SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร
                    เรื่อง
           สถิติและการวิเคราะหขอมูล
                (เนือหาตอนที่ 11)
                    ้
          ความสัมพันธระหวางขอมูล 1

                      โดย
      ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี

      สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง
   คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
               กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
           สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                  สื่อการสอน เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
        สื่อการสอน เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 27 ตอน
ซึ่งประกอบดวย

1. บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
2. เนื้อหาตอนที่ 1 บทนํา (เนื้อหา)
                       - ความหมายของสถิติ
                       - ขอมูลและการนําเสนอขอมูล
                       - การสํารวจความคิดเห็น
3. เนื้อหาตอนที่ 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
                       - คากลางของขอมูล
4. เนื้อหาตอนที่ 3 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
                       - แนวโนมเขาสูสวนกลาง
5. เนื้อหาตอนที่ 4 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
                       - คาเฉลี่ยเลขคณิต
                       - มัธยฐาน
                       - ฐานนิยม
                       - คาเฉลี่ยเรขาคณิต
                       - คากลางฮารโมนิก
6. เนื้อหาตอนที่ 5 การกระจายของขอมูล
                       - ตําแหนงของขอมูล
7. เนื้อหาตอนที่ 6 การกระจายสัมบูรณ 1
                       - การกระจายสัมบูรณและการกระจายสัมพัทธ
                       - พิสัย (ขอมูลไมแจกแจงความถี่)
                       - สวนเบี่ยงเบนควอไทล (ขอมูลไมแจกแจงความถี่)
                       - สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (ขอมูลไมแจกแจงความถี่)
8. เนื้อหาตอนที่ 7 การกระจายสัมบูรณ 2
                       - สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ขอมูลไมแจกแจงความถี่)
                       - ความแปรปรวน



                                                 1
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


 9. เนื้อหาตอนที่ 8       การกระจายสัมบูรณ 3
                          - พิสัย (ขอมูลแจกแจงความถี)  ่
                          - สวนเบี่ยงเบนควอไทล (ขอมูลแจกแจงความถี่)
                          - สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (ขอมูลแจกแจงความถี) ่
                          - สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ขอมูลแจกแจงความถี่)
10. เนื้อหาตอนที่ 9 การกระจายสัมพัทธ
                          - สัมประสิทธพิสัย
                          - สัมประสิทธของสวนเบี่ยงเบนควอไทล
                          - สัมประสิทธของสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
                          - สัมประสิทธของความแปรผัน
11. เนื้อหาตอนที่ 10 คะแนนมาตรฐาน
                          - คะแนนมาตรฐาน
                          - การแจกแจงปกติ
12. เนื้อหาตอนที่ 11 ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
                          - ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล
13. เนื้อหาตอนที่ 12 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
                          - ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา
14. เนื้อหาตอนที่ 13 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
                          - โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
15. เนื้อหาตอนที่ 14 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
                          - โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
16. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1)
17. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2)
18. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 3)
19. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 4)
20. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 5)
21. แบบฝกหัด (ขันสูง)
                  ้
22. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การนําเสนอขอมูล
23. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การวัดคากลางของขอมูล
24. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การวัดการกระจายของขอมูล
25. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การแจกแจงปกติ
                                                   2
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


26. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความสัมพันธเชิงเสนตรง
27. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความสัมพันธเชิงพาราโบลาและความสัมพันธเชิงชี้กําลัง

         คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ
 ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง สถิติและการ
 วิเคราะหขอมูล นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได
 ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด
 ในตอนทายของคูมือฉบับนี้




                                                   3
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


เรื่อง            สถิติและการวิเคราะหขอมูล (ความสัมพันธระหวางขอมูล 1)
หมวด              เนื้อหา
ตอนที่            11 (11/14)

หัวขอยอย        ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล




จุดประสงคการเรียนรู
    เพื่อใหผูเรียน
    1. เขาใจในมโนทัศนของความสัมพันธระหวางขอมูล
    2. เขาใจความหมายและหาความสัมพันธระหวางขอมูลทีกราฟเปนเสนตรงได
                                                     ่
    3. เขาใจความหมายและหาความสัมพันธระหวางขอมูลทีกราฟเปนพาราโบลาและ
                                                       ่
         เอกซโพเนนเชียลได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
              
   ผูเรียนสามารถ
   1. อธิบายความหมายของตัวแปรอิสระและตัวแปรตามได
   2. อธิบายความหมายของความสัมพันธระหวางขอมูลได
   3. อธิบายวิธีการหาและหาความสัมพันธระหวางขอมูลที่กราฟเปนเสนตรงได
   4. อธิบายวิธีการหาและหาความสัมพันธระหวางขอมูลที่กราฟเปนพาราโบลาและ
          เอกซโพเนนเชียลได




                                                   4
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             เนื้อหาในสื่อการสอน




                             เนื้อหาทั้งหมด




                                      5
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




     ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล




                                      6
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                  ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล

        ในสื่อการสอนตอนนี้ เราจะศึกษา “ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล”                 ซึ่งเปนการศึกษา
ความสัมพันธของตัวแปรสองตัว โดยมีวัตถุประสงคหลัก คือ ใชตัวแปรตัวหนึ่งซึ่งเรียกวาตัวแปรอิสระไป
ประมาณคาอีกตัวแปรหนึ่งซึ่งเรียกวาตัวแปรตาม
        โดยในสื่อการสอนจะเริ่มดวยการกลาวถึงเนื้อหาคราว ๆ ที่จะไดเรียนในสื่อตอนนี้ ซึ่งเริ่มดวยการยก
ตัวอยาง โดยนําขอมูลที่ตัวอยางกําหนดใหมาเขียนแผนภาพการกระจายเพื่อดูแนวโนมความสัมพันธระหวางสอง
ตัวแปร จากนั้นจึงหาสมการความสัมพันธดังกลาว ซึงทําใหเราสามารถประมาณคาตัวแปรตามไดหากรูคาของ
                                                   ่                                                     
ตัวแปรอิสระ




                                                          7
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
           สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


จากนั้น ในสื่อการสอนไดใหความหมายพรอมทั้งยกตัวอยางของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม




ในสื่อการสอนนี้ เราจะศึกษาความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูล โดยแบงเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ
   1.      ความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟเปนเสนตรง
   2.      ความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟไมเปนเสนตรง
           2.1 กราฟเปนพาราโบลา
           2.2 กราฟเปนเอกซโพเนนเชียล




                                                 8
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




         เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนจบแลว ผูสอนอาจอธิบายแนวคิดของวิธกําลังสองนอยสุด(method of
                                                                              ี
least square) เพิ่มเติม ดังนี้
          ให x เปนตัวแปรอิสระและ y เปนตัวแปรตาม
                                               n
       แนวคิดของวิธการนี้คือ การทําให ∑ ( yi − yi )2 มีคานอยที่สุด
                   ี                       ˆ
                                              i =1
                            n
       ให         SSE = ∑ ( yi − yi ) 2
                             ˆ
                           i =1
                                                       n
       เนื่องจาก      y = ax + b
                      ˆ              ดังนั้น SSE = ∑ (axi + b − yi )2
                                                      i =1

       จากนั้นใชความรูเรื่องแคลคูลัสในการหาคา a และ b ที่ทําให SSE มีคานอยสุด ดังนี้
                                               ∂ ( SSE )       n
                                                         = 2∑ (axi + b − yi ) xi
                                                   ∂a        i =1

                                                ∂ ( SSE )         n
                                                          = 2∑ (axi + b − yi )
                                                    ∂b          i =1




                                                             9
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                                                                   ∂ ( SSE )            ∂ ( SSE )
จากทฤษฎีบทการหาคาต่ําสุด เราตองการหาคา a และ b ที่ทําให                                  =0   และ             =0
                                                                                       ∂a                   ∂b
ดังนั้น
                             n                                             n

                            ∑ (ax + b − y ) x
                            i =1
                                    i         i         i   =0     และ ∑ (axi + b − yi ) = 0
                                                                          i =1

นั่นคือ คาคงตัว a และ b ตองสอดคลองสมการ
                                                   n                n

                                              ∑y i =1
                                                            i   = a ∑ xi + nb
                                                                   i =1
                                             n                      n             n

                                           ∑ xi yi = a∑ xi2 + b∑ xi
                                            i =1                   i =1          i =1

โดยสมการขางตนที่ไดจากวิธีกําลังสองนอยสุด เรียกวา สมการปกติ(normal equations)

        จากนั้นในสื่อการสอนผูเรียนจะไดชมตัวอยางการวาดแผนภาพการกระจายและการหาความสัมพันธเชิง
ฟงกชันที่กราฟเปนเสนตรง ดังนี้




                                                                  10
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


หมายเหตุ
      1. ถาตองการประมาณคาของตัวแปรใดตองใหตัวแปรนั้นเปนตัวแปรตามและตัวแปรอีกตัวหนึ่งเปน
         ตัวแปรอิสระ
      2. สําหรับสมการความสัมพันธเชิงฟงกชันของตัวแปร x และตัวแปร y เราจะใสสัญลักษณ “ ^ ” ไว
         เหนือตัวแปรตาม นั่นคือ

                                ตัวแปร                                             สมการความสัมพันธ
                x เปนตัวแปรอิสระ และ y เปนตัวแปรตาม                                    y = ax + b
                                                                                         ˆ             (1)
                x เปนตัวแปรตาม และ y เปนตัวแปรอิสระ                                    x = ay + b
                                                                                         ˆ             (2)

          โดยคาคงตัว a และ b ในสมการ (1) และ (2) ไมจําเปนตองเทากัน ซึ่งผูเรียนจะไดชมจากตัวอยาง
          ตอไปนี้ในสื่อการสอน




                                                       11
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


       สําหรับสองตัวอยางขางตน จะพบวาขอมูลที่โจทยกําหนดใหมาเปนขอมูลชุดเดียวกัน เพียงแตคาถาม
                                                                                                ํ
แตกตางกัน

           ตัวอยาง            โจทยตองการหาสมการเสนตรงที่                             สมการเสนตรงที่ได
              1                  ประมาณรายจายจากรายได                                    y = 0.7 x + 0.9
                                                                                           ˆ
              2                  ประมาณรายไดจากรายจาย                                    x = 0.5 y + 1.5
                                                                                           ˆ


       โดยในตัวอยางแรก ถาทราบรายได ( x ) สามารถประมาณรายจาย ( y ) จากสมการ y = 0.7 x + 0.9 แต
                                                                                    ˆ
ถาหากทราบรายจาย ( y ) แลวตองการประมาณรายได ( x ) ตองใชสมการ x = 0.5 y + 1.5 ในตัวอยางที่ 2
                                                                   ˆ




        ดังนั้นในการหาสมการความสัมพันธ ผูเรียนตองระมัดระวังวาตัวแปรใดเปนตัวแปรอิสระและตัวแปร
ใดเปนตัวแปรตาม จากนันจึงหาคาคงตัว a และ b ซึ่งสรุปไดดังนี้
                      ้




                                                           12
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


         เพื่อใหผูเรียนเขียนแผนภาพการกระจายและหาสมการความสัมพันธเชิงฟงกชันไดคลองยิ่งขึ้น ผูสอน
อาจใหผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้เพิ่มเติม

ตัวอยาง ขอมูลแสดงคาซอมบํารุงรถยนต(ตอป)และอายุการใชงานรถยนตของบริษทแหงหนึ่งจํานวน 7 คัน
                                                                          ั
เปนดังนี้
     อายุการใชงาน               1         4       3.5       3        5       3                      1.5
     คาซอมบํารุง(พันบาท)       1         5       3.5      2.5      6.5     3.5                     1.5
     1. จงเขียนแผนภาพการกระจายของขอมูลชุดนี้
     2. จงหาสมการเสนตรงที่ประมาณคาซอมบํารุงจากอายุการใชงานของรถยนต
     3. ถารถยนตคันหนึ่งมีอายุการใชงาน 4 ป จงประมาณคาซอมบํารุงของรถยนตคันนี้
วิธีทํา กําหนดให x แทนอายุการใชงานของรถยนต และ y แทนคาซอมบํารุงของรถยนต
      1. นําขอมูลที่โจทยกําหนดใหมาเขียนแผนภาพการกระจายไดดังนี้

         คาซอมบํารุง(พันบาท)




                                                                                                      อายุการใชงาน


    2. สมการเสนตรงที่ประมาณคาซอมบํารุงจากอายุการใชงานของรถยนต คือ
                                                       y = ax + b
                                                       ˆ
        โดยคาคงตัว a และ b หาไดจากสมการ



                                                        13
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                                       n             n

                                                      ∑y
                                                      i =1
                                                             i   = a ∑ xi + nb
                                                                    i =1
                                                  n                  n                    n

                                              ∑ xi yi = a∑ xi2 + b∑ xi
                                               i =1                 i =1                 i =1

   เมื่อ n = 7
                   xi                        yi                                    xi2                 xi yi
                    1                         1                                     1                    1
                    4                         5                                    16                   20
                   3.5                       3.5                                  12.25                12.25
                    3                        2.5                                    9                   7.5
                    5                        6.5                                   25                  32.5
                    3                        3.5                                    9                  10.5
                   1.5                       1.5                                  2.25                 2.25
             7                         7                                    7                    7

            ∑ xi = 21
            i =1
                                     ∑ yi = 23.5
                                      i =1
                                                                           ∑ xi2 = 74.5
                                                                           i =1
                                                                                                ∑ x y = 86
                                                                                                i =1
                                                                                                        i   i




   ดังนัน
        ้
                                                      23.5 = 21a + 7b
                                                           86 = 74.5a + 21b
    ทําใหไดวา              a = 1.3478 และ b = −0.6863
    ดังนัน สมการเสนตรงที่ประมาณคาซอมบํารุงจากอายุการใชงานของรถยนต คือ
         ้

                                                             y = 1.3478 x − 0.6863
                                                             ˆ



3. ถารถยนตคันหนึ่งมีอายุการใชงาน 4 ป ดังนั้น
                                                             y = 1.3478(4) − 0.6863 = 4.7050
                                                             ˆ
    นั่นคือ คาซอมบํารุงของรถยนตคันนี้ประมาณ 4,705 บาทตอป




                                                                   14
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       ตอไปผูเรียนจะไดศกษาการหาสมการความสัมพันธที่กราฟไมเปนเสนตรง โดยจะศึกษาในกรณีทกราฟ
                          ึ                                                               ี่
เปนพาราโบลาและกราฟเปนเอกซโพเนนเชียล ดังนี้




        จากนั้นผูเรียนจะไดชมตัวอยางความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูลที่กราฟเปนเอกซโพเนนเชียล โดย
ผูสอนอาจทบทวนสมบัติพนฐานของเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึมใหผูเรียนกอนชมตัวอยางตอไปนี้
                          ื้




                                                        15
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




          เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟเปนเอกซโพเนนเชียลไดดยิ่งขึ้น ผูสอนควรให
                                                                                            ี
ผูเรียนฝกทําตัวอยางตอไปนีเ้ พิ่มเติม

ตัวอยาง ขอมูลแสดงจํานวนชั่วโมงในการทบทวนบทเรียน(ตอวัน) และคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรที่ได
เปนดังนี้
     จํานวนชั่วโมงในการทบทวนบทเรียน           0.5      1         2     2.5    3        3.5
     คะแนนสอบ                                  2      2.5       3.5    4.5    7        9.5
     1. จงเขียนแผนภาพการกระจายของขอมูลชุดนี้
     2. จงหาสมการเอกซโพเนนเชียลที่ประมาณคะแนนสอบจากจํานวนชัวโมงในการทบทวนบทเรียน
                                                                    ่
     3. ถานักเรียนคนหนึ่งทบทวนบทเรียน 1 ชั่วโมง 30 นาที ตอวัน จงประมาณคะแนนสอบที่นักเรียนคนนี้ได
วิธีทํา กําหนดให x แทนอายุการใชงานของรถยนต และ y แทนคาซอมบํารุงของรถยนต
      1. นําขอมูลที่โจทยกําหนดใหมาเขียนแผนภาพการกระจายไดดังนี้
              คะแนนสอบ




                                                                                          จํานวนชัวโมงในการ
                                                                                                  ่
                                                                                          ทบทวนบทเรียน
                                                          16
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


2. สมการเอกซโพเนนเชียลที่ประมาณคะแนนสอบจากจํานวนชัวโมงในการทบทวนบทเรียน คือ
                                                   ่
                                                                  y = ab x
                                                                  ˆ
    ดังนั้น                          log y = log a + x log b
                                         ˆ
    โดยคาคงตัว a และ b หาไดจากสมการ
                                                      n                                      n

                                                  ∑ log yi = n log a + log b∑ xi
                                                    i =1                                    i =1
                                              n                               n                     n

                                            ∑ x log y
                                             i =1
                                                          i       i   = log a ∑ xi + log b∑ xi2
                                                                             i =1                  i =1

    เมื่อ n = 6
              xi                  yi                          log yi                        xi2                      xi log yi
              0.5                 2                           0.3010                       0.25                      0.1505
               1                 2.5                          0.3979                         1                       0.3979
               2                 3.5                          0.5441                         4                       1.0882
              2.5                4.5                          0.6532                       6.25                      1.6330
               3                  7                           0.8451                         9                       2.5353
              3.5                9.5                          0.9772                       12.25                     3.4223
        6                                         6                                  6                     6

      ∑ xi = 12.5
       i =1
                                  −           ∑ log yi = 3.7191
                                               i =1
                                                                                    ∑ xi2 = 32.75
                                                                                    i =1
                                                                                                          ∑ x log y = 9.2272
                                                                                                          i =1
                                                                                                                 i        i




    ดังนัน
         ้                                                    3.7191 = 6 log a + 12.5log b

                                                              9.2272 = 12.5log a + 32.75log b
    ทําใหไดวา              log a = 0.1605 และ log b = 0.2205
    ดังนัน
         ้                                log y = 0.1605 + 0.2205 x
                                              ˆ
    ทําใหไดวา สมการเอกซโพเนนเชียลที่ประมาณคะแนนสอบจากจํานวนชัวโมงในการทบทวนบทเรียน
                                                                   ่
    คือ
                                                          y = 100.1605+0.2205 x
                                                          ˆ


3. ถานักเรียนคนหนึ่งทบทวนบทเรียน 1 ชั่วโมง 30 นาที ตอวัน ดังนั้น
                                                          y = 100.1605+0.2205(1.5) = 100.49125 = 3.1
                                                          ˆ
   นั่นคือ นักเรียนคนนีจะไดคะแนนประมาณ 3.1 คะแนน
                       ้



                                                                  17
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


        สําหรับตัวอยางสุดทายในสื่อการสอนนี้เปนตัวอยางความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูลที่อยูในรูป
พาราโบลา เนื่องดวยเวลาในสื่อการสอนมีจํากัดจึงไมไดเฉลยวิธทําใหผูเรียนชม ดังนั้นผูสอนควรใหผูเรียน
                                                                ี                       
ชวยกันคิดหาคําตอบกอน จากนั้นผูสอนจึงแสดงใหผูเรียนดู ดังนี้




ตัวอยาง จากขอมูล
                       xi                                  1                      2                  3
                       yi                                  1                      5                  10

        1. จงหาสมการพาราโบลาที่ทํานายคา y จากคา x
        2. จงทํานายคา y เมื่อ x = 6
วิธีทํา 1. ตองการทํานายคา y จากคา x ดังนั้น x เปนตัวแปรอิสระและ                          y   เปนตัวแปรตาม
           ดังนั้น สมการพาราโบลาที่ตองการอยูในรูป

                                                       y = ax 2 + bx + c
                                                       ˆ


           โดยคาคงตัว a, b และ c หาไดจากสมการ
                                             n                  n           n

                                          ∑ yi = a∑ xi2 + b∑ xi + cn
                                            i =1               i =1        i =1
                                                                                                          (1)
                                       n                         n           n         n

                                     ∑x y
                                      i =1
                                                   i   i   = a ∑ xi3 + b∑ xi2 + c∑ xi
                                                               i =1        i =1       i =1
                                                                                                          (2)
                                      n                         n           n          n

                                     ∑ xi2 yi = a∑ xi4 + b∑ xi3 + c∑ xi2
                                     i =1                      i =1        i =1       i =1
                                                                                                          (3)
           สําหรับตัวอยางนี้ n = 3



                                                                      18
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


         xi                      yi                     xi2               xi3              xi4             xi yi          xi2 yi
         1                       1                      1                 1                 1               1               1
         2                      5                       4                 8                16              10              20
         3                      10                      9                 27               81              30              90
   3                      3                       3                 3                3               3              3

  ∑ xi = 6
  i =1
                         ∑ yi = 16
                         i =1
                                                 ∑ xi2 = 14
                                                 i =1
                                                                  ∑ xi3 = 36
                                                                   i =1
                                                                                   ∑ xi4 = 98
                                                                                    i =1
                                                                                                   ∑ xi yi = 41
                                                                                                    i =1
                                                                                                                   ∑x
                                                                                                                   i =1
                                                                                                                          2
                                                                                                                           y = 111
                                                                                                                          i i




                นําคาในตารางไปแทนในสมการ (1), (2) และ (3) จะไดวา
                                                                 
                                                              16 = 14a + 6b + 3c

                                                              41 = 36a + 14b + 6c

                                                              111 = 98a + 36b + 14c
                 จากการแกสมการขางตน จะไดวา
                                             a = 0.5            b = 2.5         c = −2


                 ดังนั้น สมการพาราโบลาที่ทํานายคา y จากคา x คือ

                                                                y = 0.5 x 2 + 2.5 x − 2
                                                                ˆ


              2. เมื่อ   x=6          จะไดวา   y = 0.5(62 ) + 2.5(6) − 2 = 31
                                                 ˆ


หมายเหตุ จากตัวอยางขางตน ผูเรียนตองหาคําตอบของระบบสมการเชิงเสน 3 ตัวแปร ซึ่งการคํานวณคอนขาง
ยุงยาก ดังนัน ผูสอนควรทบทวนผูเรียนเรื่องการใชเมทริกซในการแกระบบสมการ ซึ่งจะทําใหหาคําตอบได
             ้
สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
        จากระบบอสมการ
                                                         16 = 14a + 6b + 3c

                                                         41 = 36a + 14b + 6c

                                                        111 = 98a + 36b + 14c
นํามาเขียนในรูปเมทริกซไดดังนี้



                                                                          19
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                       14 6 3   a   16 
                                       36 14 6   b  =  41 
                                                   
                                       98 36 14   c  111
                                                   
โดยกฎของคราเมอร จะไดวา
                       

   16     6    3                      14       16     3                            14       6      16
    41   14    6                      36        41    6                            36      14       41
   111   36   14 −2                   98       111   14 −10                        98      36      111 8
a=               =    = 0.5 ,      b=                   =    = 2.5 ,            c=                     =    = −2
   14     6    3   −4                 14         6    3   −4                       14       6       3    −4
    36   14    6                      36       14     6                            36      14       6
    98   36   14                      98        36   14                             98     36      14




                                                      20
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                    แบบฝกหัดเพิ่มเติม
                       เรื่อง ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล

1. ขอมูลแสดงงบโฆษณา(แสนบาท) และรายไดตอเดือน(ลานบาท) ของน้ําผลไมยี่หอหนึ่ง เปนดังนี้
                                                                        

     งบโฆษณา(แสนบาท)               2.5       3.5           4            2.5       1.5        5    6    7
     รายได(ลานบาท)                4         7            7             5         2         9    12   14

   1.1 จงเขียนแผนภาพการกระจายของขอมูลชุดนี้
   1.2 จงหาสมการเสนตรงที่ประมาณรายไดจากงบโฆษณาของน้ําผลไมยี่หอนี้
   1.3 จงประมาณรายไดของน้ําผลไมยี่หอนี้หากทุมงบโฆษณา 1,000,000 บาท

2. กําหนดขอมูลดังตารางตอไปนี้

                               x                 -2            -1             0          1
                               y                 1             2              3          2
     2.1 จงเขียนแผนภาพการกระจายของขอมูลชุดนี้
     2.2 จงหาสมการพาราโบลาที่ประมาณคา y จากคา                     x
     2.3 จงประมาณคา y เมื่อกําหนดให x = 2

3. ขอมูลแสดงอายุ(ป) และน้ําหนัก (กิโลกรัม) ของสัตวชนิดหนึ่ง เปนดังนี้

                น้ําหนัก(กิโลกรัม)           3           4               6         10        16
                     อายุ(ป)                1          1.5              2         2.5       3
     3.1 จงเขียนแผนภาพการกระจายของขอมูลชุดนี้
     3.2 จงหาสมการเอกซโพเนนเชียลที่ประมาณน้ําหนักจากอายุของสัตวชนิดนี้
     3.3 ถาสัตวชนิดนีตัวหนึ่งมีอายุ 4 ป จงประมาณน้ําหนักของสัตวตวนี้
                       ้                                            ั
     (ตอบเปนทศนิยม 4 ตําแหนง)




                                                      21
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


4. กําหนดใหยอดขายของพนักงานขายประกัน ( y : หนวยเปนหมื่นบาท) ในบริษัทประกันแหงหนึ่งกับ
   ประสบการณขาย( x : หนวยเปนป) มีความสัมพันธที่มีกราฟเปนเสนตรง เก็บขอมูลของพนักงาน 10 คน
   จากบริษัทแหงนี้ ไดขอมูลดังนี้
              10                 10                 10                     10

             ∑ xi = 30,
              i =1
                                ∑ yi = 43,
                                 i =1
                                                   ∑ xi yi = 143.5,
                                                    i =1
                                                                          ∑ x = 104.5
                                                                           i =1
                                                                                  2
                                                                                  i


    4.1 ถาพนักงานคนหนึ่งมีประสบการณขาย 6 ป จงประมาณยอดขายประกันของพนักงานคนนี้
    4.2 ถาหากพนักงานมีประสบการณขายเพิ่มขึน 1 ป จงประมาณยอดขายประกันทีเ่ พิ่มขึ้น
                                           ้

 5. ถาความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางรายได ( x : หนวยเปนบาท) และรายจาย( y : หนวยเปนบาท) คือ
                                                    y = 0.6 x + b
                                                    ˆ
      โดยใชความสัมพันธน้ี ปรากฏวานายมัธยัสถซึ่งมีรายไดเดือนละ 20,000 บาท จะมีรายจายประมาณ
      13,500 บาท จงประมาณรายจายของนายประหยัดถาเขามีรายไดเดือนละ 25,000 บาท




                                                    22
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




             สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     23
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                      สรุปสาระสําคัญประจําตอน




          ในสื่อการสอนเรื่องสถิติและการวิเคราะหขอมูล ตอนที่ 11 เราไดศึกษาเรื่องความสัมพันธเชิงฟงกชัน
ของขอมูล 2 ตัวแปร โดยมีวัตถุประสงคหลัก คือ ใชตวแปรหนึ่งซึ่งเรียกวาตัวแปรอิสระไปประมาณคาอีกตัวแปร
                                                       ั
หนึ่งซึ่งเรียกวาตัวแปรตาม โดยสามารถสรุปคราว ๆ ไดดังนี้
          1. ถาตองการประมาณคาของตัวแปรใดตองใหตวแปรนั้นเปนตัวแปรตามและตัวแปรอีกตัวหนึ่งเปน
                                                          ั
              ตัวแปรอิสระ
          2. นําขอมูลที่มีมาเขียนแผนภาพการกระจายเพื่อดูแนวโนมความสัมพันธ โดยความสัมพันธซ่งเราศึกษา
                                                                                              ึ
              ในสื่อการสอนนี้สามารถแบงไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ
               1. ความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟเปนเสนตรง
               2. ความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟไมเปนเสนตรง
                       2.1 กราฟเปนพาราโบลา
                       2.2 กราฟเปนเอกซโพเนนเชียล
          3. หาสมการความสัมพันธโดยวิธีกําลังสองนอยสุด
          4. เมื่อกําหนดคาของตัวแปรอิสระสามารถประมาณคาตัวแปรตามไดจากสมการความสัมพันธที่ไดใน
              ขอ 3



                                                        24
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                               เอกสารอางอิง

สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, สถาบัน (2553) หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม 1 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว




                                                       25
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                          ภาคผนวก
                        เฉลยแบบฝกหัด




                                     26
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
           สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                           เฉลยแบบฝกหัด
                       เรื่อง ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล

1. 1.1    รายได(แสนบาท)




                                                                                   รายได(ลานบาท)
  1.2     y = 2.12 x − 0.98
          ˆ

          เมื่อ x แทนงบโฆษณา(หนวยเปนแสนบาท) และ y แทนรายได(หนวยเปนลานบาท)
  1.3     20, 220, 000   บาท


2. 2.1                                                 y




                                                                                             x


    2.2    y = −0.5 x 2 − 0.1x + 2.7
           ˆ
    2.3   0.5



                                                27
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


 3. 3.1 น้ําหนัก(กิโลกรัม)




                                                                                                  อายุ(ป)

     3.2   log y = 0.0715 + 0.3704 x , y = 100.0715+ 0.3704 x
               ˆ                       ˆ
           เมื่อ x แทนอายุ(หนวยเปนป) และ y แทนน้ําหนัก(หนวยเปนกิโลกรัม)

     3.3   101.5531   กิโลกรัม, 35.7355 กิโลกรัม

4. 4.1     73, 000 บาท
   4.2     13, 000 บาท


5.   16,500    บาท




                                                     28
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร
                  จํานวน 92 ตอน




                                     29
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน
                 เรื่อง                                                              ตอน
เซต                                      บทนํา เรื่อง เซต
                                         ความหมายของเซต
                                         เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต
                                         เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร                บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
                                         การใหเหตุผล
                                         ประพจนและการสมมูล
                                         สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
                                         ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง
จํานวนจริง                               บทนํา เรื่อง จํานวนจริง
                                         สมบัติของจํานวนจริง
                                         การแยกตัวประกอบ
                                         ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                         สมการพหุนาม
                                         อสมการ
                                         เทคนิคการแกอสมการ
                                         คาสัมบูรณ
                                         การแกอสมการคาสัมบูรณ
                                         กราฟคาสัมบูรณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ
ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน                     บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
                                         การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
                                         ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
ความสัมพันธและฟงกชัน                  บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน  ั
                                         ความสัมพันธ




                                                                   30
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                  เรื่อง                                                              ตอน
ความสัมพันธและฟงกชัน                       โดเมนและเรนจ
                                              อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน
                                              ฟงกชันเบื้องตน
                                              พีชคณิตของฟงกชน   ั
                                              อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส
                                              ฟงกชันประกอบ
ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม         บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม
                                                                                     ั       ึ
                                              เลขยกกําลัง
                                              ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                              ลอการิทึม
                                              อสมการเลขชี้กําลัง
                                              อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                    บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                              อัตราสวนตรีโกณมิติ
                                              เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
                                              กฎของไซนและโคไซน
                                              กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน
กําหนดการเชิงเสน                             บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน
                                              การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
                                              การหาคาสุดขีด
ลําดับและอนุกรม                               บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม
                                              ลําดับ
                                              การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                              ลิมิตของลําดับ
                                              ผลบวกยอย
                                              อนุกรม
                                              ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม




                                                                 31
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                 เรื่อง                                                                  ตอน
การนับและความนาจะเปน                         บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
                     .                         การนับเบื้องตน
                                               การเรียงสับเปลี่ยน
                                               การจัดหมู
                                               ทฤษฎีบททวินาม
                                               การทดลองสุม
                                               ความนาจะเปน 1
                                               ความนาจะเปน 2
สถิติและการวิเคราะหขอมูล                     บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
                                               บทนํา เนื้อหา
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
                                               การกระจายของขอมูล
                                               การกระจายสัมบูรณ 1
                                               การกระจายสัมบูรณ 2
                                               การกระจายสัมบูรณ 3
                                               การกระจายสัมพัทธ
                                               คะแนนมาตรฐาน
                                               ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
                                               ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
                                               โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
                                               โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
โครงงานคณิตศาสตร                              การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                               ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                               การถอดรากที่สาม
                                               เสนตรงลอมเสนโคง
                                               กระเบื้องที่ยืดหดได




                                                                    32

More Related Content

What's hot

เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 

What's hot (20)

77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง377 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
 
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์179 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง175 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
 
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
 
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset5088 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
 
55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ
55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ
55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
 
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น171 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
 

Similar to 84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1

Similar to 84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1 (20)

21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
 
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1

  • 1. คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล (เนือหาตอนที่ 11) ้ ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล สื่อการสอน เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 27 ตอน ซึ่งประกอบดวย 1. บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล 2. เนื้อหาตอนที่ 1 บทนํา (เนื้อหา) - ความหมายของสถิติ - ขอมูลและการนําเสนอขอมูล - การสํารวจความคิดเห็น 3. เนื้อหาตอนที่ 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1 - คากลางของขอมูล 4. เนื้อหาตอนที่ 3 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2 - แนวโนมเขาสูสวนกลาง 5. เนื้อหาตอนที่ 4 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3 - คาเฉลี่ยเลขคณิต - มัธยฐาน - ฐานนิยม - คาเฉลี่ยเรขาคณิต - คากลางฮารโมนิก 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การกระจายของขอมูล - ตําแหนงของขอมูล 7. เนื้อหาตอนที่ 6 การกระจายสัมบูรณ 1 - การกระจายสัมบูรณและการกระจายสัมพัทธ - พิสัย (ขอมูลไมแจกแจงความถี่) - สวนเบี่ยงเบนควอไทล (ขอมูลไมแจกแจงความถี่) - สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (ขอมูลไมแจกแจงความถี่) 8. เนื้อหาตอนที่ 7 การกระจายสัมบูรณ 2 - สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ขอมูลไมแจกแจงความถี่) - ความแปรปรวน 1
  • 3. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 9. เนื้อหาตอนที่ 8 การกระจายสัมบูรณ 3 - พิสัย (ขอมูลแจกแจงความถี) ่ - สวนเบี่ยงเบนควอไทล (ขอมูลแจกแจงความถี่) - สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (ขอมูลแจกแจงความถี) ่ - สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ขอมูลแจกแจงความถี่) 10. เนื้อหาตอนที่ 9 การกระจายสัมพัทธ - สัมประสิทธพิสัย - สัมประสิทธของสวนเบี่ยงเบนควอไทล - สัมประสิทธของสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย - สัมประสิทธของความแปรผัน 11. เนื้อหาตอนที่ 10 คะแนนมาตรฐาน - คะแนนมาตรฐาน - การแจกแจงปกติ 12. เนื้อหาตอนที่ 11 ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 - ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล 13. เนื้อหาตอนที่ 12 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 - ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา 14. เนื้อหาตอนที่ 13 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 - โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 15. เนื้อหาตอนที่ 14 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 - โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 16. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1) 17. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2) 18. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 3) 19. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 4) 20. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 5) 21. แบบฝกหัด (ขันสูง) ้ 22. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การนําเสนอขอมูล 23. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การวัดคากลางของขอมูล 24. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การวัดการกระจายของขอมูล 25. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การแจกแจงปกติ 2
  • 4. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 26. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความสัมพันธเชิงเสนตรง 27. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความสัมพันธเชิงพาราโบลาและความสัมพันธเชิงชี้กําลัง คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง สถิติและการ วิเคราะหขอมูล นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด ในตอนทายของคูมือฉบับนี้ 3
  • 5. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล (ความสัมพันธระหวางขอมูล 1) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 11 (11/14) หัวขอยอย ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหผูเรียน 1. เขาใจในมโนทัศนของความสัมพันธระหวางขอมูล 2. เขาใจความหมายและหาความสัมพันธระหวางขอมูลทีกราฟเปนเสนตรงได ่ 3. เขาใจความหมายและหาความสัมพันธระหวางขอมูลทีกราฟเปนพาราโบลาและ ่ เอกซโพเนนเชียลได ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายความหมายของตัวแปรอิสระและตัวแปรตามได 2. อธิบายความหมายของความสัมพันธระหวางขอมูลได 3. อธิบายวิธีการหาและหาความสัมพันธระหวางขอมูลที่กราฟเปนเสนตรงได 4. อธิบายวิธีการหาและหาความสัมพันธระหวางขอมูลที่กราฟเปนพาราโบลาและ เอกซโพเนนเชียลได 4
  • 6. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 5
  • 7. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล 6
  • 8. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล ในสื่อการสอนตอนนี้ เราจะศึกษา “ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล” ซึ่งเปนการศึกษา ความสัมพันธของตัวแปรสองตัว โดยมีวัตถุประสงคหลัก คือ ใชตัวแปรตัวหนึ่งซึ่งเรียกวาตัวแปรอิสระไป ประมาณคาอีกตัวแปรหนึ่งซึ่งเรียกวาตัวแปรตาม โดยในสื่อการสอนจะเริ่มดวยการกลาวถึงเนื้อหาคราว ๆ ที่จะไดเรียนในสื่อตอนนี้ ซึ่งเริ่มดวยการยก ตัวอยาง โดยนําขอมูลที่ตัวอยางกําหนดใหมาเขียนแผนภาพการกระจายเพื่อดูแนวโนมความสัมพันธระหวางสอง ตัวแปร จากนั้นจึงหาสมการความสัมพันธดังกลาว ซึงทําใหเราสามารถประมาณคาตัวแปรตามไดหากรูคาของ ่  ตัวแปรอิสระ 7
  • 9. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จากนั้น ในสื่อการสอนไดใหความหมายพรอมทั้งยกตัวอยางของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ในสื่อการสอนนี้ เราจะศึกษาความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูล โดยแบงเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. ความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟเปนเสนตรง 2. ความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟไมเปนเสนตรง 2.1 กราฟเปนพาราโบลา 2.2 กราฟเปนเอกซโพเนนเชียล 8
  • 10. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนจบแลว ผูสอนอาจอธิบายแนวคิดของวิธกําลังสองนอยสุด(method of ี least square) เพิ่มเติม ดังนี้ ให x เปนตัวแปรอิสระและ y เปนตัวแปรตาม n แนวคิดของวิธการนี้คือ การทําให ∑ ( yi − yi )2 มีคานอยที่สุด ี ˆ i =1 n ให SSE = ∑ ( yi − yi ) 2 ˆ i =1 n เนื่องจาก y = ax + b ˆ ดังนั้น SSE = ∑ (axi + b − yi )2 i =1 จากนั้นใชความรูเรื่องแคลคูลัสในการหาคา a และ b ที่ทําให SSE มีคานอยสุด ดังนี้ ∂ ( SSE ) n = 2∑ (axi + b − yi ) xi ∂a i =1 ∂ ( SSE ) n = 2∑ (axi + b − yi ) ∂b i =1 9
  • 11. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ∂ ( SSE ) ∂ ( SSE ) จากทฤษฎีบทการหาคาต่ําสุด เราตองการหาคา a และ b ที่ทําให =0 และ =0 ∂a ∂b ดังนั้น n n ∑ (ax + b − y ) x i =1 i i i =0 และ ∑ (axi + b − yi ) = 0 i =1 นั่นคือ คาคงตัว a และ b ตองสอดคลองสมการ n n ∑y i =1 i = a ∑ xi + nb i =1 n n n ∑ xi yi = a∑ xi2 + b∑ xi i =1 i =1 i =1 โดยสมการขางตนที่ไดจากวิธีกําลังสองนอยสุด เรียกวา สมการปกติ(normal equations) จากนั้นในสื่อการสอนผูเรียนจะไดชมตัวอยางการวาดแผนภาพการกระจายและการหาความสัมพันธเชิง ฟงกชันที่กราฟเปนเสนตรง ดังนี้ 10
  • 12. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หมายเหตุ 1. ถาตองการประมาณคาของตัวแปรใดตองใหตัวแปรนั้นเปนตัวแปรตามและตัวแปรอีกตัวหนึ่งเปน ตัวแปรอิสระ 2. สําหรับสมการความสัมพันธเชิงฟงกชันของตัวแปร x และตัวแปร y เราจะใสสัญลักษณ “ ^ ” ไว เหนือตัวแปรตาม นั่นคือ ตัวแปร สมการความสัมพันธ x เปนตัวแปรอิสระ และ y เปนตัวแปรตาม y = ax + b ˆ (1) x เปนตัวแปรตาม และ y เปนตัวแปรอิสระ x = ay + b ˆ (2) โดยคาคงตัว a และ b ในสมการ (1) และ (2) ไมจําเปนตองเทากัน ซึ่งผูเรียนจะไดชมจากตัวอยาง ตอไปนี้ในสื่อการสอน 11
  • 13. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สําหรับสองตัวอยางขางตน จะพบวาขอมูลที่โจทยกําหนดใหมาเปนขอมูลชุดเดียวกัน เพียงแตคาถาม ํ แตกตางกัน ตัวอยาง โจทยตองการหาสมการเสนตรงที่ สมการเสนตรงที่ได 1 ประมาณรายจายจากรายได y = 0.7 x + 0.9 ˆ 2 ประมาณรายไดจากรายจาย x = 0.5 y + 1.5 ˆ โดยในตัวอยางแรก ถาทราบรายได ( x ) สามารถประมาณรายจาย ( y ) จากสมการ y = 0.7 x + 0.9 แต ˆ ถาหากทราบรายจาย ( y ) แลวตองการประมาณรายได ( x ) ตองใชสมการ x = 0.5 y + 1.5 ในตัวอยางที่ 2 ˆ ดังนั้นในการหาสมการความสัมพันธ ผูเรียนตองระมัดระวังวาตัวแปรใดเปนตัวแปรอิสระและตัวแปร ใดเปนตัวแปรตาม จากนันจึงหาคาคงตัว a และ b ซึ่งสรุปไดดังนี้ ้ 12
  • 14. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อใหผูเรียนเขียนแผนภาพการกระจายและหาสมการความสัมพันธเชิงฟงกชันไดคลองยิ่งขึ้น ผูสอน อาจใหผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้เพิ่มเติม ตัวอยาง ขอมูลแสดงคาซอมบํารุงรถยนต(ตอป)และอายุการใชงานรถยนตของบริษทแหงหนึ่งจํานวน 7 คัน ั เปนดังนี้ อายุการใชงาน 1 4 3.5 3 5 3 1.5 คาซอมบํารุง(พันบาท) 1 5 3.5 2.5 6.5 3.5 1.5 1. จงเขียนแผนภาพการกระจายของขอมูลชุดนี้ 2. จงหาสมการเสนตรงที่ประมาณคาซอมบํารุงจากอายุการใชงานของรถยนต 3. ถารถยนตคันหนึ่งมีอายุการใชงาน 4 ป จงประมาณคาซอมบํารุงของรถยนตคันนี้ วิธีทํา กําหนดให x แทนอายุการใชงานของรถยนต และ y แทนคาซอมบํารุงของรถยนต 1. นําขอมูลที่โจทยกําหนดใหมาเขียนแผนภาพการกระจายไดดังนี้ คาซอมบํารุง(พันบาท) อายุการใชงาน 2. สมการเสนตรงที่ประมาณคาซอมบํารุงจากอายุการใชงานของรถยนต คือ y = ax + b ˆ โดยคาคงตัว a และ b หาไดจากสมการ 13
  • 15. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย n n ∑y i =1 i = a ∑ xi + nb i =1 n n n ∑ xi yi = a∑ xi2 + b∑ xi i =1 i =1 i =1 เมื่อ n = 7 xi yi xi2 xi yi 1 1 1 1 4 5 16 20 3.5 3.5 12.25 12.25 3 2.5 9 7.5 5 6.5 25 32.5 3 3.5 9 10.5 1.5 1.5 2.25 2.25 7 7 7 7 ∑ xi = 21 i =1 ∑ yi = 23.5 i =1 ∑ xi2 = 74.5 i =1 ∑ x y = 86 i =1 i i ดังนัน ้ 23.5 = 21a + 7b 86 = 74.5a + 21b ทําใหไดวา a = 1.3478 และ b = −0.6863 ดังนัน สมการเสนตรงที่ประมาณคาซอมบํารุงจากอายุการใชงานของรถยนต คือ ้ y = 1.3478 x − 0.6863 ˆ 3. ถารถยนตคันหนึ่งมีอายุการใชงาน 4 ป ดังนั้น y = 1.3478(4) − 0.6863 = 4.7050 ˆ นั่นคือ คาซอมบํารุงของรถยนตคันนี้ประมาณ 4,705 บาทตอป 14
  • 16. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตอไปผูเรียนจะไดศกษาการหาสมการความสัมพันธที่กราฟไมเปนเสนตรง โดยจะศึกษาในกรณีทกราฟ ึ ี่ เปนพาราโบลาและกราฟเปนเอกซโพเนนเชียล ดังนี้ จากนั้นผูเรียนจะไดชมตัวอยางความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูลที่กราฟเปนเอกซโพเนนเชียล โดย ผูสอนอาจทบทวนสมบัติพนฐานของเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึมใหผูเรียนกอนชมตัวอยางตอไปนี้ ื้ 15
  • 17. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟเปนเอกซโพเนนเชียลไดดยิ่งขึ้น ผูสอนควรให ี ผูเรียนฝกทําตัวอยางตอไปนีเ้ พิ่มเติม ตัวอยาง ขอมูลแสดงจํานวนชั่วโมงในการทบทวนบทเรียน(ตอวัน) และคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรที่ได เปนดังนี้ จํานวนชั่วโมงในการทบทวนบทเรียน 0.5 1 2 2.5 3 3.5 คะแนนสอบ 2 2.5 3.5 4.5 7 9.5 1. จงเขียนแผนภาพการกระจายของขอมูลชุดนี้ 2. จงหาสมการเอกซโพเนนเชียลที่ประมาณคะแนนสอบจากจํานวนชัวโมงในการทบทวนบทเรียน ่ 3. ถานักเรียนคนหนึ่งทบทวนบทเรียน 1 ชั่วโมง 30 นาที ตอวัน จงประมาณคะแนนสอบที่นักเรียนคนนี้ได วิธีทํา กําหนดให x แทนอายุการใชงานของรถยนต และ y แทนคาซอมบํารุงของรถยนต 1. นําขอมูลที่โจทยกําหนดใหมาเขียนแผนภาพการกระจายไดดังนี้ คะแนนสอบ จํานวนชัวโมงในการ ่ ทบทวนบทเรียน 16
  • 18. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. สมการเอกซโพเนนเชียลที่ประมาณคะแนนสอบจากจํานวนชัวโมงในการทบทวนบทเรียน คือ ่ y = ab x ˆ ดังนั้น log y = log a + x log b ˆ โดยคาคงตัว a และ b หาไดจากสมการ n n ∑ log yi = n log a + log b∑ xi i =1 i =1 n n n ∑ x log y i =1 i i = log a ∑ xi + log b∑ xi2 i =1 i =1 เมื่อ n = 6 xi yi log yi xi2 xi log yi 0.5 2 0.3010 0.25 0.1505 1 2.5 0.3979 1 0.3979 2 3.5 0.5441 4 1.0882 2.5 4.5 0.6532 6.25 1.6330 3 7 0.8451 9 2.5353 3.5 9.5 0.9772 12.25 3.4223 6 6 6 6 ∑ xi = 12.5 i =1 − ∑ log yi = 3.7191 i =1 ∑ xi2 = 32.75 i =1 ∑ x log y = 9.2272 i =1 i i ดังนัน ้ 3.7191 = 6 log a + 12.5log b 9.2272 = 12.5log a + 32.75log b ทําใหไดวา log a = 0.1605 และ log b = 0.2205 ดังนัน ้ log y = 0.1605 + 0.2205 x ˆ ทําใหไดวา สมการเอกซโพเนนเชียลที่ประมาณคะแนนสอบจากจํานวนชัวโมงในการทบทวนบทเรียน  ่ คือ y = 100.1605+0.2205 x ˆ 3. ถานักเรียนคนหนึ่งทบทวนบทเรียน 1 ชั่วโมง 30 นาที ตอวัน ดังนั้น y = 100.1605+0.2205(1.5) = 100.49125 = 3.1 ˆ นั่นคือ นักเรียนคนนีจะไดคะแนนประมาณ 3.1 คะแนน ้ 17
  • 19. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สําหรับตัวอยางสุดทายในสื่อการสอนนี้เปนตัวอยางความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูลที่อยูในรูป พาราโบลา เนื่องดวยเวลาในสื่อการสอนมีจํากัดจึงไมไดเฉลยวิธทําใหผูเรียนชม ดังนั้นผูสอนควรใหผูเรียน ี  ชวยกันคิดหาคําตอบกอน จากนั้นผูสอนจึงแสดงใหผูเรียนดู ดังนี้ ตัวอยาง จากขอมูล xi 1 2 3 yi 1 5 10 1. จงหาสมการพาราโบลาที่ทํานายคา y จากคา x 2. จงทํานายคา y เมื่อ x = 6 วิธีทํา 1. ตองการทํานายคา y จากคา x ดังนั้น x เปนตัวแปรอิสระและ y เปนตัวแปรตาม ดังนั้น สมการพาราโบลาที่ตองการอยูในรูป y = ax 2 + bx + c ˆ โดยคาคงตัว a, b และ c หาไดจากสมการ n n n ∑ yi = a∑ xi2 + b∑ xi + cn i =1 i =1 i =1 (1) n n n n ∑x y i =1 i i = a ∑ xi3 + b∑ xi2 + c∑ xi i =1 i =1 i =1 (2) n n n n ∑ xi2 yi = a∑ xi4 + b∑ xi3 + c∑ xi2 i =1 i =1 i =1 i =1 (3) สําหรับตัวอยางนี้ n = 3 18
  • 20. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย xi yi xi2 xi3 xi4 xi yi xi2 yi 1 1 1 1 1 1 1 2 5 4 8 16 10 20 3 10 9 27 81 30 90 3 3 3 3 3 3 3 ∑ xi = 6 i =1 ∑ yi = 16 i =1 ∑ xi2 = 14 i =1 ∑ xi3 = 36 i =1 ∑ xi4 = 98 i =1 ∑ xi yi = 41 i =1 ∑x i =1 2 y = 111 i i นําคาในตารางไปแทนในสมการ (1), (2) และ (3) จะไดวา  16 = 14a + 6b + 3c 41 = 36a + 14b + 6c 111 = 98a + 36b + 14c จากการแกสมการขางตน จะไดวา a = 0.5 b = 2.5 c = −2 ดังนั้น สมการพาราโบลาที่ทํานายคา y จากคา x คือ y = 0.5 x 2 + 2.5 x − 2 ˆ 2. เมื่อ x=6 จะไดวา y = 0.5(62 ) + 2.5(6) − 2 = 31 ˆ หมายเหตุ จากตัวอยางขางตน ผูเรียนตองหาคําตอบของระบบสมการเชิงเสน 3 ตัวแปร ซึ่งการคํานวณคอนขาง ยุงยาก ดังนัน ผูสอนควรทบทวนผูเรียนเรื่องการใชเมทริกซในการแกระบบสมการ ซึ่งจะทําใหหาคําตอบได ้ สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น จากระบบอสมการ 16 = 14a + 6b + 3c 41 = 36a + 14b + 6c 111 = 98a + 36b + 14c นํามาเขียนในรูปเมทริกซไดดังนี้ 19
  • 21. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 14 6 3   a   16  36 14 6   b  =  41       98 36 14   c  111      โดยกฎของคราเมอร จะไดวา  16 6 3 14 16 3 14 6 16 41 14 6 36 41 6 36 14 41 111 36 14 −2 98 111 14 −10 98 36 111 8 a= = = 0.5 , b= = = 2.5 , c= = = −2 14 6 3 −4 14 6 3 −4 14 6 3 −4 36 14 6 36 14 6 36 14 6 98 36 14 98 36 14 98 36 14 20
  • 22. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล 1. ขอมูลแสดงงบโฆษณา(แสนบาท) และรายไดตอเดือน(ลานบาท) ของน้ําผลไมยี่หอหนึ่ง เปนดังนี้  งบโฆษณา(แสนบาท) 2.5 3.5 4 2.5 1.5 5 6 7 รายได(ลานบาท) 4 7 7 5 2 9 12 14 1.1 จงเขียนแผนภาพการกระจายของขอมูลชุดนี้ 1.2 จงหาสมการเสนตรงที่ประมาณรายไดจากงบโฆษณาของน้ําผลไมยี่หอนี้ 1.3 จงประมาณรายไดของน้ําผลไมยี่หอนี้หากทุมงบโฆษณา 1,000,000 บาท 2. กําหนดขอมูลดังตารางตอไปนี้ x -2 -1 0 1 y 1 2 3 2 2.1 จงเขียนแผนภาพการกระจายของขอมูลชุดนี้ 2.2 จงหาสมการพาราโบลาที่ประมาณคา y จากคา x 2.3 จงประมาณคา y เมื่อกําหนดให x = 2 3. ขอมูลแสดงอายุ(ป) และน้ําหนัก (กิโลกรัม) ของสัตวชนิดหนึ่ง เปนดังนี้ น้ําหนัก(กิโลกรัม) 3 4 6 10 16 อายุ(ป) 1 1.5 2 2.5 3 3.1 จงเขียนแผนภาพการกระจายของขอมูลชุดนี้ 3.2 จงหาสมการเอกซโพเนนเชียลที่ประมาณน้ําหนักจากอายุของสัตวชนิดนี้ 3.3 ถาสัตวชนิดนีตัวหนึ่งมีอายุ 4 ป จงประมาณน้ําหนักของสัตวตวนี้ ้ ั (ตอบเปนทศนิยม 4 ตําแหนง) 21
  • 23. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 4. กําหนดใหยอดขายของพนักงานขายประกัน ( y : หนวยเปนหมื่นบาท) ในบริษัทประกันแหงหนึ่งกับ ประสบการณขาย( x : หนวยเปนป) มีความสัมพันธที่มีกราฟเปนเสนตรง เก็บขอมูลของพนักงาน 10 คน จากบริษัทแหงนี้ ไดขอมูลดังนี้ 10 10 10 10 ∑ xi = 30, i =1 ∑ yi = 43, i =1 ∑ xi yi = 143.5, i =1 ∑ x = 104.5 i =1 2 i 4.1 ถาพนักงานคนหนึ่งมีประสบการณขาย 6 ป จงประมาณยอดขายประกันของพนักงานคนนี้ 4.2 ถาหากพนักงานมีประสบการณขายเพิ่มขึน 1 ป จงประมาณยอดขายประกันทีเ่ พิ่มขึ้น ้ 5. ถาความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางรายได ( x : หนวยเปนบาท) และรายจาย( y : หนวยเปนบาท) คือ y = 0.6 x + b ˆ โดยใชความสัมพันธน้ี ปรากฏวานายมัธยัสถซึ่งมีรายไดเดือนละ 20,000 บาท จะมีรายจายประมาณ 13,500 บาท จงประมาณรายจายของนายประหยัดถาเขามีรายไดเดือนละ 25,000 บาท 22
  • 25. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สรุปสาระสําคัญประจําตอน ในสื่อการสอนเรื่องสถิติและการวิเคราะหขอมูล ตอนที่ 11 เราไดศึกษาเรื่องความสัมพันธเชิงฟงกชัน ของขอมูล 2 ตัวแปร โดยมีวัตถุประสงคหลัก คือ ใชตวแปรหนึ่งซึ่งเรียกวาตัวแปรอิสระไปประมาณคาอีกตัวแปร ั หนึ่งซึ่งเรียกวาตัวแปรตาม โดยสามารถสรุปคราว ๆ ไดดังนี้ 1. ถาตองการประมาณคาของตัวแปรใดตองใหตวแปรนั้นเปนตัวแปรตามและตัวแปรอีกตัวหนึ่งเปน ั ตัวแปรอิสระ 2. นําขอมูลที่มีมาเขียนแผนภาพการกระจายเพื่อดูแนวโนมความสัมพันธ โดยความสัมพันธซ่งเราศึกษา ึ ในสื่อการสอนนี้สามารถแบงไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. ความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟเปนเสนตรง 2. ความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟไมเปนเสนตรง 2.1 กราฟเปนพาราโบลา 2.2 กราฟเปนเอกซโพเนนเชียล 3. หาสมการความสัมพันธโดยวิธีกําลังสองนอยสุด 4. เมื่อกําหนดคาของตัวแปรอิสระสามารถประมาณคาตัวแปรตามไดจากสมการความสัมพันธที่ไดใน ขอ 3 24
  • 26. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอกสารอางอิง สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, สถาบัน (2553) หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว 25
  • 28. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล 1. 1.1 รายได(แสนบาท) รายได(ลานบาท) 1.2 y = 2.12 x − 0.98 ˆ เมื่อ x แทนงบโฆษณา(หนวยเปนแสนบาท) และ y แทนรายได(หนวยเปนลานบาท) 1.3 20, 220, 000 บาท 2. 2.1 y x 2.2 y = −0.5 x 2 − 0.1x + 2.7 ˆ 2.3 0.5 27
  • 29. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. 3.1 น้ําหนัก(กิโลกรัม) อายุ(ป) 3.2 log y = 0.0715 + 0.3704 x , y = 100.0715+ 0.3704 x ˆ ˆ เมื่อ x แทนอายุ(หนวยเปนป) และ y แทนน้ําหนัก(หนวยเปนกิโลกรัม) 3.3 101.5531 กิโลกรัม, 35.7355 กิโลกรัม 4. 4.1 73, 000 บาท 4.2 13, 000 บาท 5. 16,500 บาท 28
  • 30. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน 29
  • 31. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนํา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร การใหเหตุผล ประพจนและการสมมูล สัจนิรันดรและการอางเหตุผล ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง จํานวนจริง บทนํา เรื่อง จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกอสมการคาสัมบูรณ กราฟคาสัมบูรณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน ั ความสัมพันธ 30
  • 32. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน ฟงกชันเบื้องตน พีชคณิตของฟงกชน ั อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ฟงกชันประกอบ ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม ั ึ เลขยกกําลัง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม ลอการิทึม อสมการเลขชี้กําลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 2 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซนและโคไซน กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน กําหนดการเชิงเสน บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร การหาคาสุดขีด ลําดับและอนุกรม บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม ลําดับ การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ ผลบวกยอย อนุกรม ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม 31
  • 33. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความนาจะเปน บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน . การนับเบื้องตน การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุม ความนาจะเปน 1 ความนาจะเปน 2 สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เนื้อหา แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3 การกระจายของขอมูล การกระจายสัมบูรณ 1 การกระจายสัมบูรณ 2 การกระจายสัมบูรณ 3 การกระจายสัมพัทธ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เสนตรงลอมเสนโคง กระเบื้องที่ยืดหดได 32