SlideShare a Scribd company logo
คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร
                    เรื่อง
           การนับและความนาจะเปน
               (เนือหาตอนที่ 4)
                   ้
              ทฤษฎีบททวินาม
                     โดย
      ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี

      สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง
   คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
               กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                         สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน

         สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบดวย

 1. บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การนับเบื้องตน
                       - กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ
                                               ่
                       - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด)
 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การเรียงสับเปลี่ยน
                       - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของไมแตกตางกันทั้งหมด)
                       - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
 4. เนื้อหาตอนที่ 3 การจัดหมู
                       - วิธีจัดหมู
 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ทฤษฎีบททวินาม
                       - ทฤษฎีบททวินาม
                       - ทฤษฎีบทอเนกนาม
 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การทดลองสุม
                       - การทดลองสุม
                       - ปริภูมิตัวอยาง
                       - เหตุการณและความนาจะเปน
 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ความนาจะเปน 1
                       - สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน
                       - การหาความนาจะเปนแบบงาย
 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ความนาจะเปน 2
                       - การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ
                       - การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร
 9. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1)
10. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2)
11. แบบฝกหัด (ขันสูง)
                   ้

                                                   1
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


12. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง หลักการบวกและหลักการคูณสําหรับการนับ
13. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน
14. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม
15. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความนาจะเปน
16. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การใสบอลลงกลอง

        คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ
ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและ
ความนาจะเปน นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได
ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด
ในตอนทายของคูมือฉบับนี้




                                                  2
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


เรื่อง            การนับและความนาจะเปน (ทฤษฎีบททวินาม)
หมวด              เนื้อหา
ตอนที่            4 (4/7)

หัวขอยอย       1. ทฤษฎีบททวินาม
                 2. ทฤษฎีบทอเนกนาม



จุดประสงคการเรียนรู
    เพื่อใหผูเรียน
    1. เขาใจมโนทัศนเรื่องทฤษฎีบททวินามและทฤษฎีบทอเนกนาม
    2. เขาใจความสัมพันธของทฤษฎีบททวินามและการจัดหมู
    3. สามารถขยายแนวคิดของทฤษฎีบททวินามไปสูทฤษฎีบทอเนกนาม และสามารถนําไปใชใน
         การแกปญหาได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
             
   ผูเรียนสามารถ
   1. อธิบายทฤษฎีบททวินามและทฤษฎีบทอเนกนามได
   2. อธิบายความสัมพันธระหวางทฤษฎีบททวินามกับการจัดหมูได
   3. ประยุกตใชทฤษฎีบททวินามในการกระจาย (x + y)n ได
   4. ประยุกตใชทฤษฎีบททวินามเพื่อหาสัมประสิทธิ์ของพจนที่สนใจจากการกระจาย (x + y)n ได
   5. ประยุกตใชทฤษฎีบทอเนกนามในการกระจาย (x1 + x 2 + + x m )n ได




                                                   3
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             เนื้อหาในสื่อการสอน




                             เนื้อหาทั้งหมด




                                      4
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                         1. ทฤษฎีบททวินาม




                                      5
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                            1. ทฤษฎีบททวินาม
             ในหัวขอนี้ ผูเรียนจะไดศกษาถึงความสัมพันธของทฤษฎีบททวินามและการจัดหมู ขอสังเกตที่
                                       ึ
นาสนใจของทฤษฎีบททวินาม พรอมทั้งตัวอยางการประยุกตใชทฤษฎีบทดังกลาว




                                                        6
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


        เมื่อผูเรียนไดแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีบททวินาม พรอมทั้งเห็นตัวอยางการประยุกตใชทฤษฎีบทแลว
ผูสอนอาจยกตัวอยางเพิ่มเติมเพื่อใหผูเรียนไดฝกทักษะในเรื่องนี้ไดดยิ่งขึ้น ดังนี้
                                                                      ี

ตัวอยาง จงใชทฤษฎีบททวินามในการกระจาย
          1. (2x − 3y)5
          2. (x 2 + 2y)3
วิธีทํา
          1.   จากทฤษฎีบททวินามทีวา
                                 ่

                              n       n                 n                   n  n −1  n  n
                  (a + b) n =   a n +   a n −1b +     +   a n −r br +     +       ab +   b     (*)
                              0       1                 r                   n − 1      n


               เราจะไดวา
                        
               (2x − 3y)5 = (2x + (−3y))5
                            5          5                5                 5
                          =   (2x)5 +   (2x) 4 (−3y) +   (2x)3 (−3y) 2 +   (2x) 2 (−3y)3
                            0         1                 2                 3
                               5                5
                             +   (2x)(−3y) 4 +   (−3y)5
                                4               5
                             = (2x)5 + 5(2x) 4 (−3y) + 10(2x)3 (−3y) 2 + 10(2x) 2 (−3y)3 + 5(2x)(−3y) 4 + (−3y)5
                             = 32x 5 − 240x 4 y + 720x 3 y 2 − 1080x 2 y3 + 810xy 4 − 243y5


          2.   จากทฤษฎีบททวินาม (*) จะไดวา
                              3           3                 3                3
               (x 2 + 2y)3 =   (x 2 )3 +   (x 2 ) 2 (2y) +   (x 2 )(2y) 2 +   (2y)3
                             0           1                  2                3
                            = x 6 + 3x 4 (2y) + 3x 2 (4y 2 ) + 8y3
                            = x 6 + 6x 4 y + 12x 2 y 2 + 8y3


        จากตัวอยางขางตน ผูสอนอาจใหขอสังเกตผูเรียนเพิ่มเติมวา ในตัวอยางขอที่ 2 ซึ่งใหกระจาย
(x 2 + 2y)3 นั้น จะพบวา แตละพจนที่ไดจากการกระจายนัน ผลรวมของเลขชี้กาลังของ x 2 กับ y เทากับ 3 แต
                                                       ้                  ํ
ผลรวมของเลขชี้กาลังของ x กับ y ไมจําเปนตองเทากับ 3
                  ํ




                                                               7
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




          เมื่อผูเรียนไดเห็นตัวอยางการประยุกตใชทฤษฎีบททวินามแลว ผูสอนอาจใหผเู รียนทําตัวอยางตอไปนี้
เพื่อเพิ่มความเขาใจใหมากยิงขึ้น
                                ่

ตัวอยาง
           1.    จงหาสัมประสิทธิ์ของ              x 3 y7   ในการกระจาย      (x + 2y)10
                                                                                           12
                                                                                   2 1
           2.     จงหาพจนทไมมี
                           ี่           x    ปรากฏอยูเลยในการกระจาย              x − 
                                                                                     x
วิธีทา
     ํ     1.    จากทฤษฎีบททวินามที่วา

                                    n       n                       n                 n  n −1  n  n
                        (a + b) n =   a n +   a n −1b +           +   a n −r br +   +       ab +   b                    (*)
                                    0       1                       r                 n − 1      n


                 จะไดวา การกระจาย (x + 2y)10 พจนที่มี y7 คือ พจนที่ r = 7 นั่นเอง
                       
                                                   10  3
                 ดังนั้น พจนที่มี    y7    คือ      x (2y) = 15360x y
                                                             7        3 7

                                                    7
                 เพราะฉะนัน สัมประสิทธิ์ของ
                          ้                                x 3 y7   คือ 15,360
                                                                                                               12
                                                                                                  2 1
           2.    จากทฤษฎีบททวินาม (*) จะเห็นวา แตละพจนที่ไดจากการกระจาย                      x −              จะอยูในรูป
                                                                                                    x
                                            r
                         12  2 12− r  1   12  24− 2r
                            (x )  −  =   (x            )(−1) r (x − r )
                         r            x  r 
                                                12 
                                              =   x 24−3r (−1) r
                                                r
                เมื่อ   24 − 3r = 0    นั่นคือ r = 8 จะทําใหเลขชี้กําลังของ x เทากับ 0
                                                                    12 
                ดังนั้น พจนที่ไมมี x ปรากฏอยูเลย คือ               (−1) = 495
                                                                            8

                                                                    8
                                                                        8
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                      9
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


       เมื่อผูเรียนไดชมขอสังเกตที่ 1 แลว ผูสอนอาจเขียนขอสังเกตดังกลาวใหอยูในรูปสัญลักษณทาง
คณิตศาสตร ซึ่งไดผลดังนี้
                  n   n − 1  n − 1
ขอสังเกตที่ 1    =        +        
                  r   r −1   r 
                  n − 1  n − 1        (n − 1)!       (n − 1)!
พิสจน
   ู                    +     =                 +
                  r − 1   r  (n − r)!(r − 1)! (n − r − 1)!r!
                                      (n − 1)!r (n − 1)!(n − r)
                                   =             +
                                      (n − r)!r!   (n − r)!r!
                                         n!
                                  =
                                     (n − r)!r!
                                    n
                                  = 
                                    r




       เมื่อผูเรียนไดชมขอสังเกตที่ 2 แลว ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกันเขียนขอสังเกตใหอยูในรูปสัญลักษณทาง
                                                                                            
คณิตศาสตร ซึ่งไดผลดังนี้
                 n  n 
ขอสังเกตที่ 2    =       
                  r  n −r
                 n       n!              n!             n 
พิสูจน           =            =                      =       
                  r  r!(n − r)! (n − (n − r))!(n − r)!  n − r 




                                                         10
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       เมื่อผูเรียนไดชมขอสังเกตที่ 3 แลว ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกันเขียนขอสังเกตใหอยูในรูปสัญลักษณทาง
                                                                                            
คณิตศาสตร ซึ่งไดผลดังนี้

                 1  2          n   n + 1
ขอสังเกตที่ 3    + +       +  =         
                 1  1         1  2 
                  1  2        n
พิสจน
   ู              + +       +   = 1+ 2 + + n
                  1  1        1
                                          n(n + 1)
                                       =
                                             2
                                          n + 1
                                       =       
                                          2 




          เมื่อผูเรียนไดชมตัวอยางการนําสามเหลี่ยมปาสกาลมาประยุกตใช แลว ผูสอนอาจนําตัวอยางที่เพิ่มเติม
ใหผูเรียนฝกทักษะกอนหนานี้มาใหผูเรียนไดฝกทําอีกครังหนึ่งโดยใชสามเหลี่ยมปาสกาลเขาชวย ดังนี้
                                                          ้

                                                           11
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง จงใชทฤษฎีบททวินามในการกระจาย
           1. (2x − 3y)5
           2. (x 2 + 2y)3
วิธีทํา
n=0                                                                1
n =1                                                     1                  1
n=2                                             1                  2                  1
n =3                                 1                   3                  3                  1
n=4                         1                  4                   6                  4                  1
n =5               1                 5                   10                 10                 5             1

      1.    (2x − 3y)5 = (2x)5 + 5(2x) 4 (−3y) + 10(2x)3 (−3y) 2 + 10(2x)2 (−3y)3 + 5(2x)(−3y)4 + (−3y)5
                        = 32x 5 − 240x 4 y + 720x 3 y 2 − 1080x 2 y3 + 810xy 4 − 243y5


      2.    (x 2 + 2y)3 = (x 2 )3 + 3(x 2 )2 (2y) + 3(x 2 )(2y)2 + (2y)3
                        = x 6 + 6x 4 y + 12x 2 y 2 + 8y3




                                                              12
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                        สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                                       แบบฝกหัดเพิ่มเติม
                                                   เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม

1.   จงใชทฤษฎีบททวินามในการกระจาย
          1.1   (2x + y) 4
          1.2   (x + y 2 )5
          1.3   (x − y)3
          1.4 (x − 3y)4
          1.5 (x 2 + 2y2 )6
                  2 y
         1.6     ( + )5
                  x 3
2.   จงหาสัมประสิทธิ์ของ x 3 y5 ในการกระจาย (x + 2y)8
3.   จงหาสัมประสิทธิ์ของ x 3 y4 ในการกระจาย (3x + 2y)7
4.   จงหาสัมประสิทธิ์ของ x 6 ในการกระจาย (2x − 1)8
5.   จงหาสัมประสิทธิ์ของ x10 y7 ในการกระจาย (x 2 − 2y)12
                                                                          9
                                                               2 2
6.   จงหาพจนที่ไมมี    x   ปรากฏอยูเลยในการกระจาย          x − 
                                                                 x




                                                             13
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                     2. ทฤษฎีบทอเนกนาม




                                     14
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                                   2. ทฤษฎีบทอเนกนาม




ตัวอยาง จงใชทฤษฎีบทอเนกนามในการกระจาย (x + y + z)3
                          3  3  3  3  3  3
วิธีทํา   (x + y + z)3 =          x +          y +           z
                          3, 0, 0       0,3, 0       0, 0,3 
                             3  2  3  2  3  2  3  2  3 
                         +          x y+          x z+             xy +           xz +        xyz
                             2,1, 0         2, 0,1        1, 2, 0        1, 0, 2        1,1,1
                             3  2  3  2
                         +           yz +         y z
                             0,1, 2        0, 2,1
                        = x 3 + y3 + z 3 + 3x 2 y + 3x 2 z + 3xy 2 + 3xz 2 + 6xyz + 3yz 2 + 3y 2 z




                                                            15
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


         ผูสอนอาจเนนย้ําผูเรียนเพิ่มเติมวา ในการประยุกตใชทฤษฎีบทอเนกนาม

                                                                             n          n1 n 2
                 (x1 + x 2 +    + x m )n =           ∑
                                             n1 + n 2 +
                                                                                        x1 x 2
                                                         + n m = n  n1 , n 2 , … , n m 
                                                                                                   x nm
                                                                                                     m

                                             n1 , n 2 ,…,n m ≥ 0




สิ่งสําคัญ คือ
                                             n1 , n 2 , … , n m ≥ 0
                                        n1 + n 2 +         + nm = n
และผูเรียนตองหาผลบวกใหครบทุกแบบ




                                                               16
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                           แบบฝกหัดเพิ่มเติม
                                      เรื่อง ทฤษฎีบทอเนกนาม

1. จงใชทฤษฎีบทอเนกนามในการกระจาย
   1.1 (x + y − z)3
   1.2 (x + 2y − z)3
   1.3 (x 2 + y2 + z 2 )3
2. จงหา (n1 , n 2 , n 3 ) ทั้งหมดที่ทําให n1 + n 2 + n 3 = 4 โดยที่ n1 , n 2 , n 3 เปนจํานวนเต็มที่มากกวาหรือ
   เทากับศูนย
3. จงใชทฤษฎีบทอเนกนามในการกระจาย (x + y + z)4
4. จงหาสัมประสิทธิ์ของ xy2 z3 ในการกระจาย (x + y + z)6
5. จงหาสัมประสิทธิ์ของ x 3 y4 z ในการกระจาย (x + y − 2z)8




                                                      17
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




             สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     18
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                        สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     19
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                               เอกสารอางอิง

1.   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร
     เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
     พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.

2.   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
     เลม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
     พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.




                                                       20
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                    ภาคผนวกที่ 1
               แบบฝกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม




                                     21
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                                               แบบฝกหัดระคน

1. ในการกระจาย (xy − 2y−2 )8 พจนทมีผลบวกของกําลังของ
                                      ี่                                         x   กับกําลังของ     y    เทากับ – 4 มี
    สัมประสิทธิ์เทากับขอใดตอไปนี้
   1. – 488                     2. –1792                                             3. 1120                          4. 56

                                                                  2n
                                                         2 1
2. สัมประสิทธิ์ของ x ในการกระจาย
                               r
                                                        x +          คือขอใดตอไปนี้
                                                           x
                 (2n)!                                                                    (2n)!
    1.                                                                               2.   4n − r
          2n + r   4n − r 
                  !       !                                                             3
          3  3 
            (2n)!                                                                         (2n)!
    3.                                                                               4.
         r!(2n − r)!                                                                      (2r)!


3. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
                                                 8
                                    3 1 
    1. ในการกระจาย                 x +             สัมประสิทธิ์ของ x12 คือ 56
                                       2x 
                                                 8
                                    3 1 
    2. ในการกระจาย                 x +              ไมมีพจนใดเลยที่เปนคาคงตัว
                                       2x 
                                                                                                    n
    3. ในการกระจาย                 (x + y) n − (x − y) n     สัมประสิทธิ์ของ     x 2 yn −2   คือ   2 
                                                                                                     2
         เมื่อ    n       คือจํานวนคูบวก
                                     
                                                                                                           n
    4. จากการกระจาย                (x + y) n − (x − y) n      จนเปนผลสําเร็จแลว จะเหลือพจนอยู              พจน
                                                                                                           2
         เมื่อ    n       เปนจํานวนคูบวก
                                      

                                                                        15
                                                              3 1 
4. พจนที่ไมมี       x    ปรากฏอยูในการกระจาย              x + 2         คือพจนใดตอไปนี้
                                                                x 
          11                                       15                                 15                              15 
   1.     
         10                               2.                                     3.    
                                                                                          9                         4.     
                                                                                                                            10 
                                                   8                                                                   




                                                                       22
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


5. สัมประสิทธิ์ของ x ในการกระจายแลวบวกกันเปนผลสําเร็จของ
                                      1 + (1 + x) + (1 + x)2 +       + (1 + x)10
   คือขอใด
   1. 40                         2. 45                                   3. 55                          4. 65

6. สัมประสิทธิ์ของ x 54 ในอนุกรม
                                   1 + (1 + x 2 ) + (1 + x 2 ) 2 +   + (1 + x 2 )50
   คือขอใด
          50                          50                                   51                           51 
   1.     
          27                   2.     
                                        28                             3.    
                                                                               27                     4.    
                                                                                                              28 
                                                                                                        


7. ผลบวกของสัมประสิทธิ์ของทุกพจนจากการกระจาย (a + b)n เปน 256 แลว                      n 2 + n + 1 เทากับขอใด
   1. 8                     2. 64                       3. 72                                           4. 73

8. พิจารณาขอความตอไปนี้
        ก.      จํานวนพจนจากการกระจาย (2x − 3y)5 มี 6 พจน
        ข.      พจนกลางจากการกระจาย (x + 2y)8 คือ 1120x 4 y4
        ค.      ผลบวกของสัมประสิทธิ์ทุกพจนจากการกระจาย (5x − 3y)5 คือ 32
   ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
   1. จริงทุกขอ              2. เท็จทุกขอ                3. จริงขอเดียว                              4. เท็จขอเดียว

                                                                                          10
                                                                               4  1                            a
9. ถา a และ b เปนสัมประสิทธิ์ของ x และ x ของการกระจาย
                                               −2      4
                                                                              x − 2          ตามลําดับ แลว
                                                                                 2x                            b
    เทากับขอใดตอไปนี้
             2                             1                                      1                               4
    1.   −                       2.    −                                 3.   −                         4.   −
             7                             2                                      3                              15


10. ขอใดตอไปนี้ผิด
    1. สัมประสิทธิ์ของทุกพจนจากการกระจาย (a + b)5 รวมกันแลวเทากับ 32
    2. ถา Pn,5 = 20Pn,3 แลว n = 12
         10  10  11
    3.    +  = 
         5  4 5
          5
    4. ∑ (5k − 3)2 = 970
         k =1

                                                           23
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                         ภาคผนวกที่ 2
                        เฉลยแบบฝกหัด




                                     24
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                                    เฉลยแบบฝกหัด
                                               เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม
1. 1.1      16x 4 + 32x 3 y + 24x 2 y 2 + 8xy3 + y 4
   1.2      x 5 + 5x 4 y 2 + 10x 3 y 4 + 10x 2 y 6 + 5xy8 + y10
   1.3      x 3 − 3x 2 y + 3xy 2 − y3
   1.4        x 4 − 12x 3 y + 54x 2 y 2 − 108xy3 + 81y 4

      1.5     x12 + 12x10 y 2 + 60x 8 y 4 + 160x 6 y6 + 240x 4 y8 + 192x 2 y10 + 64y12

              32 80  y  80  y 2  40  y3  10  y 4  y5
      1.6        +  +  +  +  +
              x 5 3  x 4  9  x 3  27  x 2  81  x  243

2.   1, 792                                          3.   15,120

4.   1, 792                                          5.   −10,1376

6.   5,376




                                                    เฉลยแบบฝกหัด
                                              เรื่อง ทฤษฎีบทอเนกนาม

1. 1.1      x 3 + y3 − z 3 + 3x 2 y − 3x 2 z + 3xy 2 + 3xz 2 − 6xyz + 3yz 2 − 3y 2 z

     1.2    x 3 + 8y3 − z 3 + 6x 2 y − 3x 2 z + 12xy 2 + 3xz 2 − 12xyz + 6yz 2 − 12y 2 z

     1.3    x 6 + y 6 + z 6 + 3x 4 y 2 + 3x 4 z 2 + 3x 2 y 4 + 3x 2 z 4 + 6x 2 y 2 z 2 + 3y 2 z 4 + 3y 4 z 2

2.   (4, 0, 0), (0, 4, 0), (0, 0, 4), (3,1, 0), (3, 0,1), (2, 2, 0), (2, 0, 2), (2,1,1),

      (1,3, 0), (1, 0,3), (1, 2,1), (1,1, 2), (0,3,1), (0,1,3), (0, 2, 2)
3.   x 4 + y 4 + z 4 + 4x 3 y + 4x 3 z + 6x 2 y 2 + 6x 2 z 2 + 12x 2 yz + 4xy3 + 4xz 3 +12xy 2 z + 12xyz 2
     +4y3 z + 4yz 3 + 6y 2 z 2
4. 60
5. − 560




                                                          25
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                   เฉลยแบบฝกหัดระคน

1. 2            2. 1                     3. 4                      4. 3                  5. 3
6. 4           7. 4                      8. 4                      9. 1                  10. 2




                                            26
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร
                  จํานวน 92 ตอน




                                     27
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน
                 เรื่อง                                                              ตอน
เซต                                      บทนํา เรื่อง เซต
                                         ความหมายของเซต
                                         เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต
                                         เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร                บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
                                         การใหเหตุผล
                                         ประพจนและการสมมูล
                                         สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
                                         ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง
จํานวนจริง                               บทนํา เรื่อง จํานวนจริง
                                         สมบัติของจํานวนจริง
                                         การแยกตัวประกอบ
                                         ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                         สมการพหุนาม
                                         อสมการ
                                         เทคนิคการแกอสมการ
                                         คาสัมบูรณ
                                         การแกอสมการคาสัมบูรณ
                                         กราฟคาสัมบูรณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ
ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน                     บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
                                         การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
                                         ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
ความสัมพันธและฟงกชัน                  บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน  ั
                                         ความสัมพันธ




                                                                   28
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                  เรื่อง                                                                 ตอน
ความสัมพันธและฟงกชัน                       โดเมนและเรนจ
                                              อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน
                                              ฟงกชันเบื้องตน
                                              พีชคณิตของฟงกชน   ั
                                              อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส
                                              ฟงกชันประกอบ
ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม         บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม
                                                                                     ั       ึ
                                              เลขยกกําลัง
                                              ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                              ลอการิทึม
                                              อสมการเลขชี้กําลัง
                                              อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                    บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                              อัตราสวนตรีโกณมิติ
                                              เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
                                              กฎของไซนและโคไซน
                                              กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน
กําหนดการเชิงเสน                             บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน
                                              การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
                                              การหาคาสุดขีด
ลําดับและอนุกรม                               บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม
                                              ลําดับ
                                              การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                              ลิมิตของลําดับ
                                              ผลบวกยอย
                                              อนุกรม
                                              ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม




                                                                  29
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                 เรื่อง                                                                     ตอน
การนับและความนาจะเปน                         บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
                     .                         การนับเบื้องตน
                                               การเรียงสับเปลี่ยน
                                               การจัดหมู
                                               ทฤษฎีบททวินาม
                                               การทดลองสุม
                                               ความนาจะเปน 1
                                               ความนาจะเปน 2
สถิติและการวิเคราะหขอมูล                     บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
                                               บทนํา เนื้อหา
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
                                               การกระจายของขอมูล
                                               การกระจายสัมบูรณ 1
                                               การกระจายสัมบูรณ 2
                                               การกระจายสัมบูรณ 3
                                               การกระจายสัมพัทธ
                                               คะแนนมาตรฐาน
                                               ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
                                               ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
                                               โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
                                               โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
โครงงานคณิตศาสตร                              การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                               ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                               การถอดรากที่สาม
                                               เสนตรงลอมเสนโคง
                                               กระเบื้องที่ยืดหดได




                                                                       30

More Related Content

What's hot

โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
KruGift Girlz
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
พิทักษ์ ทวี
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
Apirak Potpipit
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
krurutsamee
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
sawed kodnara
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
Kuntoonbut Wissanu
 
แบบฝึกหัด ตัวเลขโรมัน
แบบฝึกหัด ตัวเลขโรมันแบบฝึกหัด ตัวเลขโรมัน
แบบฝึกหัด ตัวเลขโรมันkroojaja
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
KruPa Jggdd
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 

What's hot (20)

โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบฝึกหัด ตัวเลขโรมัน
แบบฝึกหัด ตัวเลขโรมันแบบฝึกหัด ตัวเลขโรมัน
แบบฝึกหัด ตัวเลขโรมัน
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 

Similar to 69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม

Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒMajolica-g
 
Pat1 53
Pat1  53Pat1  53
Pat1 53DearPR
 

Similar to 69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม (20)

21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล184 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
 
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น171 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล285 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
 
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์280 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
 
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
 
Pat1 53
Pat1 53Pat1 53
Pat1 53
 
Pat1 53
Pat1  53Pat1  53
Pat1 53
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม

  • 1. คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและความนาจะเปน (เนือหาตอนที่ 4) ้ ทฤษฎีบททวินาม โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบดวย 1. บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การนับเบื้องตน - กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ ่ - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด) 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การเรียงสับเปลี่ยน - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของไมแตกตางกันทั้งหมด) - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม 4. เนื้อหาตอนที่ 3 การจัดหมู - วิธีจัดหมู 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ทฤษฎีบททวินาม - ทฤษฎีบททวินาม - ทฤษฎีบทอเนกนาม 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การทดลองสุม - การทดลองสุม - ปริภูมิตัวอยาง - เหตุการณและความนาจะเปน 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ความนาจะเปน 1 - สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน - การหาความนาจะเปนแบบงาย 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ความนาจะเปน 2 - การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ - การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร 9. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1) 10. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2) 11. แบบฝกหัด (ขันสูง) ้ 1
  • 3. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 12. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง หลักการบวกและหลักการคูณสําหรับการนับ 13. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน 14. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม 15. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความนาจะเปน 16. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การใสบอลลงกลอง คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและ ความนาจะเปน นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด ในตอนทายของคูมือฉบับนี้ 2
  • 4. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง การนับและความนาจะเปน (ทฤษฎีบททวินาม) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 4 (4/7) หัวขอยอย 1. ทฤษฎีบททวินาม 2. ทฤษฎีบทอเนกนาม จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหผูเรียน 1. เขาใจมโนทัศนเรื่องทฤษฎีบททวินามและทฤษฎีบทอเนกนาม 2. เขาใจความสัมพันธของทฤษฎีบททวินามและการจัดหมู 3. สามารถขยายแนวคิดของทฤษฎีบททวินามไปสูทฤษฎีบทอเนกนาม และสามารถนําไปใชใน การแกปญหาได ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายทฤษฎีบททวินามและทฤษฎีบทอเนกนามได 2. อธิบายความสัมพันธระหวางทฤษฎีบททวินามกับการจัดหมูได 3. ประยุกตใชทฤษฎีบททวินามในการกระจาย (x + y)n ได 4. ประยุกตใชทฤษฎีบททวินามเพื่อหาสัมประสิทธิ์ของพจนที่สนใจจากการกระจาย (x + y)n ได 5. ประยุกตใชทฤษฎีบทอเนกนามในการกระจาย (x1 + x 2 + + x m )n ได 3
  • 5. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 4
  • 7. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. ทฤษฎีบททวินาม ในหัวขอนี้ ผูเรียนจะไดศกษาถึงความสัมพันธของทฤษฎีบททวินามและการจัดหมู ขอสังเกตที่ ึ นาสนใจของทฤษฎีบททวินาม พรอมทั้งตัวอยางการประยุกตใชทฤษฎีบทดังกลาว 6
  • 8. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนไดแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีบททวินาม พรอมทั้งเห็นตัวอยางการประยุกตใชทฤษฎีบทแลว ผูสอนอาจยกตัวอยางเพิ่มเติมเพื่อใหผูเรียนไดฝกทักษะในเรื่องนี้ไดดยิ่งขึ้น ดังนี้ ี ตัวอยาง จงใชทฤษฎีบททวินามในการกระจาย 1. (2x − 3y)5 2. (x 2 + 2y)3 วิธีทํา 1. จากทฤษฎีบททวินามทีวา ่ n n n  n  n −1  n  n (a + b) n =   a n +   a n −1b + +   a n −r br + +  ab +   b (*) 0 1 r  n − 1 n เราจะไดวา  (2x − 3y)5 = (2x + (−3y))5 5  5  5  5 =   (2x)5 +   (2x) 4 (−3y) +   (2x)3 (−3y) 2 +   (2x) 2 (−3y)3 0 1  2  3 5  5 +   (2x)(−3y) 4 +   (−3y)5  4  5 = (2x)5 + 5(2x) 4 (−3y) + 10(2x)3 (−3y) 2 + 10(2x) 2 (−3y)3 + 5(2x)(−3y) 4 + (−3y)5 = 32x 5 − 240x 4 y + 720x 3 y 2 − 1080x 2 y3 + 810xy 4 − 243y5 2. จากทฤษฎีบททวินาม (*) จะไดวา  3  3  3  3 (x 2 + 2y)3 =   (x 2 )3 +   (x 2 ) 2 (2y) +   (x 2 )(2y) 2 +   (2y)3 0 1  2  3 = x 6 + 3x 4 (2y) + 3x 2 (4y 2 ) + 8y3 = x 6 + 6x 4 y + 12x 2 y 2 + 8y3 จากตัวอยางขางตน ผูสอนอาจใหขอสังเกตผูเรียนเพิ่มเติมวา ในตัวอยางขอที่ 2 ซึ่งใหกระจาย (x 2 + 2y)3 นั้น จะพบวา แตละพจนที่ไดจากการกระจายนัน ผลรวมของเลขชี้กาลังของ x 2 กับ y เทากับ 3 แต ้ ํ ผลรวมของเลขชี้กาลังของ x กับ y ไมจําเปนตองเทากับ 3 ํ 7
  • 9. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนไดเห็นตัวอยางการประยุกตใชทฤษฎีบททวินามแลว ผูสอนอาจใหผเู รียนทําตัวอยางตอไปนี้ เพื่อเพิ่มความเขาใจใหมากยิงขึ้น ่ ตัวอยาง 1. จงหาสัมประสิทธิ์ของ x 3 y7 ในการกระจาย (x + 2y)10 12  2 1 2. จงหาพจนทไมมี ี่ x ปรากฏอยูเลยในการกระจาย x −   x วิธีทา ํ 1. จากทฤษฎีบททวินามที่วา n n n  n  n −1  n  n (a + b) n =   a n +   a n −1b + +   a n −r br + +  ab +   b (*) 0 1 r  n − 1 n จะไดวา การกระจาย (x + 2y)10 พจนที่มี y7 คือ พจนที่ r = 7 นั่นเอง  10  3 ดังนั้น พจนที่มี y7 คือ   x (2y) = 15360x y 7 3 7  7 เพราะฉะนัน สัมประสิทธิ์ของ ้ x 3 y7 คือ 15,360 12  2 1 2. จากทฤษฎีบททวินาม (*) จะเห็นวา แตละพจนที่ไดจากการกระจาย x −  จะอยูในรูป  x r 12  2 12− r  1   12  24− 2r   (x )  −  =   (x )(−1) r (x − r ) r  x  r  12  =   x 24−3r (−1) r r เมื่อ 24 − 3r = 0 นั่นคือ r = 8 จะทําใหเลขชี้กําลังของ x เทากับ 0 12  ดังนั้น พจนที่ไมมี x ปรากฏอยูเลย คือ   (−1) = 495 8 8 8
  • 11. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนไดชมขอสังเกตที่ 1 แลว ผูสอนอาจเขียนขอสังเกตดังกลาวใหอยูในรูปสัญลักษณทาง คณิตศาสตร ซึ่งไดผลดังนี้  n   n − 1  n − 1 ขอสังเกตที่ 1  = +   r   r −1   r   n − 1  n − 1 (n − 1)! (n − 1)! พิสจน ู  + = +  r − 1   r  (n − r)!(r − 1)! (n − r − 1)!r! (n − 1)!r (n − 1)!(n − r) = + (n − r)!r! (n − r)!r! n! = (n − r)!r! n =  r เมื่อผูเรียนไดชมขอสังเกตที่ 2 แลว ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกันเขียนขอสังเกตใหอยูในรูปสัญลักษณทาง  คณิตศาสตร ซึ่งไดผลดังนี้ n  n  ขอสังเกตที่ 2  =   r  n −r n n! n!  n  พิสูจน  = = =   r  r!(n − r)! (n − (n − r))!(n − r)!  n − r  10
  • 12. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนไดชมขอสังเกตที่ 3 แลว ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกันเขียนขอสังเกตใหอยูในรูปสัญลักษณทาง  คณิตศาสตร ซึ่งไดผลดังนี้ 1  2   n   n + 1 ขอสังเกตที่ 3  + + +  =   1  1  1  2   1  2  n พิสจน ู  + + +   = 1+ 2 + + n  1  1  1 n(n + 1) = 2  n + 1 =   2  เมื่อผูเรียนไดชมตัวอยางการนําสามเหลี่ยมปาสกาลมาประยุกตใช แลว ผูสอนอาจนําตัวอยางที่เพิ่มเติม ใหผูเรียนฝกทักษะกอนหนานี้มาใหผูเรียนไดฝกทําอีกครังหนึ่งโดยใชสามเหลี่ยมปาสกาลเขาชวย ดังนี้ ้ 11
  • 13. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง จงใชทฤษฎีบททวินามในการกระจาย 1. (2x − 3y)5 2. (x 2 + 2y)3 วิธีทํา n=0 1 n =1 1 1 n=2 1 2 1 n =3 1 3 3 1 n=4 1 4 6 4 1 n =5 1 5 10 10 5 1 1. (2x − 3y)5 = (2x)5 + 5(2x) 4 (−3y) + 10(2x)3 (−3y) 2 + 10(2x)2 (−3y)3 + 5(2x)(−3y)4 + (−3y)5 = 32x 5 − 240x 4 y + 720x 3 y 2 − 1080x 2 y3 + 810xy 4 − 243y5 2. (x 2 + 2y)3 = (x 2 )3 + 3(x 2 )2 (2y) + 3(x 2 )(2y)2 + (2y)3 = x 6 + 6x 4 y + 12x 2 y 2 + 8y3 12
  • 14. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม 1. จงใชทฤษฎีบททวินามในการกระจาย 1.1 (2x + y) 4 1.2 (x + y 2 )5 1.3 (x − y)3 1.4 (x − 3y)4 1.5 (x 2 + 2y2 )6 2 y 1.6 ( + )5 x 3 2. จงหาสัมประสิทธิ์ของ x 3 y5 ในการกระจาย (x + 2y)8 3. จงหาสัมประสิทธิ์ของ x 3 y4 ในการกระจาย (3x + 2y)7 4. จงหาสัมประสิทธิ์ของ x 6 ในการกระจาย (2x − 1)8 5. จงหาสัมประสิทธิ์ของ x10 y7 ในการกระจาย (x 2 − 2y)12 9  2 2 6. จงหาพจนที่ไมมี x ปรากฏอยูเลยในการกระจาย x −   x 13
  • 16. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. ทฤษฎีบทอเนกนาม ตัวอยาง จงใชทฤษฎีบทอเนกนามในการกระจาย (x + y + z)3  3  3  3  3  3  3 วิธีทํา (x + y + z)3 =  x + y + z  3, 0, 0   0,3, 0   0, 0,3   3  2  3  2  3  2  3  2  3  + x y+ x z+  xy +   xz +   xyz  2,1, 0   2, 0,1  1, 2, 0   1, 0, 2   1,1,1  3  2  3  2 +  yz +  y z  0,1, 2   0, 2,1 = x 3 + y3 + z 3 + 3x 2 y + 3x 2 z + 3xy 2 + 3xz 2 + 6xyz + 3yz 2 + 3y 2 z 15
  • 17. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูสอนอาจเนนย้ําผูเรียนเพิ่มเติมวา ในการประยุกตใชทฤษฎีบทอเนกนาม  n  n1 n 2 (x1 + x 2 + + x m )n = ∑ n1 + n 2 +   x1 x 2 + n m = n  n1 , n 2 , … , n m  x nm m n1 , n 2 ,…,n m ≥ 0 สิ่งสําคัญ คือ n1 , n 2 , … , n m ≥ 0 n1 + n 2 + + nm = n และผูเรียนตองหาผลบวกใหครบทุกแบบ 16
  • 18. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ทฤษฎีบทอเนกนาม 1. จงใชทฤษฎีบทอเนกนามในการกระจาย 1.1 (x + y − z)3 1.2 (x + 2y − z)3 1.3 (x 2 + y2 + z 2 )3 2. จงหา (n1 , n 2 , n 3 ) ทั้งหมดที่ทําให n1 + n 2 + n 3 = 4 โดยที่ n1 , n 2 , n 3 เปนจํานวนเต็มที่มากกวาหรือ เทากับศูนย 3. จงใชทฤษฎีบทอเนกนามในการกระจาย (x + y + z)4 4. จงหาสัมประสิทธิ์ของ xy2 z3 ในการกระจาย (x + y + z)6 5. จงหาสัมประสิทธิ์ของ x 3 y4 z ในการกระจาย (x + y − 2z)8 17
  • 21. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอกสารอางอิง 1. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. 2. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. 20
  • 22. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 1 แบบฝกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม 21
  • 23. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดระคน 1. ในการกระจาย (xy − 2y−2 )8 พจนทมีผลบวกของกําลังของ ี่ x กับกําลังของ y เทากับ – 4 มี สัมประสิทธิ์เทากับขอใดตอไปนี้ 1. – 488 2. –1792 3. 1120 4. 56 2n  2 1 2. สัมประสิทธิ์ของ x ในการกระจาย r x +  คือขอใดตอไปนี้  x (2n)! (2n)! 1. 2. 4n − r  2n + r   4n − r    ! ! 3  3  3  (2n)! (2n)! 3. 4. r!(2n − r)! (2r)! 3. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง 8  3 1  1. ในการกระจาย x +  สัมประสิทธิ์ของ x12 คือ 56  2x  8  3 1  2. ในการกระจาย x +  ไมมีพจนใดเลยที่เปนคาคงตัว  2x  n 3. ในการกระจาย (x + y) n − (x − y) n สัมประสิทธิ์ของ x 2 yn −2 คือ 2   2 เมื่อ n คือจํานวนคูบวก  n 4. จากการกระจาย (x + y) n − (x − y) n จนเปนผลสําเร็จแลว จะเหลือพจนอยู พจน 2 เมื่อ n เปนจํานวนคูบวก  15  3 1  4. พจนที่ไมมี x ปรากฏอยูในการกระจาย x + 2  คือพจนใดตอไปนี้  x   11  15  15  15  1.   10  2.   3.   9 4.   10    8     22
  • 24. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 5. สัมประสิทธิ์ของ x ในการกระจายแลวบวกกันเปนผลสําเร็จของ 1 + (1 + x) + (1 + x)2 + + (1 + x)10 คือขอใด 1. 40 2. 45 3. 55 4. 65 6. สัมประสิทธิ์ของ x 54 ในอนุกรม 1 + (1 + x 2 ) + (1 + x 2 ) 2 + + (1 + x 2 )50 คือขอใด  50   50   51   51  1.    27  2.    28  3.    27  4.    28          7. ผลบวกของสัมประสิทธิ์ของทุกพจนจากการกระจาย (a + b)n เปน 256 แลว n 2 + n + 1 เทากับขอใด 1. 8 2. 64 3. 72 4. 73 8. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. จํานวนพจนจากการกระจาย (2x − 3y)5 มี 6 พจน ข. พจนกลางจากการกระจาย (x + 2y)8 คือ 1120x 4 y4 ค. ผลบวกของสัมประสิทธิ์ทุกพจนจากการกระจาย (5x − 3y)5 คือ 32 ขอใดตอไปนี้ถูกตอง 1. จริงทุกขอ 2. เท็จทุกขอ 3. จริงขอเดียว 4. เท็จขอเดียว 10  4 1  a 9. ถา a และ b เปนสัมประสิทธิ์ของ x และ x ของการกระจาย −2 4 x − 2  ตามลําดับ แลว  2x  b เทากับขอใดตอไปนี้ 2 1 1 4 1. − 2. − 3. − 4. − 7 2 3 15 10. ขอใดตอไปนี้ผิด 1. สัมประสิทธิ์ของทุกพจนจากการกระจาย (a + b)5 รวมกันแลวเทากับ 32 2. ถา Pn,5 = 20Pn,3 แลว n = 12 10  10  11 3.  +  =  5  4 5 5 4. ∑ (5k − 3)2 = 970 k =1 23
  • 25. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 2 เฉลยแบบฝกหัด 24
  • 26. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม 1. 1.1 16x 4 + 32x 3 y + 24x 2 y 2 + 8xy3 + y 4 1.2 x 5 + 5x 4 y 2 + 10x 3 y 4 + 10x 2 y 6 + 5xy8 + y10 1.3 x 3 − 3x 2 y + 3xy 2 − y3 1.4 x 4 − 12x 3 y + 54x 2 y 2 − 108xy3 + 81y 4 1.5 x12 + 12x10 y 2 + 60x 8 y 4 + 160x 6 y6 + 240x 4 y8 + 192x 2 y10 + 64y12 32 80  y  80  y 2  40  y3  10  y 4  y5 1.6 +  +  +  +  + x 5 3  x 4  9  x 3  27  x 2  81  x  243 2. 1, 792 3. 15,120 4. 1, 792 5. −10,1376 6. 5,376 เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง ทฤษฎีบทอเนกนาม 1. 1.1 x 3 + y3 − z 3 + 3x 2 y − 3x 2 z + 3xy 2 + 3xz 2 − 6xyz + 3yz 2 − 3y 2 z 1.2 x 3 + 8y3 − z 3 + 6x 2 y − 3x 2 z + 12xy 2 + 3xz 2 − 12xyz + 6yz 2 − 12y 2 z 1.3 x 6 + y 6 + z 6 + 3x 4 y 2 + 3x 4 z 2 + 3x 2 y 4 + 3x 2 z 4 + 6x 2 y 2 z 2 + 3y 2 z 4 + 3y 4 z 2 2. (4, 0, 0), (0, 4, 0), (0, 0, 4), (3,1, 0), (3, 0,1), (2, 2, 0), (2, 0, 2), (2,1,1), (1,3, 0), (1, 0,3), (1, 2,1), (1,1, 2), (0,3,1), (0,1,3), (0, 2, 2) 3. x 4 + y 4 + z 4 + 4x 3 y + 4x 3 z + 6x 2 y 2 + 6x 2 z 2 + 12x 2 yz + 4xy3 + 4xz 3 +12xy 2 z + 12xyz 2 +4y3 z + 4yz 3 + 6y 2 z 2 4. 60 5. − 560 25
  • 27. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝกหัดระคน 1. 2 2. 1 3. 4 4. 3 5. 3 6. 4 7. 4 8. 4 9. 1 10. 2 26
  • 28. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน 27
  • 29. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนํา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร การใหเหตุผล ประพจนและการสมมูล สัจนิรันดรและการอางเหตุผล ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง จํานวนจริง บทนํา เรื่อง จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกอสมการคาสัมบูรณ กราฟคาสัมบูรณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน ั ความสัมพันธ 28
  • 30. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน ฟงกชันเบื้องตน พีชคณิตของฟงกชน ั อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ฟงกชันประกอบ ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม ั ึ เลขยกกําลัง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม ลอการิทึม อสมการเลขชี้กําลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 2 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซนและโคไซน กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน กําหนดการเชิงเสน บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร การหาคาสุดขีด ลําดับและอนุกรม บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม ลําดับ การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ ผลบวกยอย อนุกรม ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม 29
  • 31. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความนาจะเปน บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน . การนับเบื้องตน การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุม ความนาจะเปน 1 ความนาจะเปน 2 สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เนื้อหา แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3 การกระจายของขอมูล การกระจายสัมบูรณ 1 การกระจายสัมบูรณ 2 การกระจายสัมบูรณ 3 การกระจายสัมพัทธ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เสนตรงลอมเสนโคง กระเบื้องที่ยืดหดได 30