ใช้ในกิจกรรมมีค่าคงที่และทราบมาก่อน ไม่สามารถเกิดความแปรปรวนขึ้นได้ PERT นาความน่าจะเป็นมาใช้ในการประมาณการเวลาของแต่ละ กิจกรรม สามารถหาได้ 3 ช่วงลักษณะ คือ เวลาเร็วที่สุดสาหรับกิจกรรมนั้น (Optimistic time, a) เวลาช้าที่สุดสาหรับกิจกรรมนั้น (Pessimistic time, b) เวลาที่เป็นไปได้มากที่สุดสาหรับกิจกรรมนั้น (Most likely time, m)
50 
ความแปรปรวนของเวลาที่ใช้ในกิจกรรม
การประมาณค่าจากการกระจายตัวแบบเบต้า (Beta distribution)
เวลาที่ใช้ในกิจกรรม: 
ความแปรปรวนของเวลา: 
t= (a+ 4m+ b)/6 
v= [(b–a)/6]2
51 
ความแปรปรวนของเวลาที่ใช้ในกิจกรรม
การประมาณค่าจากการกระจายตัวแบบเบต้า (Beta distribution)
t = (a + 4m + b)/6 
v = [(b − a)/6]2 
โอกาส 
1 ใน 100 ที่ b จะ เกิดขึ้น 
โอกาส 
1 ใน100 ที่ a จะ เกิดขึ้น 
ความน่าจะเป็น 
เวลาเร็วสุด 
(a) 
เวลาที่เป็นไปได้ 
มากที่สุด(m) 
เวลาช้าสุด 
(b) 
เวลาของ กิจกรรม
52 
คานวณความแปรปรวนของเวลาที่ใช้ในกิจกรรม
เวลาที่เป็นเวลาที่ใช้ความแปรปรวน เวลาเร็วสุดไปได้มากที่สุดเวลาช้าสุดในกิจกรรมของเวลา กิจกรรมambt= (a+ 4m+ b)/6[(b–a)/6]2 
A123(1+4(2)+3)/6 = 2[(3-1)/6]2=0.11 
B234(2+4(3)+4)/6 = 3[(4-2)/6]2=0.11 
C12320.11 
D24640.44 
E14741.00 
F12931.78 
G341151.78 
H12320.11
53 
ความน่าจะเป็นของการทาให้โครงการบรรลุผลสาเร็จ
s2= ความแปรปรวนของโครงการ 
= (ค่าความแปรปรวนของกิจกรรมบนเส้นทางวิกฤติ) 
p 
ความแปรปรวนของโครงการ 
s2= 0.11 + 0.11 + 1.00 + 1.78 + 0.11 
= 3.11 
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของโครงการ 
sp= ความแปรปรวนของโครงการ 
= 3.11 = 1.76 สัปดาห์ 
p 
เส้นทางวิกฤติ สาหรับ Milwaukee Paper คือ กิจกรรม A, C, E, G และ H
54 
ความน่าจะเป็นของการทาให้โครงการบรรลุผลสาเร็จ
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของโครงการ = 1.76 สัปดาห์ 
15 สัปดาห์ 
(ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินการทั้งหมดของโครงการ)
55 
ความน่าจะเป็นของการทาให้โครงการบรรลุผลสาเร็จ
ความน่าจะเป็นที่โครงการจะเสร็จสิ้นภายใน 16 สัปดาห์
Z=/sp 
= (16 สัปดาห์–15 สัปดาห์)/1.76 
= 0.57 
กาหนดเวลา เวลาที่ใช้ในการดาเนินการ ต้องการทราบทั้งหมดของโครงการ 
เมื่อค่า Z เป็นค่าเบี่ยงเบนของค่าเวลาที่ ต้องการทราบหรือเวลาเป้าหมาย ที่เบี่ยงเบน จากเวลาที่ใช้ในการดาเนินการทั้งหมดของ โครงการ 
–
56 
ความน่าจะเป็นของการทาให้โครงการบรรลุผลสาเร็จ
What is the probability this project can be completed on or before the 16 week deadline?
Z=−/sp 
= (16 wks−15 wks)/1.76 
= 0.57 
dueexpected datedateof completion 
เมื่อค่า Z เป็นค่าเบี่ยงเบนของค่าเวลาที่ต้องการ ทราบหรือเวลาเป้าหมาย ที่เบี่ยงเบนจากเวลาที่ใช้ใน การดาเนินการทั้งหมดของโครงการ 
Z.00.01.07.08 
.1.50000.50399.52790.53188 
.2.53983.54380.56749.57142 
.5.69146.69497.71566.71904 
.6.72575.72907.74857.75175 
จากตารางความน่าจะเป็น (การกระจายแบบปกติ)
57 
ความน่าจะเป็นของการทาให้โครงการบรรลุผลสาเร็จ
เวลา 
มีโอกาส 71.57% ที่โครงการ 
จะแล้วเสร็จ ก่อน 16 สัปดาห์ 
0.57 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 
1516สัปดาห์ สัปดาห์
58 
การกาหนดหรือระบุเวลาโครงการแล้วเสร็จเมื่อโจทย์กาหนดความเป็นไปได้โครงการ
ตัวอย่าง ถ้า Milwaukee ต้องการทราบว่า ถ้ากาหนดให้ความน่าจะเป็นที่โครงการจะแล้ว เสร็จ 99% ต้องกาหนดระยะเวลาโครงการเป็นกี่สัปดาห์ 
ความน่าจะเป็น 0.01 
Z 
จากตารางความน่าจะเป็น 
ความน่าจะเป็น 0.99 
2.33 เท่าค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน 
0 
2.33
59 
การกาหนดหรือระบุเวลาโครงการแล้วเสร็จ เมื่อโจทย์กาหนดความเป็นไปได้โครงการ
Z= – /sp 
แทนค่า จะได้ 
2.33 = (กาหนดเวลาที่ต้องการทราบ–15 สัปดาห์)/1.76 
กาหนดเวลาที่ต้องการทราบ = 15 + (2.33x1.76) 
= 19.10 สัปดาห์ 
กาหนดเวลา เวลาที่ใช้ในการดาเนินการ ต้องการทราบ ทั้งหมดของโครงการ
60 
แบบฝึกหัดท้ายบท
1) โจทย์ข้อ 8 ในหนังสือ 
ให้วาดรูปเครือข่าย AON 
2) จากรูปให้หา 
วาดรูปเครือข่ายแบบ AON และเส้นทางวิกฤติ 
ความแปรปรวนของโครงการ และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน กาหนดให้ 
ค่าความแปรปรวน A = 1/9, B = 1/9, C=16/9, D=4/9 และ E=1/9 
3) ถ้าโครงการมีความคาดหวังระยะเวลาที่ใช้ในกิจกรรมทั้งหมด 40 สัปดาห์และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5 สัปดาห์ จากการกระจายแบบปกติ ให้หาว่า 
โอกาสที่โครงการจะแล้วเสร็จโดยใช้เวลาน้อยกว่า 50 สัปดาห์ 
โอกาสที่โครงการจะแล้วเสร็จโดยใช้เวลาน้อยกว่า 38 สัปดาห์ 
กาหนดเวลาที่โครงการจะแล้วเสร็จ ภายใต้โอกาส 90%
61 
Q & A

More Related Content

What's hot

บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
Nopporn Thepsithar
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
Rungnapa Rungnapa
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
pop Jaturong
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
pop Jaturong
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
tumetr
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
Ornkapat Bualom
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการWatcharin Chongkonsatit
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
dnavaroj
 
9 pert
9 pert9 pert
9 pert
pop Jaturong
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดNattakorn Sunkdon
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
dnavaroj
 

What's hot (20)

บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
9 pert
9 pert9 pert
9 pert
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 

Viewers also liked

Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9orarick
 
Practice pert gantt
Practice pert ganttPractice pert gantt
Practice pert ganttHira Farooq
 
ITFT - PROJECT MANAGEMENT
ITFT - PROJECT MANAGEMENTITFT - PROJECT MANAGEMENT
ITFT - PROJECT MANAGEMENT
Pooja
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Viewers also liked (8)

Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
 
Practice pert gantt
Practice pert ganttPractice pert gantt
Practice pert gantt
 
ITFT - PROJECT MANAGEMENT
ITFT - PROJECT MANAGEMENTITFT - PROJECT MANAGEMENT
ITFT - PROJECT MANAGEMENT
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 

Similar to บทที่ 3 การจัดการโครงการ

The project schedule and budget
The project schedule and budgetThe project schedule and budget
The project schedule and budget
tumetr1
 
Computer project 3
Computer project 3Computer project 3
Computer project 3
PremyudaKumrat
 
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐแนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Rung Sensabe
 
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)ณัฐวุฒิ โคตรพัฒน์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittichai Pinlert
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittichai Pinlert
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
computer
computercomputer
computer
Sittigon Bom
 
งานๆๆๆๆๆ
งานๆๆๆๆๆงานๆๆๆๆๆ
งานๆๆๆๆๆ
Wi Nit
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3teerachon
 
P5202240039
P5202240039P5202240039
P5202240039
Playplayplay
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Paweena Kittitongchaikul
 
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
Warapang Plodplong
 

Similar to บทที่ 3 การจัดการโครงการ (20)

The project schedule and budget
The project schedule and budgetThe project schedule and budget
The project schedule and budget
 
Computer project 3
Computer project 3Computer project 3
Computer project 3
 
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐแนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
 
14 บทที่ 2 f
14 บทที่ 2 f14 บทที่ 2 f
14 บทที่ 2 f
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Chapter005
Chapter005Chapter005
Chapter005
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
computer
computercomputer
computer
 
งานๆๆๆๆๆ
งานๆๆๆๆๆงานๆๆๆๆๆ
งานๆๆๆๆๆ
 
ใบความรู้ที่ 4.1
ใบความรู้ที่ 4.1ใบความรู้ที่ 4.1
ใบความรู้ที่ 4.1
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
 
P5202240039
P5202240039P5202240039
P5202240039
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT (15)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation Management
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 

บทที่ 3 การจัดการโครงการ

  • 1. บทที่ 3 การจัดการโครงการ การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์ โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น1
  • 2. 2 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เมื่อศึกษาจบบทนี้แล้ว ผู้ศึกษาควรที่จะสามารถ: 1.สามารถใช้แผนภูมิแกนต์ (Gantt chart) ในการวาง แผนการดาเนินงาน 2.ระบุหรือกาหนดเครือข่ายงาน ด้วยวิธี AOA และ AON 3.สามารถกาหนดเวลาแบบไปข้างหน้าและ กาหนดเวลาแบบย้อนกลับได้ 4.สามารถกาหนดเส้นทางวิกฤติ 5.คานวณความแปรปรวนของเวลาที่ใช้ในกิจกรรม
  • 3. 3 เนื้อหา การจัดการโครงการ การวางแผน การกาหนดตารางการทางาน และการควบคุมโครงการ องค์การแบบโครงการ Project Organization องค์การแบบถาวร (องค์การแบบเมทริกซ์) หน้าที่ของผู้จัดการโครงการ โครงสร้างแบบแยกย่อยงาน (Work Breakdown Structure) PERT and CPM  6 ขั้นตอนของวิธีการ PERT และCPM เปรียบเทียบเครือข่ายแบบAON และ AOA การวิเคราะห์เส้นทางวิกฤติ  การกาหนดเวลาแบบไปข้างหน้า  การกาหนดเวลาแบบย้อนกลับ
  • 4. 4 การจัดการโครงการ แบ่งได้ 3 ขั้นตอน คือ 1.การวางแผน (Planning)–เกี่ยวข้องกับ การกาหนดเป้าหมาย รายละเอียด โครงการ และทีมงาน 2.การกาหนดตารางการทางาน (Scheduling)–เกี่ยวข้องกับการกาหนด ทรัพยากรมนุษย์ เงินลงทุน และปัจจัยการผลิตที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กัน 3.การควบคุม (Controlling)–เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นจริงกับ แผนงานที่ได้กาหนดไว้ ทั้งด้านทรัพยากรมนุษย์ ค่าใช้จ่าย คุณภาพและ งบประมาณ ตลอดจนการแก้ไขเปลี่ยนแปลงแผนงานหรือทรัพยากร เพื่อให้ ตรงตามเวลาที่กาหนดและต้นทุนที่กาหนด
  • 5. 5 การวางแผน วัตถุประสงค์ ทรัพยากร โครงสร้างการแบ่งงานย่อย องค์การ การกาหนดตารางการทางาน กิจกรรมงานย่อย เวลาเริ่มและสิ้นสุดโครงการ เครือข่ายการทางาน การควบคุม การตรวจสอบ, เปรียบเทียบ, แก้ไข, การทางานจริง กิจกรรมการจัดการโครงการ
  • 7. 7 กกาารววาางแแผผน กกาารกกาา หนดตตาารราางกกาารททาา งงาาน และกกาารควบคคุุมโโคครงกกาาร ประเมินเวลา/ค่าใช้จ่าย งบประมาณ แผนภูมิโครงสร้างการทางาน แผนภูมิการไหลของเงินสด รายละเอียดทรัพยากรท่จีา เป็นและทีมงาน งบประมาณ รายงานกิจกรรมที่ล่าช้า รายงานกิจกรรมที่มีการแก้ไข CPM/PERT แผนภูมิแกนต์ ตารางการทางาน ลาดับของกิจกรรม ก่อนดา เนินโครงการ จุดเริ่มดา เนินโครงการ ช่วงระหว่างดา เนินโครงการ เส้นเวลา
  • 8. 8 องค์การแบบโครงการ Project OrganizationProject Organization องค์การที่มีการกาหนดขึ้นมาเพื่อสร้างความมั่นใจว่าโครงการที่ได้กาหนด ขึ้นนั้นได้รับความสนใจและมีการดาเนินการต่อเนื่องจนประสบความสาเร็จ ถึงแม้ว่าจะมีโครงการใหม่ๆ เกิดขึ้น มีได้ทั้งองค์การแบบชั่วคราวและถาวร แต่ปกติจะเป็นองค์การแบบชั่วคราว ใช้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจากหน่วยงานทั่วทั้งองค์การ ผู้จัดการโครงการเป็นหัวหน้าหรือผู้รับผิดชอบ องค์การแบบถาวร เรียกว่า องค์การแบบเมทริกซ์
  • 9. 9 ตัวอย่างองค์การแบบโครงการ ฝ่ายการตลาดฝ่ายการเงิน ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ฝ่ายออกแบบฝ่ายควบคุมคุณภาพฝ่ายการผลิต ประธานบริษัท วิศวกรตรวจสอบวิศวกรเครื่องกล โครงการ1 ผู้จัดการโครงการ ช่างเทคนิค ช่างเทคนิค โครงการ2ผู้จัดการโครงการ วิศวกรไฟฟ้า วิศวกรคอมพิวเตอร์
  • 10. 10 องค์การแบบถาวร (องค์การแบบเมทริกซ์) ฝ่ายการตลาดฝ่ายการปฏิบัติการฝ่ายวิศวกรรมฝ่ายการเงิน โครงการ1โครงการ2โครงการ3โครงการ4
  • 11. 11 องค์การแบบโครงการจะทางานได้ดีที่สุด เมื่อ 1.เป็นงานที่มีเป้าหมายเฉพาะ สามารถกาหนดระยะเวลาสิ้นสุดที่แน่นอน 2.เป็นงานที่มีลักษณะเฉพาะ แตกต่างจากงานทั่วไปขององค์การ 3.เป็นงานที่มีลักษณะซับซ้อนสัมพันธ์กัน ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 4.เป็นโครงการแบบชั่วคราว แต่มีความสาคัญต่อองค์การ 5.เป็นโครงการที่มีการข้ามสายงานภายในองค์การ
  • 12. 12 หน้าที่ของผู้จัดการโครงการ มีความรับผิดชอบ เพื่อให้เกิดความมั่นใจในโครงการ: 1.ทุกๆ กิจกรรมของโครงการเสร็จตามลาดับ และตรงเวลา 2.ค่าใช้จ่ายของโครงการอยู่ภายใต้งบประมาณ 3.โครงการมีคุณภาพตรงตามเป้าหมาย 4.บุคลากรของโครงการได้รับการจูงใจ กาหนดทิศทาง และได้รับข้อมูลที่จาเป็นในการ ดาเนินโครงการ ผู้จัดการโครงการจาเป็นต้องมีทักษะ: ให้คาแนะนา เป็นที่ปรึกษาที่ดี ทักษะในการศึกษาระหว่างบุคคลที่ดี สามารถกากับ ดูแลกิจกรรมต่างๆ โดยนาความรู้ความสามารถ ในหลายๆ ด้านมาผสมผสาน
  • 13. 13 โครงสร้างแบบแยกย่อยงาน (Work Breakdown Structure) การแบ่งแยกระดับ เพื่อให้สามารถระบุรายละเอียดปลีกย่อยได้ มีดังนี้ 1.โครงการ 2.กลุ่มงานหลัก (Major tasks) ในโครงการ 3.กลุ่มงานย่อย (Subtasks) ในกลุ่มงานหลัก 4.กิจกรรม(Activities) หรือชุดงาน (Work packages) ที่ต้องทาให้สาเร็จลุล่วง
  • 14. 14 โครงสร้างแบบแยกงานย่อย (Work Breakdown Structure) © 2011 Pearson Educationระดับ4 เข้ากันได้กับ Windows MEเข้ากันได้กับ Windows Vistaเข้ากันได้กับ Windows XP 1.1.2.3 1.1.2.2 1.1.2.1 (ชุดงาน Work packages) ระดับ3พัฒนา GUIs วางแผน ทดสอบโมดูล สร้างความมั่นใจว่าสามารถใช้งาน ร่วมกับเวอร์ชั่นก่อนหน้าได้ บริหารต้นทุน/ตารางการ ทางาน ทดสอบข้อบกพร่อง 1.1.11.2.2 1.3.2 1.3.11.2.1 1.1.2 ระดับ2ออกแบบซอฟท์แวร์ การบริหารโครงการทดสอบระบบ 1.1 1.2 1.3ระดับ1 การพัฒนาระบบปฏิบัติการ Windows 7 1.0
  • 15. 15 การกาหนดตารางการทางานของโครงการ ระบุความสัมพันธ์ของกิจกรรม จัดลาดับของกิจกรรม กาหนดเวลาและค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ประเมินความต้องการวัตถุดิบและทรัพยากร มนุษย์ กาหนดกิจกรรมที่เป็นกิจกรรมวิฤติ
  • 17. 17 ตัวอย่าง Gantt Chart อย่างง่าย เวลา ม.ค. ก.พ.มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค.ส.ค. กย. ออกแบบ ต้นแบบ ทดสอบ แก้ไข ผลิต
  • 18. 18 การให้บริการของสายการบิน Delta JetDelta Jet ผู้โดยสาร สัมภาระ การเติมเชื้อเพลิง สินค้าขนส่งและจดหมาย บริการห้องครัว บริการห้องน้า น้าดื่ม การทาความสะอาดห้องโดยสาร สินค้าขนส่งและจดหมาย บริการเที่ยวบิน ลูกเรือปฏิบัติการ สัมภาระ ผู้โดยสาร ลงจากเครื่อง ตรวจสัมภาระ นาสัมภาระออกจากเครื่อง เติมเชื้อเพลิง เติมน้าเข้าหม้อน้า นาสินค้าและจดหมายออกจากเครื่อง ห้องครัวที่ประดูโดยสารด้านหน้า ห้องครัวที่ประดูดโดยสารด้านหลัง ด้านหน้า ตรงกลาง ด้านหลัง การบรรจุน้าดื่ม ที่นั่งชั้นหนึ่ง ที่นั่งชั้นประหยัด สินค้าขนส่งและจดหมายบรรทุกเพื่อขนส่ง ตรวจห้องครัว ห้องโดยสาร รับผู้โดยสาร ตรวจเช็คความเรียบร้อยภายในเครื่องบิน นาสัมภาระขึ้นเครื่อง ผู้โดยสารขึ้นเครื่อง 010203040 เวลา , นาที
  • 19. 19 PERT and CPMPERT CPM เป็นเทคนิคในการหาเครือข่ายงาน พัฒนาในช่วงปี 1950’s CPM พัฒนาโดย DuPont ในปี 1957 PERT พัฒนาโดย Booz, Allen และHamilton จากกองทัพของสหรัฐอเมริกา ในปี 1958 CPM และ PERT มีการวิเคราะห์ที่คล้ายกัน แตกต่างกันที่ PERT ต้องประมาณค่า 3 ครั้งใน แต่ละกิจกรรม เพื่อนาไปหาค่าทางสถิติเกี่ยวกับความคาดหวังและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของแต่ละกิจกรรม แต่ CPM มีสมมติฐานว่าเวลาที่กาหนดในกิจกรรมมีค่าแน่นอน ทาให้ สามารถพิจารณาปัจจัยด้านเวลาเพียงปัจจัยเดียว พิจารณาความสัมพันธ์ก่อน-หลัง ประเมินเวลาที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม
  • 20. 20 6 ขั้นตอนของวิธีการ PERT และ CPM 1.กาหนดโครงการและจัดเตรียมโครงสร้างแบบแยกย่อยงาน 2.ระบุความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม ระบุลาดับกิจกรรมก่อน-หลัง 3.วาดภาพเครือข่ายเชื่อมโยงทุกกิจกรรม 4.กาหนดระยะเวลา ประมาณการค่าใช้จ่ายให้กับแต่ละกิจกรรม 5.คานวณหาเส้นทางวิกฤติ ที่ใช้เวลายาวนานที่สุด (critical path) 6.ใช้เครือข่ายในการวางแผน จัดตารางการทางาน ติดตาม ตรวจสอบ และควบคุม โครงการ
  • 21. 21 เปรียบเทียบเครือข่ายแบบAON และ AOAAOA กิจกรรมบนจุดวงกลมความหมายของกิจกรรมกิจกรรมบนลูกศร Activity on Node (AON)Activity on Arrow (AOA) A มาก่อน B โดยที่ B มาก่อน C (a)A B C B A C A และ B ต้องเสร็จสมบูรณ์ ก่อนที่ C จะสามารถเริ่มต้น ได้ (b) A C CB A B B และ C ไม่สามารถ เริ่มต้นได้ จนกว่า A จะ เสร็จสมบูรณ์ (c) B A C A B C C และ D ไม่สามารถ เริ่มต้นได้ จนกว่า A และ B จะเสร็จสมบูรณ์ก่อน (d) A BCD B A CD
  • 22. 22 เปรียบเทียบเครือข่ายแบบAON และ AOAAOA กิจกรรมบนจุดวงกลมความหมายของกิจกรรมกิจกรรมบนลูกศร Activity on Node (AON)Activity on Arrow (AOA) C ไม่สามารถเริ่มต้นได้จนกว่า A และ B จะเสร็จสมบูรณ์ ก่อน D ไม่สามารถเริ่มต้นได้ จนกว่า B จะเสร็จสมบูรณ์ ก่อน กิจกรรมสมมติได้ถูกกาหนดขึ้น ที่วิธี AOA (e) C A BD กิจกรรมสมมติ AB C D B และ C ไม่สามารถเริ่มต้น ได้จนกว่า A จะเสร็จสมบูรณ์ ก่อน D ไม่สามารถเริ่มต้นได้ จนกว่า B และ C จะเสร็จ สมบูรณ์ก่อน กิจกรรมสมมติ ได้ถูกกาหนดที่วิธี AOA (f) A C DB A B CDกิจกรรม สมมติ
  • 23. 23 ตัวอย่างวิธี AON ตัวอย่าง โรงพยาบาล Milwaukee ตัดสินใจลงทุนในโครงการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมมลพิษทางอากาศภายในโรงพยาบาล โดยมีกาหนดระยะเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ ทั้งสิ้น 16 สัปดาห์ กิจกรรม รายละเอียด กิจกรรมที่นาหน้า มาก่อน ระยะเวลา (สัปดาห์) A สร้างส่วนประกอบภายใน — 2 B ทาหลังคาและพื้น — 3 C สร้างปล่องไฟ A 2 D เทคอนกรีตและติดตั้งโครงสร้าง A, B 4 E สร้างเตาเผาอุณหภูมิสูง C 4 F ติดตั้งระบบควบคุมมลพิษทางอากาศ C 3 G ติดตั้งเครื่องควบคุมมลพิษทางอากาศ D, E 5 H ตรวจสอบ F, G 2 Total Time (weeks) 25
  • 24. 24 เครือข่ายโครงการวิธี AON สาหรับโรงพยาบาล MilwaukeeMilwaukee AStartB จุดเริ่มต้น กิจกรรม กิจกรรมA (สร้างส่วนประกอบภายใน) กิจกรรมB(ทาหลังคาและพื้น)
  • 25. 25 เครือข่ายโครงการวิธี AON สาหรับโรงพยาบาล MilwaukeeMilwaukee AStartB กิจกรรมA มาก่อนกิจกรรม C CD กิจกรรมA และB มาก่อนกิจกรรมD
  • 26. 26 เครือข่ายโครงการวิธี AON สาหรับโรงพยาบาล MilwaukeeMilwaukeeCA Start DB G E FHลูกศรแสดงความสัมพันธ์ก่อนหลังระหว่างกิจกรรม
  • 27. 27 เครือข่ายโครงการวิธี AOA สาหรับโรงพยาบาล MilwaukeeMilwaukeeH(ตรวจสอบ) 7 กิจกรรม สมมติ 6 5 D(เทคอนกรีต ติดตั้งโครงสร้าง) 4 C (สร้าง ปล่องไฟ) 1 32
  • 28. 28 การกาหนดตารางเวลาการทางานของโครงการ การวิเคราะห์เส้นทางวิกฤติ เส้นทางวิกฤติ คือ เส้นทางที่ใช้เวลานานที่สุดในเครือข่าย เส้นทางวิกฤติ คือ เส้นทางที่เร็วที่สุดในการดาเนินงานโครงการ ให้เสร็จสมบูรณ์ได้ กิจกรรมที่อยู่บนเส้นวิกฤติจะไม่มีเวลาล่าช้า (Slack time = 0) กิจกรรมใดๆ ที่ล่าช้า บนเส้นทางวิกฤติ จะส่งผลกระทบให้ โครงการเกิดความล่าช้า
  • 29. 29 การกาหนดตารางเวลาการทางานของโครงการ การวิเคราะห์เส้นทางวิกฤติ ActivityDescriptionTime (weeks) ABuild internal components2 BModify roof and floor3 CConstruct collection stack2 DPour concrete and install frame4 EBuild high-temperature burner4 FInstall pollution control system 3 GInstall air pollution device5 HInspect and test2 Total Time (weeks)25เวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุด Earliest start (ES) =เวลาที่เร็วที่สุดที่กิจกรรมสามารถเริ่มต้นได้ โดยมีสมมติฐานว่า ทุกกิจกรรมที่ นาหน้ามาก่อนได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว เวลาเริ่มต้นที่ช้าที่สุด Latest start (LS) =เวลาช้าที่สุดที่กิจกรรมสามารถเริ่มต้นได้ ถ้าช้ากว่านี้แล้วจะทาให้โครงการต้อง ล่าช้าออกไป เวลาสิ้นสุดเร็วที่สุด Earliest finish(EF) = เวลาสิ้นสุดเร็วที่สุดที่กิจกรรมสามารถเสร็จได้ เวลาสิ้นสุดช้าที่สุด Latest finish (LF) =เวลาสิ้นสุดที่กิจกรรมสามารถเสร็จได้ ถ้าช้ากว่านี้ทาให้โครงการล่าช้าออกไป
  • 30. 30 การกาหนดตารางเวลาการทางานของโครงการ การวิเคราะห์เส้นทางวิกฤติAชื่อของกิจกรรม หรือสัญลักษณ์ เวลาเริ่มต้น เร็วที่สุด ESเวลาสิ้นสุด เร็วที่สุด EF เวลาเริ่มต้น ช้าที่สุด LSเวลาสิ้นสุด ช้าที่สุด LF ระยะเวลาของกิจกรรม 2
  • 31. 31 การกาหนดเวลาแบบไปข้างหน้า กฎของเวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด: ถ้ามีกิจกรรมก่อนหน้าเพียงกิจกรรมเดียว เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด (ES) เท่ากับเวลาสิ้นสุดเร็วที่สุด (EF) ของกิจกรรมก่อนหน้า ถ้ากิจกรรมก่อนหน้ามีหลายกิจกรรม เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด คือ ค่าที่ มากสุดของเวลาสิ้นสุดเร็วที่สุด (EF) ของกิจกรรมก่อนหน้า ES = Max {EF ของกิจกรรมก่อนหน้า} กฎของเวลาสิ้นสุดเร็วที่สุด: เวลาสิ้นสุดเร็วที่สุดของแต่ละกิจกรรม (EF) เท่ากับเวลาเริ่มต้นเร็ว ที่สุด (ES) บวกด้วยเวลาที่ใช้ของกิจกรรม EF = ES + เวลาที่ใช้ของกิจกรรม
  • 32. 32 จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee Start 00 ES 0 EF = ES + เวลาที่ใช้ของกิจกรรม
  • 33. 33 จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee Start 000A2 2 EF ของA = ES ของA + 2 0 ESของA
  • 34. 34 จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee B 3 Start 0 0 0 A 2 203EF ของB = ES ของB + 3 0 ESของB
  • 35. 35 จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee C2 2 4 B 3 0 3 Start 0 00A22 0
  • 36. 36 จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee C 2 2 4 B 3 0 3Start 0 0 0A220 D 4 7 3 = Max (2, 3) D เริ่มได้ต้องผ่าน A และ B มาก่อน ในกรณีที่กิจกรรมก่อนหน้ามีหลายกิจกรรม ES ของ D คือ ค่า Max EF ระหว่าง A และ B ซึ่งจุดเริ่มต้นเร็วสุดของ D คือ 3
  • 37. 37 จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee D 4 3 7 C 2 2 4B303 Start 0 0 0A2 2 0
  • 38. 38 จุดเริ่มต้นเร็วที่สุด/จุดสิ้นสุดเร็วที่สุด (ES/EF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee E4 F 3 G 5 H24813 15 4 8 13 7 D 4 3 7 C 2 2 4 B 3 03Start0 0 0 A 2 2 0 Figure 3.11
  • 39. 39 การกาหนดเวลาแบบย้อนกลับ กฎของเวลาสิ้นสุดช้าที่สุด: ถ้ากิจกรรมที่สนใจ มีกิจกรรมตามหลังเพียงกิจกรรมเดียว ดังนั้น เวลา สิ้นสุดช้าที่สุด (LF) เท่ากับ เวลาเริ่มต้นช้าสุด (LS) ของกิจกรรมที่ ตามหลัง ถ้ากิจกรรมที่สนใจ มีกิจกรรมตามหลังหลายกิจกรรม เวลาสิ้นสุดช้า ที่สุด (LF) เท่ากับ ค่าที่น้อยที่สุดของเวลาเริ่มต้นช้าสุดของกิจกรรมที่ ตามหลัง LF = Min {LS ของกิจกรรมที่ตามหลัง} เวลาเริ่มต้นช้าสุด (LS) ของกิจกรรม ผลต่างระหว่าง เวลาสิ้นสุดช้าสุด (LF) กับเวลาที่ใช้ของกิจกรรม LS = LF –เวลาที่ใช้ของกิจกรรม
  • 40. 40 จุดเริ่มต้นช้าที่สุด/จุดสิ้นสุดช้าที่สุด (LS/LF) ของเครือข่าย สาหรับMilwaukeeMilwaukeeE4 F 3 G5 H 2 4 8 13 15 4 8 13 7D437 C 2 2 4B3 0 3Start 0 0 0 A 2 2 0LF = EF ของโครงการ 1513 LS = LF –เวลาที่ใช้ของกิจกรรม
  • 41. 41 จุดเริ่มต้นช้าที่สุด/จุดสิ้นสุดช้าที่สุด (LS/LF) ของเครือข่าย สาหรับ Milwaukee E4 F 3 G 5 H2 4 8 13 15 4 8 13713 15D4 3 7 C 2 2 4 B 3 0 3 Start 0 0 0A22 0LF = Min(LS ของกิจกรรม ที่ตามหลัง) 10 13
  • 42. 42 จุดเริ่มต้นช้าที่สุด/จุดสิ้นสุดช้าที่สุด (LS/LF) ของ เครือข่าย สาหรับ Milwaukee E4 F 3 G 5 H 2 4 8 13 1548 13 7 13 15 10 13 8 13 4 8 D 4 3 7C224 B 3 0 3Start 0 0 0 A 2 2 0 LF = Min(4, 10) 2
  • 43. 43 การคานวณหาเวลาที่ล่าช้า (Slack Time) หลังจากคานวณค่า ES, EF, LS, and LF สาหรับทุกกิจกรรมแล้ว ลาดับต่อมาคือ การคานวณหาเวลาที่ล่าช้าของแต่ละกิจกรรม เวลาที่ล่าช้า คือ เวลาที่กิจกรรมสามารถล่าช้าได้ โดยที่ไม่ทา ให้โครงการทั้งหมดล่าช้า เวลาที่ล่าช้า (Slack time) = LS –ES หรือ เวลาที่ล่าช้า (Slack time) = LF –EF
  • 44. 44 การคานวณหาเวลาที่ล่าช้า (Slack Time) เริ่มต้นสิ้นสุดเริ่มต้นสิ้นสุดเวลาล่าช้าอยู่บน เร็วสุดเร็วสุดช้าสุดช้าสุดSlackเส้นทาง กิจกรรมESEFLSLFLS –ESวิกฤติ A02020ใช่ B03141ไม่ใช่ C24240ใช่ D37481ไม่ใช่ E48480ใช่ F4710136ไม่ใช่ G8138130ใช่ H131513150ใช่
  • 45. 45 เส้นทางวิกฤติสาหรับMilwaukee E 4 F 3 G 5 H 2 4 8 13 154 8 13 7 13 15 10 13 8 13 4 8D4 3 7C22 4B3 0 3 Start 0 0 0 A 2 2 04 2 8 42 0 4 1 0 0
  • 46. 46 เส้นทางวิกฤติและเวลาล่าช้า สาหรับMilwaukee E 4 F 3 G 5 H 2 4 8 13 154 8 13 7 13 15 10 13 8 13 4 8D4 3 7C22 4B3 0 3 Start 0 0 0 A 2 2 04 2 8 42 0 4 1 0 0 ล่าช้า= 1 ล่าช้า= 1 ล่าช้า= 0 ล่าช้า= 6 ล่าช้า= 0 ล่าช้า= 0 ล่าช้า= 0 ล่าช้า= 0
  • 47. 47 แผนภูมิแกนต์ พิจารณา ES – EF Gantt ChartEF Chartสาหรับ สาMilwaukee PaperMilwaukee PaperAสร้างส่วนประกอบภายใน Bทาหลังคาและพื้น Cสร้างปล่องไฟ Dเทคอนกรีตและติดตั้งโครงสร้าง Eสร้างเตาเผาอุณหภูมิสูง Fติดตั้งระบบควบคุมมลพิษทางอากาศ Gติดตั้งเครื่องควบคุมมลพิษทางอากาศ Hตรวจสอบ 12345678910111213141516กิจกรรม / เวลา
  • 48. 48 แผนภูมิแกนต์ พิจารณา LS – LF Gantt ChartGantt Chartสาหรับ สาMilwaukee Aสร้างส่วนประกอบภายใน Bทาหลังคาและพื้น Cสร้างปล่องไฟ Dเทคอนกรีตและติดตั้งโครงสร้าง Eสร้างเตาเผาอุณหภูมิสูง Fติดตั้งระบบควบคุมมลพิษทางอากาศ Gติดตั้งเครื่องควบคุมมลพิษทาง อากาศ Hตรวจสอบ 12345678910111213141516 กิจกรรม / เวลา
  • 49. 49 ความแปรปรวนของเวลาที่ใช้ในกิจกรรม CPM สันนิษฐานว่าเวลาที่ใช้ในกิจกรรมมีค่าคงที่และทราบมาก่อน ไม่สามารถเกิดความแปรปรวนขึ้นได้ PERT นาความน่าจะเป็นมาใช้ในการประมาณการเวลาของแต่ละ กิจกรรม สามารถหาได้ 3 ช่วงลักษณะ คือ เวลาเร็วที่สุดสาหรับกิจกรรมนั้น (Optimistic time, a) เวลาช้าที่สุดสาหรับกิจกรรมนั้น (Pessimistic time, b) เวลาที่เป็นไปได้มากที่สุดสาหรับกิจกรรมนั้น (Most likely time, m)
  • 50. 50 ความแปรปรวนของเวลาที่ใช้ในกิจกรรม การประมาณค่าจากการกระจายตัวแบบเบต้า (Beta distribution) เวลาที่ใช้ในกิจกรรม: ความแปรปรวนของเวลา: t= (a+ 4m+ b)/6 v= [(b–a)/6]2
  • 51. 51 ความแปรปรวนของเวลาที่ใช้ในกิจกรรม การประมาณค่าจากการกระจายตัวแบบเบต้า (Beta distribution) t = (a + 4m + b)/6 v = [(b − a)/6]2 โอกาส 1 ใน 100 ที่ b จะ เกิดขึ้น โอกาส 1 ใน100 ที่ a จะ เกิดขึ้น ความน่าจะเป็น เวลาเร็วสุด (a) เวลาที่เป็นไปได้ มากที่สุด(m) เวลาช้าสุด (b) เวลาของ กิจกรรม
  • 53. 53 ความน่าจะเป็นของการทาให้โครงการบรรลุผลสาเร็จ s2= ความแปรปรวนของโครงการ = (ค่าความแปรปรวนของกิจกรรมบนเส้นทางวิกฤติ) p ความแปรปรวนของโครงการ s2= 0.11 + 0.11 + 1.00 + 1.78 + 0.11 = 3.11 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของโครงการ sp= ความแปรปรวนของโครงการ = 3.11 = 1.76 สัปดาห์ p เส้นทางวิกฤติ สาหรับ Milwaukee Paper คือ กิจกรรม A, C, E, G และ H
  • 54. 54 ความน่าจะเป็นของการทาให้โครงการบรรลุผลสาเร็จ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของโครงการ = 1.76 สัปดาห์ 15 สัปดาห์ (ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินการทั้งหมดของโครงการ)
  • 55. 55 ความน่าจะเป็นของการทาให้โครงการบรรลุผลสาเร็จ ความน่าจะเป็นที่โครงการจะเสร็จสิ้นภายใน 16 สัปดาห์ Z=/sp = (16 สัปดาห์–15 สัปดาห์)/1.76 = 0.57 กาหนดเวลา เวลาที่ใช้ในการดาเนินการ ต้องการทราบทั้งหมดของโครงการ เมื่อค่า Z เป็นค่าเบี่ยงเบนของค่าเวลาที่ ต้องการทราบหรือเวลาเป้าหมาย ที่เบี่ยงเบน จากเวลาที่ใช้ในการดาเนินการทั้งหมดของ โครงการ –
  • 56. 56 ความน่าจะเป็นของการทาให้โครงการบรรลุผลสาเร็จ What is the probability this project can be completed on or before the 16 week deadline? Z=−/sp = (16 wks−15 wks)/1.76 = 0.57 dueexpected datedateof completion เมื่อค่า Z เป็นค่าเบี่ยงเบนของค่าเวลาที่ต้องการ ทราบหรือเวลาเป้าหมาย ที่เบี่ยงเบนจากเวลาที่ใช้ใน การดาเนินการทั้งหมดของโครงการ Z.00.01.07.08 .1.50000.50399.52790.53188 .2.53983.54380.56749.57142 .5.69146.69497.71566.71904 .6.72575.72907.74857.75175 จากตารางความน่าจะเป็น (การกระจายแบบปกติ)
  • 57. 57 ความน่าจะเป็นของการทาให้โครงการบรรลุผลสาเร็จ เวลา มีโอกาส 71.57% ที่โครงการ จะแล้วเสร็จ ก่อน 16 สัปดาห์ 0.57 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1516สัปดาห์ สัปดาห์
  • 58. 58 การกาหนดหรือระบุเวลาโครงการแล้วเสร็จเมื่อโจทย์กาหนดความเป็นไปได้โครงการ ตัวอย่าง ถ้า Milwaukee ต้องการทราบว่า ถ้ากาหนดให้ความน่าจะเป็นที่โครงการจะแล้ว เสร็จ 99% ต้องกาหนดระยะเวลาโครงการเป็นกี่สัปดาห์ ความน่าจะเป็น 0.01 Z จากตารางความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น 0.99 2.33 เท่าค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0 2.33
  • 59. 59 การกาหนดหรือระบุเวลาโครงการแล้วเสร็จ เมื่อโจทย์กาหนดความเป็นไปได้โครงการ Z= – /sp แทนค่า จะได้ 2.33 = (กาหนดเวลาที่ต้องการทราบ–15 สัปดาห์)/1.76 กาหนดเวลาที่ต้องการทราบ = 15 + (2.33x1.76) = 19.10 สัปดาห์ กาหนดเวลา เวลาที่ใช้ในการดาเนินการ ต้องการทราบ ทั้งหมดของโครงการ
  • 60. 60 แบบฝึกหัดท้ายบท 1) โจทย์ข้อ 8 ในหนังสือ ให้วาดรูปเครือข่าย AON 2) จากรูปให้หา วาดรูปเครือข่ายแบบ AON และเส้นทางวิกฤติ ความแปรปรวนของโครงการ และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน กาหนดให้ ค่าความแปรปรวน A = 1/9, B = 1/9, C=16/9, D=4/9 และ E=1/9 3) ถ้าโครงการมีความคาดหวังระยะเวลาที่ใช้ในกิจกรรมทั้งหมด 40 สัปดาห์และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5 สัปดาห์ จากการกระจายแบบปกติ ให้หาว่า โอกาสที่โครงการจะแล้วเสร็จโดยใช้เวลาน้อยกว่า 50 สัปดาห์ โอกาสที่โครงการจะแล้วเสร็จโดยใช้เวลาน้อยกว่า 38 สัปดาห์ กาหนดเวลาที่โครงการจะแล้วเสร็จ ภายใต้โอกาส 90%
  • 61. 61 Q & A