SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
บทที่ 5 
การออกแบบผลิตภัณฑ์ 
การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือ การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ 
แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ 
ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ ทางการศึกษาเท่านั้น 
0
กรณีศึกษาบริษัทระดับโลกเกี่ยวกับการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ 
การเลือกสินค้าและบริการ 
การริเริ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ 
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ 
เทคนิคสาหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์ 
การนิยามผลิตภัณฑ์ 
เอกสารสาหรับการผลิต 
การออกแบบการบริหาร 
1
กรณีศึกษาระดับโลก (Global Company Profile)(Profile) 
กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการ แข่งขันให้กับบริษัท Regal Marine 
บริษัท Regal Marine เป็นผู้ผลิตเรือยอชท์ ที่มียอด จาหน่ายสูงเป็นอันดับสามของโลก Paul Kuckกล่าวว่า 
“เราต้องทราบว่าลูกค้าอยากได้อะไร แล้วต้องตอบสนอง ความต้องการเหล่านั้นให้ได้” 
2
2. วงจรชีวิต ผลิตภัณฑ์ (Product life cycles) 
3. วงจรชีวิตและกลยุทธ์ 
1. ทางเลือก 
กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เกิดความ ได้เปรียบทางการ แข่งขัน 
การเลือกสินค้าและบริการ
3
1. ทางเลือกกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์เพื่อให้เกิดความ ได้เปรียบทางการแข่งขัน 
การเลือกผลิตภัณฑ์ คือ การเลือกชนิดผลิตภัณฑ์ หรือบริการที่บริษัทมีความถนัดหรือมีความชานาญเป็น พิเศษเพื่อส่งมอบให้กับลูกค้า 
ในขณะที่บางองค์การพยายามสร้างความแตกต่าง ในผลิตภัณฑ์ให้ต่างจากคู่แข่งขันรายอื่น บางองค์การก็ใช้ กลยุทธ์ทางด้านราคาผ่านการออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือ 
กลยุทธ์การตอบสนองอย่างรวดเร็ว 
4
2. วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Product life cycles) 
5
3. วงจรชีวิตและกลยุทธ์ 
ผู้จัดการฝ่า ยปฏิบัติการต้องเตรียมพัฒนาและสร้าง กลยุทธ์สาหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ จะต้องพิจารณากลยุทธ์ สาหรับผลิตภัณฑ์เดิมของบริษัทควบคู่ไปกับกลยุทธ์ ของผลิตภัณฑ์ใหม่นั้นด้วย เพื่อให้สามารถเลือกกลยุทธ์ ที่เหมาะสมกับแต่ละผลิตภัณฑ์อย่างเป็นภาพรวมและ สอดประสานกันได้อย่างดี ซึ่งกลยุทธ์นั้นจะมีความ แตกต่างกันในแต่ละช่วงชีวิตผลิตภัณฑ์ 
6
การริเริ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ (Generating new products) 
อาจมาจากเหตุผลของการนาสินค้าตัวใหม่เพื่อเข้าสู่ ตลาดหรืออาจจะเป็นการทดแทนสินค้าตัวเดิมที่ใกล้หมด ช่วงอายุผลิตภัณฑ์ดังนั้นกระบวนการริเริ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ จึงต้องเป็นไปอย่างมีระบบและรอบคอบที่สุด กระบวนการ ต่างๆ ได้แก่ การเลือกผลิตภัณฑ์ การนิยามผลิตภัณฑ์ และ การกาหนดรูปแบบทดแทนสินค้าตัวเดิมให้มีความต่อเนื่อง 
7
การกาหนดแนวทางสาหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ 
การกาหนดแนวทางสาหรับผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อจะ หารูปแบบของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งปริมาณที่จะผลิตและ จานวนชนิดผลิตภัณฑ์ สิ่งเหล่านี้จาเป็นที่จะต้องได้รับ การพิจารณาอย่างรอบคอบและด้วยความสมบูรณ์จาก มุมมองที่หลากหลาย เทคนิคที่สาคัญสาหรับการริเริ่ม ผลิตภัณฑ์ใหม่ ได้แก่ การระดมความคิดเห็น (Brainstorming) 
8
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product development) 
จะต้องพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ได้แก่ งบประมาณที่ จาเป็นสาหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ความคุ้มค่าของ การลงทุน ความเปลี่ยนแปลงของตลาดที่มีในปัจ จุบัน และในอนาคต วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ และความสามรถ ขององค์การในการดาเนินตามกลยุทธ์ 
9
10 
ขอบข่ายงาน 
สาหรับ 
ทีมพัฒนา 
ผลิตภัณฑ์ 
ขอบข่ายงาน 
สาหรับทีม 
ออกแบบและ 
วิศวกรรม 
สร้างแนวคิดให้ผลิตภัณฑ์ 
พิจารณาว่าบริษัทสามารถผลิตตามแนวคิดนั้นหรือไม่ 
พิจารณาความต้องการของลูกค้าเพื่อนามา สร้างข้อเปรียบเทียบทางการแข่งขัน 
กาหนดลักษณะการทางาน (Function) ให้กับผลิตภัณฑ์ 
กาหนดข้อกาหนดเฉพาะทางการ ผลิตของผลิตภัณฑ์ 
การตรวจสอบแบบเพื่อพิจารณาว่า คุณลักษณะต่างๆ ของผลิตภัณฑ์สอดคล้อง กับความต้องการของลูกค้าหรือไม่ 
ทดสอบตลาดเพื่อพิจารณาการ ตอบสนองของลูกค้า 
แนะนาผลิตภัณฑ์สู่ตลาด 
ประเมินความสาเร็จของผลิตภัณฑ์
การเปลี่ยนแปลงหน้าที่ด้านคุณภาพให้เป็นแนวทาง ปฏิบัติ (Quality function deployment) 
การเปลี่ยนแปลงหน้าที่ด้านคุณภาพ คือ การทาให้ ทราบว่าอะไรคือสิ่งที่ลูกค้าต้องการจากตัวผลิตภัณฑ์และนา ความต้องการนั้นมาเป็นแนวทางปฏิบัติให้หน่วยงานต่างๆ ทั่วทั้งองค์การ เพื่อผลิตสินค้าให้ตรงความต้องการของ ลูกค้ามากที่สุดและแปลงความหมายความต้องการเหล่านั้น ออกมาในรูปของความต้องการในเชิงเทคนิคและกระจาย ข้อมูลให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและส่วน สนับสนุนต่างๆ เพื่อให้ทราบว่าจะทาการผลิตผลิตภัณฑ์ อย่างไรให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้ามากที่สุด 
11
12
การจัดองค์การเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 
วิธีการพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบเดิมจะมอบหมาย ให้ฝ่ายต่างๆ ในองค์การ -ข้อดี คือ ทาให้สามารถกาหนดความรับผิดชอบและ หน้าที่ได้อย่างชัดเจน -ข้อจากัด คือ การขาดการประสานงานระหว่าง หน่วยงานและขาดการวางแผนล่วงหน้า สาหรับช่วงงาน ที่มีความต่อเนื่องกัน ทาให้บ่อยครั้งไม่สามารถผลิตได้ ด้วยเทคโนโลยีปัจ จุบันของบริษัท อาจมีการลงทุนเพิ่ม และไม่คุ้มค่ากับการลงทุน เป็นเหตุให้ต้องมีการแก้ไข แบบผลิตภัณฑ์ ทาให้สูญเสียทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายเป็น อย่างมาก 
13
ทีมวิศวกรรมร่วมขนาน (Concurrent engineering team) โดยทีมดังกล่าวจะประกอบไปด้วยบุคลากรจาก หลายหน่วยงาน ได้แก่ ฝ่ายตลาด ฝ่า ยผลิต ฝ่า ยจัดซื้อ ฝ่ายประกันคุณภาพ ฝ่ายบริการลูกค้า หรืออาจรวมไป ถึงผู้จัดหาวัตถุดิบด้วยก็ได้ มาทางานร่วมกันเป็นทีม เปิดให้ทุกคนได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ พยายาม เร่งกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สาเร็จเร็วที่สุด ด้วย การพยายามทางานต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน แทนการ ทางานเป็นลาดับขั้น ซึ่งการทาทุกอย่างไปพร้อมกันนี้ จะช่วยลดการสูญเสียทางด้านเวลา และต้นทุนจากการ ปรับแก้ผลิตภัณฑ์ได้เป็นอย่างมาก 
14
ความสามารถในการผลิตและวิศวกรรมคุณค่า (Manufacturability and value engineering) 
ทีมพัฒนาผลิตภัณฑ์จาเป็นต้องพิจารณา ความสามารถในการผลิต โดยพิจารณาว่าฝ่า ยผลิตสามารถ ผลิตสินค้าที่ถูกออกแบบมาด้วยเทคโนโลยีการผลิตปัจ จุบัน ของบริษัทได้หรือไม่ การลงทุนนั้นจะคุ้มค่าหรือไม่ ต้อง พยายามลดจานวนชิ้นส่วนประกอบสาหรับผลิตภัณฑ์ เพื่อ ลดระยะเวลาการผลิตและประกอบได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ซึ่งจะ ส่งผลต่อการลดต้นทุนการผลิต 
15
เทคนิคสาหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์
1. การออกแบบให้ผลิตภัณฑ์มีความทนนาน (Robust design) 
2. การออกแบบให้เป็นชิ้นส่วนประกอบมาตรฐาน (Modular design) 
3. การประยุกต์คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบผลิตภัณฑ์ [Computer-Aided Design (CAD)] 
4. การประยุกต์คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต [Computer-Aided Manufacturing (CAM)] 
5. เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual reality technology) 
6. วิศวกรรมคุณค่า (Value engineering) และการวิเคราะห์คุณค่า (Value analysis) 
7. จริยธรรมและการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Ethics and Environmentally friendly designs) 
16
1. การออกแบบให้ผลิตภัณฑ์มีความทนทาน (Robust design) 
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้แบบผลิตภัณฑ์นั้นสามารถทน ต่อการเปลี่ยนแปลง หรือความแปรปรวนที่อาจเกิดขึ้นใน ขั้นตอนของการผลิตหรือการประกอบ โดยที่ความแปรปรวน ดังกล่าวจะไม่ส่งผลต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ตามที่ได้ กาหนดไว้ 
17
2. การออกแบบให้เป็นชิ้นส่วนประกอบมาตรฐาน (Modular design) 
เป็นการออกแบบให้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่บริษัทมีนั้น สามารถให้ชิ้นส่วนประกอบที่สามารถเปลี่ยนหรือทดแทน กันได้ เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการสาหรับฝ่า ยผลิต เช่น บริษัท Toyota บริษัทผลิตเครื่องบิน Airbus หรือแม้กระทั่งร้าน McDonald และ Burger King 
18
3. การประยุกต์คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ [Computer-Aided Design (CAD)] 
คือ การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการเขียนแบบ ผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการเตรียมและพิมพ์เอกสารทาง วิศวกรรมเพื่อการผลิต ช่วยให้ผู้ออกแบบสามารถเขียน แบบทั้งในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติได้อย่างสะดวกและ รวดเร็ว CAD ได้แก่ การออกแบบเพื่อการผลิตและการ ประกอบ [Design for Manufacture and Assembly (DFMA)] และการสร้างต้นแบบ 3 มิติ(3-D object modeling) 
19
4. การประยุกต์คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต [Computer-Aided Manufacturing (CAM)] 
การใช้ชุดคาสั่งจากซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์เพื่อสั่ง และควบคุมเครื่องจักร ให้ผลิตชิ้นงานตามคาสั่งจาก คอมพิวเตอร์โดยอัตโนมัติแทนการใช้พนักงาน จะมีการนา ข้อมูลแบบผลิตภัณฑ์ที่ต้องการจากการออกแบบด้วย ซอฟท์แวร์ CAD มาแปลงให้เป็นชุดคาสั่ง ในรูปแบบที่ เครื่องจักรสามารถเข้าใจที่เรียกว่า G-Code เพื่อให้สามารถ สั่งและควบคุมเครื่องจักรให้ทางานได้อย่างอัตโนมัติ 
20
5. เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual reality technology) 
ภาพเสมือนจริง (Virtual reality) เป็นรูปแบบของ การใช้ภาพสื่อสารแทนสิ่งที่เป็นจริง และให้ผู้ใช้สามารถ ตอบโต้หรือตอบสนองกับภาพเหล่านั้นได้ ปกติแล้วข้อมูลที่ นามาสร้างภาพเสมือนจริงนี้จะได้มาจาก CAD ซึ่ง เทคโนโลยีนี้สามารถลดต้นทุนจากการแก้แบบและความ ผิดพลาดจากการผลิตได้เป็นอย่างมาก และยังสามาถลด ระยะเวลา ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้อีกด้วย 
21
6. วิศวกรรมคุณค่า (Value engineering) และการ วิเคราะห์คุณค่า (Value analysis) 
เป็นเทคนิคที่เน้นในการปรับปรุงแบบผลิตภัณฑ์ ก่อนการผลิต เพื่อวิเคราะห์ถึงหน้าที่การทางานของ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ โดยแยกแยะหน้าที่การทางานของ ผลิตภัณฑ์ออกมาเป็นชิ้นส่วนย่อย แล้วคิดต้นทุนของหน้าที่ การทางานแต่ละชิ้นส่วน จากนั้นทาการเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่การทางานกับต้นทุนในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อประเมินคุณค่าของผลิตภัณฑ์แต่ละชิ้นส่วน พร้อมทั้งหาแนวทางลดหน้าที่การทางานที่ซับซ้อนของ ชิ้นส่วนแต่ละชิ้นส่วน และพิจารณาลดความสูญเปล่าที่ไม่ ก่อให้เกิดคุณค่า 
22
การวิเคราะห์คุณค่า (Value analysis) จะเน้น ในช่วงของการผลิตเป็นสาคัญ โดยนาหลักการเดียวกัน มาใช้เพื่อการปรับปรุงกระบวนการผลิต โดยพิจารณา แบ่งกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์นั้นออกเป็น กระบวนการย่อยๆ เพื่อหาว่ากระบวนการผลิตใดมี ความสาคัญซึ่งสามารถสร้างมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ ได้มาก และกระบวนการผลิตย่อยใดไม่มีความจาเป็น หรือ เป็นกระบวนการที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่าต่อ ผลิตภัณฑ์ เพื่อลดงานที่ไม่มีประสิทธิภาพเหล่านั้น 
23
7. จริยธรรมและการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อความเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม (Ethics and Environmentally friendly designs) 
เช่น บริษัทผลิตเครื่องสาอางของประเทศอังกฤษ ชื่อ Body Shop ประสบความสาเร็จด้วยการเน้นการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยใช้ส่วนผสมที่ไม่ทาลาย สิ่งแวดล้อมและไม่ใช้การทดสอบผลิตภัณฑ์กับสัตว์ โดยเชื่อ ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการตอบสนองต่อสังคมด้วยความ รับผิดชอบ นโยบายดังกล่าวสามารถสร้างจุดขายในความ แตกต่างให้กับบริษัทและทากาไรเป็นอย่างมากจากการ ตระหนักถึงคุณภาพสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค 
24
การนิยามผลิตภัณฑ์ 
คือ การสร้างความหมายหรือคาจากัดความให้กับ ผลิตภัณฑ์ เพื่อตอบให้ได้ว่าผลิตภัณฑ์นั้นคืออะไร ทางาน ได้อย่างไร และมีประโยชน์อะไร 
การกาหนดรายละเอียดของผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งที่ จาเป็นอย่างมาก เพื่อให้กระบวนการผลิตสามารถผลิตได้ ตรงตามแบบที่ได้ถูกออกแบบมาอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นรายละเอียดของผลิตภัณฑ์จะต้องถูกแสดงออกมาใน รูปแบบของเอกสาร เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติการให้กับ หน่วยงานต่างๆ 
25
ชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์ในงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะ ถูกนิยามโดยแบบเขียนผลิตภัณฑ์ (Drawing) ซึ่งมักจะ เรียกแบบเขียนนี้ว่า แบบวิศวกรรม (Engineering drawing) 
26
การตัดสินใจทาเองหรือซื้อ (Make-or-buy decisions) 
บริษัทส่วนใหญ่ต้องเผชิญกับปัญ หาที่ต้องเลือก ระหว่างการเป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนประกอบเอง หรือซื้อชิ้นส่วน มาจากแหล่งผลิตภายนอกโดยใช้ปัจ จัยในการพิจารณาว่า จะผลิตเองหรือซื้อ ได้แก่ ราคา คุณภาพ ความรวดเร็วใน การส่งมอบ และการมีเทคโนโลยีที่เป็นความลับของบริษัท 
27
เทคโนโลยีแบบกลุ่ม (Group technology) 
เป็นเทคนิคในการจัดแบ่งชิ้นส่วนต่างๆ ไว้เป็น หมวดหมู่ ซึ่งชิ้นส่วนในแต่ละกลุ่มนั้นจะผ่านกระบวนการ เดียวกัน เช่น กลุ่มที่ต้องผ่านกระบวนการเจาะ กลุ่มที่ต้อง ผ่านกระบวนการเซาะร่อง การจัดกลุ่มนี้มีประโยชน์เพื่อ ช่วยในการระบุชิ้นส่วนได้ง่ายและเป็นมาตรฐานยิ่งขึ้น 
28
29
เอกสาร 
สาหรับการ ผลิต 
1. แบบแสดง ชิ้นส่วนประกอบ (Assembly drawing) 
2. แบบภูมิการ ประกอบชิ้นส่วน 
(Assembly chart) 
3ใบแสดงเส้นทาง 
3. ใบเดินของผลิตภัณฑ์ (Route sheet) 
4. ใบสั่งงาน (Work order) 
5. ใบประกาศ เปลี่ยนแปลงแบบ change notices : ECNs) 
วิศวกรรม (Engineering 30
31
การออกแบบการบริการ 
มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากการออกแบบสินค้า กล่าวคือ ผลลัพธ์ของการบริการไม่ใช่เป็นสิ่งที่จับต้องได้ หากแต่เป็นความพึงพอใจของลูกค้า เหตุผลที่ทาให้การ ปรับปรุงประสิทธิภาพของการให้บริการทาได้ยาก เนื่องจากว่า การออกแบบการบริการจาเป็นที่จะต้องนา ความต้องการของลูกค้ามากาหนดรูปแบบการบริการ 
32
33
34 
เทคนิคการ ออกแบบรูปแบบ การให้บริการ 
1. การออกแบบ ให้บริการโดย มุ่งเน้นเฉพาะราย (Customization) 
2. การออกแบบ การให้บริการโดย แบ่งเป็นงาน มาตรฐานย่อย (Modularization) 
3. การออกแบบให้ เป็นการให้บริการ แบบอัตโนมัติ (Automation) 
4. การออกแบบ การให้บริการโดย เน้นช่วงเวลา สาคัญ (Moment- of-truth)

More Related Content

What's hot

การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Managementtltutortutor
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Sitipun
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 

What's hot (20)

การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Management
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 

Similar to บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์

ERP workshop traning ru#5 by double m
ERP workshop traning ru#5 by double mERP workshop traning ru#5 by double m
ERP workshop traning ru#5 by double mApirak Chiangcharoen
 
Business developmentl
Business developmentlBusiness developmentl
Business developmentlwiwattho
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3Nopporn Thepsithar
 
Enterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 Danairat
Enterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 DanairatEnterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 Danairat
Enterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 DanairatDanairat Thanabodithammachari
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการpop Jaturong
 
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศChapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศAkkadate.Com
 
Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1
Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1
Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1Manoo Ordeedolchest
 
An Overview Of I Troject Panagement
An  Overview Of  I  Troject  PanagementAn  Overview Of  I  Troject  Panagement
An Overview Of I Troject PanagementTrue Corporation
 

Similar to บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์ (20)

Chapter2 part1
Chapter2 part1Chapter2 part1
Chapter2 part1
 
#9 qualcomm
#9 qualcomm#9 qualcomm
#9 qualcomm
 
Gor7
Gor7Gor7
Gor7
 
ERP workshop traning ru#5 by double m
ERP workshop traning ru#5 by double mERP workshop traning ru#5 by double m
ERP workshop traning ru#5 by double m
 
08
0808
08
 
Business developmentl
Business developmentlBusiness developmentl
Business developmentl
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
 
Agile Process
Agile ProcessAgile Process
Agile Process
 
Ecommerce start
Ecommerce startEcommerce start
Ecommerce start
 
Enterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 Danairat
Enterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 DanairatEnterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 Danairat
Enterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 Danairat
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
Agile Enterprise Architecture - Danairat
Agile Enterprise Architecture - DanairatAgile Enterprise Architecture - Danairat
Agile Enterprise Architecture - Danairat
 
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศChapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter14 การวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1
Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1
Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1
 
2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga
 
An Overview Of I Troject Panagement
An  Overview Of  I  Troject  PanagementAn  Overview Of  I  Troject  Panagement
An Overview Of I Troject Panagement
 
7
77
7
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT (18)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation Management
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 

บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์

  • 1. บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์ การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือ การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ ทางการศึกษาเท่านั้น 0
  • 2. กรณีศึกษาบริษัทระดับโลกเกี่ยวกับการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ การเลือกสินค้าและบริการ การริเริ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ เทคนิคสาหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์ การนิยามผลิตภัณฑ์ เอกสารสาหรับการผลิต การออกแบบการบริหาร 1
  • 3. กรณีศึกษาระดับโลก (Global Company Profile)(Profile) กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการ แข่งขันให้กับบริษัท Regal Marine บริษัท Regal Marine เป็นผู้ผลิตเรือยอชท์ ที่มียอด จาหน่ายสูงเป็นอันดับสามของโลก Paul Kuckกล่าวว่า “เราต้องทราบว่าลูกค้าอยากได้อะไร แล้วต้องตอบสนอง ความต้องการเหล่านั้นให้ได้” 2
  • 4. 2. วงจรชีวิต ผลิตภัณฑ์ (Product life cycles) 3. วงจรชีวิตและกลยุทธ์ 1. ทางเลือก กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เกิดความ ได้เปรียบทางการ แข่งขัน การเลือกสินค้าและบริการ 3
  • 5. 1. ทางเลือกกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์เพื่อให้เกิดความ ได้เปรียบทางการแข่งขัน การเลือกผลิตภัณฑ์ คือ การเลือกชนิดผลิตภัณฑ์ หรือบริการที่บริษัทมีความถนัดหรือมีความชานาญเป็น พิเศษเพื่อส่งมอบให้กับลูกค้า ในขณะที่บางองค์การพยายามสร้างความแตกต่าง ในผลิตภัณฑ์ให้ต่างจากคู่แข่งขันรายอื่น บางองค์การก็ใช้ กลยุทธ์ทางด้านราคาผ่านการออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือ กลยุทธ์การตอบสนองอย่างรวดเร็ว 4
  • 7. 3. วงจรชีวิตและกลยุทธ์ ผู้จัดการฝ่า ยปฏิบัติการต้องเตรียมพัฒนาและสร้าง กลยุทธ์สาหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ จะต้องพิจารณากลยุทธ์ สาหรับผลิตภัณฑ์เดิมของบริษัทควบคู่ไปกับกลยุทธ์ ของผลิตภัณฑ์ใหม่นั้นด้วย เพื่อให้สามารถเลือกกลยุทธ์ ที่เหมาะสมกับแต่ละผลิตภัณฑ์อย่างเป็นภาพรวมและ สอดประสานกันได้อย่างดี ซึ่งกลยุทธ์นั้นจะมีความ แตกต่างกันในแต่ละช่วงชีวิตผลิตภัณฑ์ 6
  • 8. การริเริ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ (Generating new products) อาจมาจากเหตุผลของการนาสินค้าตัวใหม่เพื่อเข้าสู่ ตลาดหรืออาจจะเป็นการทดแทนสินค้าตัวเดิมที่ใกล้หมด ช่วงอายุผลิตภัณฑ์ดังนั้นกระบวนการริเริ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ จึงต้องเป็นไปอย่างมีระบบและรอบคอบที่สุด กระบวนการ ต่างๆ ได้แก่ การเลือกผลิตภัณฑ์ การนิยามผลิตภัณฑ์ และ การกาหนดรูปแบบทดแทนสินค้าตัวเดิมให้มีความต่อเนื่อง 7
  • 9. การกาหนดแนวทางสาหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ การกาหนดแนวทางสาหรับผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อจะ หารูปแบบของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งปริมาณที่จะผลิตและ จานวนชนิดผลิตภัณฑ์ สิ่งเหล่านี้จาเป็นที่จะต้องได้รับ การพิจารณาอย่างรอบคอบและด้วยความสมบูรณ์จาก มุมมองที่หลากหลาย เทคนิคที่สาคัญสาหรับการริเริ่ม ผลิตภัณฑ์ใหม่ ได้แก่ การระดมความคิดเห็น (Brainstorming) 8
  • 10. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product development) จะต้องพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ได้แก่ งบประมาณที่ จาเป็นสาหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ความคุ้มค่าของ การลงทุน ความเปลี่ยนแปลงของตลาดที่มีในปัจ จุบัน และในอนาคต วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ และความสามรถ ขององค์การในการดาเนินตามกลยุทธ์ 9
  • 11. 10 ขอบข่ายงาน สาหรับ ทีมพัฒนา ผลิตภัณฑ์ ขอบข่ายงาน สาหรับทีม ออกแบบและ วิศวกรรม สร้างแนวคิดให้ผลิตภัณฑ์ พิจารณาว่าบริษัทสามารถผลิตตามแนวคิดนั้นหรือไม่ พิจารณาความต้องการของลูกค้าเพื่อนามา สร้างข้อเปรียบเทียบทางการแข่งขัน กาหนดลักษณะการทางาน (Function) ให้กับผลิตภัณฑ์ กาหนดข้อกาหนดเฉพาะทางการ ผลิตของผลิตภัณฑ์ การตรวจสอบแบบเพื่อพิจารณาว่า คุณลักษณะต่างๆ ของผลิตภัณฑ์สอดคล้อง กับความต้องการของลูกค้าหรือไม่ ทดสอบตลาดเพื่อพิจารณาการ ตอบสนองของลูกค้า แนะนาผลิตภัณฑ์สู่ตลาด ประเมินความสาเร็จของผลิตภัณฑ์
  • 12. การเปลี่ยนแปลงหน้าที่ด้านคุณภาพให้เป็นแนวทาง ปฏิบัติ (Quality function deployment) การเปลี่ยนแปลงหน้าที่ด้านคุณภาพ คือ การทาให้ ทราบว่าอะไรคือสิ่งที่ลูกค้าต้องการจากตัวผลิตภัณฑ์และนา ความต้องการนั้นมาเป็นแนวทางปฏิบัติให้หน่วยงานต่างๆ ทั่วทั้งองค์การ เพื่อผลิตสินค้าให้ตรงความต้องการของ ลูกค้ามากที่สุดและแปลงความหมายความต้องการเหล่านั้น ออกมาในรูปของความต้องการในเชิงเทคนิคและกระจาย ข้อมูลให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและส่วน สนับสนุนต่างๆ เพื่อให้ทราบว่าจะทาการผลิตผลิตภัณฑ์ อย่างไรให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้ามากที่สุด 11
  • 13. 12
  • 14. การจัดองค์การเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ วิธีการพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบเดิมจะมอบหมาย ให้ฝ่ายต่างๆ ในองค์การ -ข้อดี คือ ทาให้สามารถกาหนดความรับผิดชอบและ หน้าที่ได้อย่างชัดเจน -ข้อจากัด คือ การขาดการประสานงานระหว่าง หน่วยงานและขาดการวางแผนล่วงหน้า สาหรับช่วงงาน ที่มีความต่อเนื่องกัน ทาให้บ่อยครั้งไม่สามารถผลิตได้ ด้วยเทคโนโลยีปัจ จุบันของบริษัท อาจมีการลงทุนเพิ่ม และไม่คุ้มค่ากับการลงทุน เป็นเหตุให้ต้องมีการแก้ไข แบบผลิตภัณฑ์ ทาให้สูญเสียทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายเป็น อย่างมาก 13
  • 15. ทีมวิศวกรรมร่วมขนาน (Concurrent engineering team) โดยทีมดังกล่าวจะประกอบไปด้วยบุคลากรจาก หลายหน่วยงาน ได้แก่ ฝ่ายตลาด ฝ่า ยผลิต ฝ่า ยจัดซื้อ ฝ่ายประกันคุณภาพ ฝ่ายบริการลูกค้า หรืออาจรวมไป ถึงผู้จัดหาวัตถุดิบด้วยก็ได้ มาทางานร่วมกันเป็นทีม เปิดให้ทุกคนได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ พยายาม เร่งกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สาเร็จเร็วที่สุด ด้วย การพยายามทางานต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน แทนการ ทางานเป็นลาดับขั้น ซึ่งการทาทุกอย่างไปพร้อมกันนี้ จะช่วยลดการสูญเสียทางด้านเวลา และต้นทุนจากการ ปรับแก้ผลิตภัณฑ์ได้เป็นอย่างมาก 14
  • 16. ความสามารถในการผลิตและวิศวกรรมคุณค่า (Manufacturability and value engineering) ทีมพัฒนาผลิตภัณฑ์จาเป็นต้องพิจารณา ความสามารถในการผลิต โดยพิจารณาว่าฝ่า ยผลิตสามารถ ผลิตสินค้าที่ถูกออกแบบมาด้วยเทคโนโลยีการผลิตปัจ จุบัน ของบริษัทได้หรือไม่ การลงทุนนั้นจะคุ้มค่าหรือไม่ ต้อง พยายามลดจานวนชิ้นส่วนประกอบสาหรับผลิตภัณฑ์ เพื่อ ลดระยะเวลาการผลิตและประกอบได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ซึ่งจะ ส่งผลต่อการลดต้นทุนการผลิต 15
  • 17. เทคนิคสาหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์ 1. การออกแบบให้ผลิตภัณฑ์มีความทนนาน (Robust design) 2. การออกแบบให้เป็นชิ้นส่วนประกอบมาตรฐาน (Modular design) 3. การประยุกต์คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบผลิตภัณฑ์ [Computer-Aided Design (CAD)] 4. การประยุกต์คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต [Computer-Aided Manufacturing (CAM)] 5. เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual reality technology) 6. วิศวกรรมคุณค่า (Value engineering) และการวิเคราะห์คุณค่า (Value analysis) 7. จริยธรรมและการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Ethics and Environmentally friendly designs) 16
  • 18. 1. การออกแบบให้ผลิตภัณฑ์มีความทนทาน (Robust design) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้แบบผลิตภัณฑ์นั้นสามารถทน ต่อการเปลี่ยนแปลง หรือความแปรปรวนที่อาจเกิดขึ้นใน ขั้นตอนของการผลิตหรือการประกอบ โดยที่ความแปรปรวน ดังกล่าวจะไม่ส่งผลต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ตามที่ได้ กาหนดไว้ 17
  • 19. 2. การออกแบบให้เป็นชิ้นส่วนประกอบมาตรฐาน (Modular design) เป็นการออกแบบให้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่บริษัทมีนั้น สามารถให้ชิ้นส่วนประกอบที่สามารถเปลี่ยนหรือทดแทน กันได้ เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการสาหรับฝ่า ยผลิต เช่น บริษัท Toyota บริษัทผลิตเครื่องบิน Airbus หรือแม้กระทั่งร้าน McDonald และ Burger King 18
  • 20. 3. การประยุกต์คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ [Computer-Aided Design (CAD)] คือ การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการเขียนแบบ ผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการเตรียมและพิมพ์เอกสารทาง วิศวกรรมเพื่อการผลิต ช่วยให้ผู้ออกแบบสามารถเขียน แบบทั้งในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติได้อย่างสะดวกและ รวดเร็ว CAD ได้แก่ การออกแบบเพื่อการผลิตและการ ประกอบ [Design for Manufacture and Assembly (DFMA)] และการสร้างต้นแบบ 3 มิติ(3-D object modeling) 19
  • 21. 4. การประยุกต์คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต [Computer-Aided Manufacturing (CAM)] การใช้ชุดคาสั่งจากซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์เพื่อสั่ง และควบคุมเครื่องจักร ให้ผลิตชิ้นงานตามคาสั่งจาก คอมพิวเตอร์โดยอัตโนมัติแทนการใช้พนักงาน จะมีการนา ข้อมูลแบบผลิตภัณฑ์ที่ต้องการจากการออกแบบด้วย ซอฟท์แวร์ CAD มาแปลงให้เป็นชุดคาสั่ง ในรูปแบบที่ เครื่องจักรสามารถเข้าใจที่เรียกว่า G-Code เพื่อให้สามารถ สั่งและควบคุมเครื่องจักรให้ทางานได้อย่างอัตโนมัติ 20
  • 22. 5. เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual reality technology) ภาพเสมือนจริง (Virtual reality) เป็นรูปแบบของ การใช้ภาพสื่อสารแทนสิ่งที่เป็นจริง และให้ผู้ใช้สามารถ ตอบโต้หรือตอบสนองกับภาพเหล่านั้นได้ ปกติแล้วข้อมูลที่ นามาสร้างภาพเสมือนจริงนี้จะได้มาจาก CAD ซึ่ง เทคโนโลยีนี้สามารถลดต้นทุนจากการแก้แบบและความ ผิดพลาดจากการผลิตได้เป็นอย่างมาก และยังสามาถลด ระยะเวลา ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้อีกด้วย 21
  • 23. 6. วิศวกรรมคุณค่า (Value engineering) และการ วิเคราะห์คุณค่า (Value analysis) เป็นเทคนิคที่เน้นในการปรับปรุงแบบผลิตภัณฑ์ ก่อนการผลิต เพื่อวิเคราะห์ถึงหน้าที่การทางานของ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ โดยแยกแยะหน้าที่การทางานของ ผลิตภัณฑ์ออกมาเป็นชิ้นส่วนย่อย แล้วคิดต้นทุนของหน้าที่ การทางานแต่ละชิ้นส่วน จากนั้นทาการเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่การทางานกับต้นทุนในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อประเมินคุณค่าของผลิตภัณฑ์แต่ละชิ้นส่วน พร้อมทั้งหาแนวทางลดหน้าที่การทางานที่ซับซ้อนของ ชิ้นส่วนแต่ละชิ้นส่วน และพิจารณาลดความสูญเปล่าที่ไม่ ก่อให้เกิดคุณค่า 22
  • 24. การวิเคราะห์คุณค่า (Value analysis) จะเน้น ในช่วงของการผลิตเป็นสาคัญ โดยนาหลักการเดียวกัน มาใช้เพื่อการปรับปรุงกระบวนการผลิต โดยพิจารณา แบ่งกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์นั้นออกเป็น กระบวนการย่อยๆ เพื่อหาว่ากระบวนการผลิตใดมี ความสาคัญซึ่งสามารถสร้างมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ ได้มาก และกระบวนการผลิตย่อยใดไม่มีความจาเป็น หรือ เป็นกระบวนการที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่าต่อ ผลิตภัณฑ์ เพื่อลดงานที่ไม่มีประสิทธิภาพเหล่านั้น 23
  • 25. 7. จริยธรรมและการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อความเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม (Ethics and Environmentally friendly designs) เช่น บริษัทผลิตเครื่องสาอางของประเทศอังกฤษ ชื่อ Body Shop ประสบความสาเร็จด้วยการเน้นการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยใช้ส่วนผสมที่ไม่ทาลาย สิ่งแวดล้อมและไม่ใช้การทดสอบผลิตภัณฑ์กับสัตว์ โดยเชื่อ ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการตอบสนองต่อสังคมด้วยความ รับผิดชอบ นโยบายดังกล่าวสามารถสร้างจุดขายในความ แตกต่างให้กับบริษัทและทากาไรเป็นอย่างมากจากการ ตระหนักถึงคุณภาพสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค 24
  • 26. การนิยามผลิตภัณฑ์ คือ การสร้างความหมายหรือคาจากัดความให้กับ ผลิตภัณฑ์ เพื่อตอบให้ได้ว่าผลิตภัณฑ์นั้นคืออะไร ทางาน ได้อย่างไร และมีประโยชน์อะไร การกาหนดรายละเอียดของผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งที่ จาเป็นอย่างมาก เพื่อให้กระบวนการผลิตสามารถผลิตได้ ตรงตามแบบที่ได้ถูกออกแบบมาอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นรายละเอียดของผลิตภัณฑ์จะต้องถูกแสดงออกมาใน รูปแบบของเอกสาร เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติการให้กับ หน่วยงานต่างๆ 25
  • 27. ชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์ในงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะ ถูกนิยามโดยแบบเขียนผลิตภัณฑ์ (Drawing) ซึ่งมักจะ เรียกแบบเขียนนี้ว่า แบบวิศวกรรม (Engineering drawing) 26
  • 28. การตัดสินใจทาเองหรือซื้อ (Make-or-buy decisions) บริษัทส่วนใหญ่ต้องเผชิญกับปัญ หาที่ต้องเลือก ระหว่างการเป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนประกอบเอง หรือซื้อชิ้นส่วน มาจากแหล่งผลิตภายนอกโดยใช้ปัจ จัยในการพิจารณาว่า จะผลิตเองหรือซื้อ ได้แก่ ราคา คุณภาพ ความรวดเร็วใน การส่งมอบ และการมีเทคโนโลยีที่เป็นความลับของบริษัท 27
  • 29. เทคโนโลยีแบบกลุ่ม (Group technology) เป็นเทคนิคในการจัดแบ่งชิ้นส่วนต่างๆ ไว้เป็น หมวดหมู่ ซึ่งชิ้นส่วนในแต่ละกลุ่มนั้นจะผ่านกระบวนการ เดียวกัน เช่น กลุ่มที่ต้องผ่านกระบวนการเจาะ กลุ่มที่ต้อง ผ่านกระบวนการเซาะร่อง การจัดกลุ่มนี้มีประโยชน์เพื่อ ช่วยในการระบุชิ้นส่วนได้ง่ายและเป็นมาตรฐานยิ่งขึ้น 28
  • 30. 29
  • 31. เอกสาร สาหรับการ ผลิต 1. แบบแสดง ชิ้นส่วนประกอบ (Assembly drawing) 2. แบบภูมิการ ประกอบชิ้นส่วน (Assembly chart) 3ใบแสดงเส้นทาง 3. ใบเดินของผลิตภัณฑ์ (Route sheet) 4. ใบสั่งงาน (Work order) 5. ใบประกาศ เปลี่ยนแปลงแบบ change notices : ECNs) วิศวกรรม (Engineering 30
  • 32. 31
  • 33. การออกแบบการบริการ มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากการออกแบบสินค้า กล่าวคือ ผลลัพธ์ของการบริการไม่ใช่เป็นสิ่งที่จับต้องได้ หากแต่เป็นความพึงพอใจของลูกค้า เหตุผลที่ทาให้การ ปรับปรุงประสิทธิภาพของการให้บริการทาได้ยาก เนื่องจากว่า การออกแบบการบริการจาเป็นที่จะต้องนา ความต้องการของลูกค้ามากาหนดรูปแบบการบริการ 32
  • 34. 33
  • 35. 34 เทคนิคการ ออกแบบรูปแบบ การให้บริการ 1. การออกแบบ ให้บริการโดย มุ่งเน้นเฉพาะราย (Customization) 2. การออกแบบ การให้บริการโดย แบ่งเป็นงาน มาตรฐานย่อย (Modularization) 3. การออกแบบให้ เป็นการให้บริการ แบบอัตโนมัติ (Automation) 4. การออกแบบ การให้บริการโดย เน้นช่วงเวลา สาคัญ (Moment- of-truth)